ca222 week02 concept of visual communication

16
ส า ข า วิ ช า นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร บู ร ณ า ก า ร ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม โ จ แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพ สําหรับงานวารสารศาสตร ภาพถายในฐานะการสื่อสารเชิงสัญลักษณ ความหมาย คุณลักษณะ และความสําคัญของประเภทภาพ เชิงวารสารศาสตร หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณสําหรับภาพเชิงวารสารศาสตร หลักการ EDFAT ของภาพถายเชิงวารสารศาสตร แบบจําลองการสื่อสารของ Jakobson การวิเคราะหภาพถายเชิงวารสารศาสตร นศ 222 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2 [CA 222 Printed Media Design 2] รวมรวม /เรียบเรียง โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ

Upload: ca222mju2014

Post on 07-Apr-2016

219 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

เอกสารประกอบการสอน นศ222 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 2 week 2 : แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารด้วยภาพสำหรับงานวารสารศาสตร์

TRANSCRIPT

Page 1: Ca222 week02 concept of visual communication

ส า ข า วิ ช า นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร บู ร ณ า ก า ร ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร

ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม โ จ

แน ว คิ ด เ ก่ี ย ว กั บก า ร ส่ื อ ส า ร ด วย ภ า พ

สําหรับงานวารสารศาสตร • ภาพถายในฐานะการส่ือสารเชิงสัญลักษณ

• ความหมาย คุณลักษณะ และความสําคัญของประเภทภาพ

เชิงวารสารศาสตร

• หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณสําหรับภาพเชิงวารสารศาสตร

• หลักการ EDFAT ของภาพถายเชิงวารสารศาสตร

• แบบจําลองการส่ือสารของ Jakobson

• การวิเคราะหภาพถายเชิงวารสารศาสตร

นศ 222 การออกแบบส่ือส่ิงพิมพ 2

[CA 222 Printed Media Design 2]

รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ

Page 2: Ca222 week02 concept of visual communication

| 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

การส่ือสารดวยภาพเปนกระบวนการที่มีการขับเคล่ือนอยางไมหยุดนิ่ง นับตั้งแตภาพเขียนบนผนังถํ้าของมนุษย ในยุค

ดึกดําบรรพ จนกระทั่งในยุคปจจุบันที่มีการสรางสรรครูปแบบและกระบวนการส่ือสารดวยภาพ พรอมๆ กับการพัฒนาเทคโนโลยี

ทางการมองเห็นมาอยางตอเนื่อง แสดงใหเห็นวามนุษยในทุกยุคสมัยตางก็มีความจําเปนที่จะตองทําการส่ือสารเพื่อตอบสนองตอ

ความตองการในการอยูรวมกันในสังคมโดยการส่ือสารดวยภาพ ถือเปนวิธีการส่ือสารที่สําคัญทางหนึ่งที่มีความเปนรูปธรรมและ

เปนส่ือกลางที่นํามาใชเปนตัวแทนในการส่ือความหมายถึงเรื่องราวและเหตุการณตางๆ อีกทั้งการมองเห็นก็เปนธรรมชาติใน

การรับรูอยางแรกของมนุษยที่มีประสิทธิภาพสูง และในวงการส่ือนั้น การส่ือสารดวยภาพก็เปนส่ิงที่เปนปจจัยสําคัญตอการส่ือสาร

ความหมายและเรื่องราวผานทั้งส่ิงพิมพ และส่ือในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะงานวารสารศาสตรที่เปนงานที่ตองส่ือสารกับผูรับสารที่

เปนมวลชน

ภาพถายในฐานะการสื่อสารเชิงสัญลักษณ

สังคมทุกสังคมจะตองมีการกําหนดระบบสัญลักษณทางการส่ือสารที่ใชเปนตัวแทนความหมายของส่ิงหนึ่งๆ ซึ่งทุกสังคม

ตองการระบบแบบแผนของสัญลักษณที่เปนที่เขาใจรวมกัน หากสังคมใดไมมีส่ิงที่ใชแทนสัญลักษณถึงบางส่ิงบางอยาง แสดงวา

สมาชิกในสังคมไมรูจักส่ิงนั้น ทั้งนี้การเรียนรูระบบสัญลักษณเปนผลมาจากความสามารถของมนุษยในการเก็บความทรงจําและ

การระลึกถึงความทรงจําที่สามารถนํามาเชื่อมโรงไดกับปจจุบัน ปจจัยดังกลาวหากเปนเ ง่ือนไขเบ้ืองตนในการเรียนรู สัญลักษณ

ทางภาษาและสัญลักษณอ่ืนใดรวมทั้งการส่ือสารดวยภาพ ซึ่งเปนระบบการส่ือสารที่เรียนรูได โดยมีลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ

1. เขาใจไดจากการเรียนรูของบุคคล

2. มีความหลากหลายในแตละสังคม

3. สามารถเปล่ียนแปลงไดภายในบุคคลหรือสังคมเดียวกัน ขึ้นอยูกับบริบทแวดลอมทางการส่ือสาร

Semiology เปนคําที่ตั้งขึ้นโดยนักภาษาศาสตร Ferdinand de Saussure (ค.ศ. 1857-1913) ในการศึกษาหาความรู

เก่ียวกับสัญศาสตรและสัญวิทยานั้นมีเนื้อหาและวัตถุประสงคของการศึกษาที่สอดคลอง และคลายคลึงกัน นั่นคือการศึกษา

วิธีการส่ือความหมาย ขั้นตอนและหลักการในการส่ือความหมายตลอดจนเรื่องการทําความเขาใจในความหมายของสัญลักษณที่

ปรากฏอยูในวัฒนธรรมหนึ่งๆ

รูปสัญญะและความหมายสัญญะ

การศึกษาเก่ียวกับสัญศาสตร จะเปนการหาความสัมพันธระหวางรูปสัญญะและความหมายสัญญะ เพื่อดูวาความหมาย

ถูกสรางและถูกถายทอดอยางไร ซึ่ง Saussure อธิบายวาในทุกๆ สัญญะตองมีสวนประกอบทั้ง 2 อยางไดแก

1. รูปสัญญะ (Signifier)

คือส่ิงที่เราสามารถรับรูผานประสาทสัมผัส เชนการมองเห็นตัวอักษร รูปภาพ หรือการไดยินคําพูดที่เปลง

ออกมาเปนเสียง (acoustic-image)

2. ความหมายสัญญะ (Signified)

หมายถึงความหมาย คํานิยามหรือความคิดรวบยอด (concept) ที่เกิดขึ้นในใจหรือในความคิดของผูรับสาร

Page 3: Ca222 week02 concept of visual communication

| 2 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

ความสัมพันธระหวางสัญญะแตละตัวนั้นเกิดขึ้นโดยตรรกะวาดวยความแตกตาง (the logic of difference) หมายถึง

ความหมายของสัญญะแตละตัวมาจากการเปรียบเทียบวาตัวมันแตกตางจากสัญญะตัวอ่ืนๆ ในระบบเดียวกัน ซึ่งหากไมมีความ

แตกตางแลว ความหมายก็เกิดขึ้นไมได ทั้งนี้ความตางที่ทําใหคาความหมายเดนชัดที่สุดคือความตางแบบคูตรงขาม (binary

opposition) เชน ขาว-ดํา ด-ีเลว รอน-เย็น หรืออธิบายอีกอยางคือ ความหมายของสัญญะหนึ่งเกิดจากความไมมี หรือไมเปน

ของสัญญะอ่ืน (สรณี วงศเบ้ียสัจจ, 2544)

ประเภทของสัญญะ

การส่ือสารดวยภาพเปนระบบการส่ือสารดวยระบบสัญญะ ขณะที่ความสัมพันธระหวางสัญญะแตละตัวนั้นเกิดขึ้นโดย

การพิจารณาที่ตรรกะของความแตกตางนั้นก็ไดมีการเสนอการจัดประเภทของสัญญะ โดย C.S Peirce ไดแบงตามความสัมพันธ

ระหวางรูปสัญญะและความหมายสัญญะ โดยจําแนกสัญญะเอาไวเปน 3 ประเภท ดังนี้

1. สัญรูป (icon)

คือการส่ือสารตามส่ิงที่เห็นในภาพในระดับที่เปนความหมายแบตรงไปตรงมา เปนความสัมพันธระหวาง

รูปสัญญะกับความหมายสัญญะเปนเรื่องของความเหมือนหรือคลายคลึงกับส่ิงที่มันบงถึง เชน ภาพถาย ภาพเหมือน ที่

เชื่อมโยงเขากับตัวบุคคล เปนตน

2. ดรรชนี (index)

คือการ ส่ือสารที่ตองอาศัยการเ ชื่อมโยงส่ิงที่ เปนเ หตุและเปนผลตอกัน หรือการคิดของผู รับสาร เปน

ความสัมพันธระหวางรูปสัญญะกับความหมายสัญญะเปนผลลัพธ หรือเปนการบงชี้ ถึงบางส่ิงบางอยาง เชน เห็นภาพ

ควันไฟยอมรูไดวามีไฟไหมเกิดขึ้น รูปกราฟที่แสดงผลลัพธของส่ิงใดส่ิงหนึ่ง รอยเทาของสัตวที่ประทับลงบนพื้นดิน หรือ

ดรรชนีที่อยูทายเลมของหนังสือที่บอกใหเราทราบถึงขอความที่เราตองการจะคนหา

คุณสมบัติอีกประการที่นาสังเกตของสัญญะประเภทดรรชนีก็คือ เมื่อเราเห็นรูปสัญญะประเภทดรรชนี ความ

หมายสัญญะที่เรานึกถึงไมใชส่ิงที่เรามองเห็นในขณะนั้น เชนตัวอยางที่ไดกลาวมาแลวนั่นคือรอยเทาสัตวที่ เมื่อเราพบ

เราไมไดนึกถึงรอยเทาในขณะนั้น แตเรานึกไปถึงตัวสัตวที่เปนเจาของรอยเทานั้น

3. สัญลักษณ (symbol)

คือการส่ือสารที่เกิดจากการเรียนรูรวมกันของคนในสังคมที่ตกลงความหมายรวมกัน เปนความสัมพันธระหวาง

รูปสัญญะกับความหมายสัญญะที่แสดงถึงบางส่ิงบางอยาง แตมันไมไดมีความคลายคลึงกับส่ิงที่มันบงชี้ เลย ซึ่งการใช

งานเปนไปในลักษณะของการถูกกําหนดขึ้นเองซึ่งไดรับการยอมรับจนเปนแบบแผน (Convention) และตองมีการเรียนรู

เครื่องหมายเพื่อทําความเขาใจ หรือเปนการแสดงถึงการเปนตัวแทน (representation) ซึ่งสังคมยอมรับความสัมพันธนี้

ตัวอยางเชน ภาพไมกางเขนเปนสัญลักษณแทนศาสนาคริสต หรือการสวมแหวนนิ้วนางขางซายแสดงถึงการแตงงาน

เปนตน

แตอยางไรก็ดี การจําแนกประเภทของสัญญะทั้งสามแบบก็ไมสามารถทําไดอยางชัดเจน เชนในกรณีรูปสัญญะของคําวา

“Xerox” ในภาษาอังกฤษซึ่งความหมายสัญญะของมันก็คือย่ีหอของเครื่องถายเอกสาร แตรูปสัญญะดังกลาวไดกลายเปน

ความหมายสัญญะของ “การถายเอกสาร” ในสังคมไทยเปนตน (ไชยรัตน เจริญสินโอฬาร, 2545)

Page 4: Ca222 week02 concept of visual communication

| 3 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

แสดงภาพตัวอยางของสัญญะประเภทตางๆ

ความหมายตรงและความหมายแฝง

ในการทํางานของขั้นตอนการแสดงความหมายของสัญญะนั้นจะมีความสัมพันธระหวางรูปสัญญะและความหมาย

สัญญะตลอดเวลา ซึ่ง Barthes ไดใหแนวคิดในการวิเคราะหความหมาย 2 ชนิดในสวนการรับรูความหมายของผูรับสาร คือ

1. ความหมายตรง (Denotation)

เปนระดับของความหมายที่เก่ียวของกับความจริงระดับธรรมชาติ เปนความหมายที่ผูใชสามารถเขาใจไดตรง

ตามตัวอักษรจัดอยูในลักษณะของการอธิบายหรือพรรณนา (Descriptive level) และเปนความหมายที่เปนที่รับรูและ

เขาใจไดสําหรับผูรับสารสวนใหญ ยกตัวอยางเชนเมื่อเรากลาวถึงชาง ก็จะนึกถึงลักษณะของสัตวที่มีรูปรางใหญ มีงา

และงวง เปนตน การอธิบายความหมายของคําศัพทในพจนานุกรมก็เปนความหมายโดยตรงเชนกัน (ภัคพงศ อัครเศรณี,

2548)

2. ความหมายแฝง (Connotation)

เปนการตีความหมายของสัญญะโดยเปนระดับที่พวงเอาปจจัยทางวัฒนธรรมเขามาเก่ียวของดวย ซึ่งเปนการ

อธิบายถึงปฏิสัมพันธที่เกิดขึ้นกับอารมณความรูสึกของผูใชและคุณคาทางวัฒนธรรมของเขา ความหมายแฝงหรือ

ความหมายในระดับที่สองนี้สรางขึ้นบนพื้นฐานของความหมายตรงของสัญญะตัวเดียวกัน ซึ่งกระบวนการเกิดขึ้นของ

ความหมายแฝงนี้เกิดขึ้นเมื่อสัญญะในความหมายระดับแรกถูกนําไปใชเปนรูปสัญญะโดยมีการผูกโยงรวมเขากับ

ความหมายใหม จึงเกิดเปนความหมายแฝง ซึ่งกระบวนการนี้เองที่ Barthes ใชอธิบายการเกิด Myth (มายาคติ) ซึ่ง

Barthes ไดอธิบายเก่ียวกับกระบวนการดังกลาวไวดังนี้ “มายาคติเปนระบบส่ือความหมายซึ่งมีลักษณะพิเศษตรงที่มัน

กอตัวขึ้นบนกระแสการส่ือความหมายที่มีอยูกอนแลว จึงถือไดวา มายาคติเปนระบบสัญญะในระดับที่สอง ส่ิงที่เปน

หนวยสัญญะ (ผลลัพธจากการประกบของรูปสัญญะกับความหมาย) ในระบบแรก กลายมาเปนเพียงรูปสัญญะในระบบ

ที่สอง ขอยํ้าในที่นี้วา วัสดุสําหรับสรางวาทะแหงมายาคติ (เชน ภาษา ภาพถาย ภาพวาด โปสเตอร พิธีกรรม วัตถุ ฯลฯ)

ไมวาในเบ้ืองตนนั้นจะมีความแตกตางหลากหลายเพียงใดก็ตาม แตครั้นเมื่อถูกจับยึดโดยมายาคติแลว ก็จะถูกทอนให

เหลือเปนเพียงรูปสัญญะเพื่อส่ือถึงส่ิงอ่ืนเสมอ” (วรรณพิมล อังคศิริสรรพ, 2544)

อยางไรก็ดี การส่ือความหมายในระดับของความหมายแฝงนี้มีแนวโนมในการส่ือความหมายที่แตกตางกันซึ่งขึ้นอยูกับ

ระดับของการส่ือความหมาย โดยแบงออกเปน 2 ระดับไดแก

ระดับของปจเจก (individual connotations) ในการทําความเขาใจในส่ิงใดส่ิงหนึ่งของบุคคลนั้นเปนการเรียนรูวิ ธีการ

มองโลกและการที่บุคคลมีปฏิสัมพันธกับโลก ซึ่งการเรียนรูเหลานี้เองที่จะทําใหบุคคลมีความเขาใจและใหนิยามตอส่ิงตางๆ ซึ่งอาจ

เหมือนหรือแตกตางกันก็ได ซึ่งเ รียกวาประสบการณ ยกตัวอยา งเด็กหญิงที่ไดกล่ินด อกกุหลาบเ ปนครั้งแรกพรอมกับมี

Page 5: Ca222 week02 concept of visual communication

| 4 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

ประสบการณที่นากลัว ในเวลาตอมาหากเธอไดมองเห็นหรือไดกล่ินดอกกุหลาบ ก็อาจเปนการเตือนความจําใหเ กิดความรูสึก

หวาดกลัวขึ้นมาอีก ซึ่งการมองเห็นหรือไดกล่ินดอกกุหลาบนี้เปนการนําพาการส่ือความหมายสวนตัวสําหรับเด็กผูหญิงคนดังกลาว

ดังนั้นการมอบดอกกุหลาบจึงอาจเปนการสรางความกลัวมากกวาที่จะเกิดความรูสึกซาบซึ้งในความรัก ส่ิงที่ควรระมัดระวังในการ

วิเคราะหในเชิงสัญศาสตร (semiotic analysis) สําหรับการส่ือความหมายระดับนี้คือ เนื่องจากเปนการส่ือความหมายแบบสวนตัว

จึงอาจไมไดส่ือความหมายแตกตางไปตามความหมายปกติดังที่คนอ่ืนๆ มีสวนรวมในความหมายนั้น

ระดับของวัฒนธรรม (cultural connotations) การส่ือความหมายในระดับนี้แสดงถึงการที่วัตถุในวัฒนธรรมไดพวงเอา

ความสัมพันธและการส่ือความหมายเขามาในตัวมันและมีสวนรวมในการใหความหมายกับผูคนในวัฒนธรรม ยกตัวอยางเชนการ

มอบดอกกุหลาบ ที่คนใหการยอมรับในเชิงวัฒนธรรมเขาใจรวมกันวาเปนการแสดงถึงความรัก (สมเกียรติ ตั้งนโม. 2550.)

ความหมายท่ีเกิดจากระบบสัญญะ

ระบบของภาษาภาพมีความหมายที่เกิดจากระบบสัญญะ สามารถจําแนกที่มาของความหมายได 3 ลักษณะ ดังนี้

1. ความหมายเชิงสัญลักษณของรูปทรงวัตถุในภาพ

รูปทรงที่ประกอบขึ้นเปนพืช สัตว ส่ิงของ หรือบุคคล นอกจากจะมีความสามารถในการส่ือสารเก่ียวกับสารสนเทศของส่ิง

นั้นๆ ที่เปนความหมายโดยตรงแลว อาจมีความหมายในระดับสัญลักษณรวมอยูดวย ซึ่งการตีความหมายนั้นเปนกระบวนการที่อิง

กับประสบการณหรือการเรียนรูระบบสัญลักษณที่มีมากอน เชน ภาพดอกเข็มในพิธีไหวครู มีความหมายในเชิงสัญลักษณถึง

ปญญาที่แหลมคม ภาพดอกบัวส่ือความหมายเชิงสัญลักษณถึงศาสนาพุทธเปนตน ทั้งนี้ขึ้นกับบริบทและส่ือของการนําเสนอภาพ

นั้นๆ ดวย เชน ชื่อภาพ การบรรยายภาพ การจัดหนา การออกแบบกราฟก จะเปนตัวกําหนดการตีความหมายในระดับหนึ่งดวย

2. ความหมายแฝงของภาษาทางเทคนิคการถายภาพ

เปนผลจากหลักจิตวิทยาการเห็นของมนุษยซึ่งเกิดจากการเลือกใชมุมกลอง ชวงความชัด ความยาวโฟกัสของเลนส การ

จัดแสง เปนตน ไมวาจะเปนภาพขาว ภาพถายเชิงสารคดี แมจะหลักในการนําเสนอภาพที่เนนคุณคาเก่ียวกับความถูกตองเปนจริง

ของเหตุการณ แตงานภาพถายเหลานี้ก็ไมสามารถส่ือความหมายไดอยางเปนวัตถุวิสัย เพราะภาพถายทุกภาพลวนมีความหมาย

แฝงจากภาษาทางเทคนิคการถายภาพเสมอ

ในบางกรณีระดับมุมกลองจากมุมสูงก็ไมไดหมายความวา ส่ิงที่ถูกถายตองดูต่ําตอย เชน ภาพภูมิทัศนทางอากาศของ

โบราณสถาน ยอมส่ือความหมายไดถึงความย่ิงใหญในครั้งอดีต หรือตัวอยางภาพขาวจากมุมต่ําที่เสนอภาพคนที่กําลังจะกระโดด

จากที่สูง ก็ไมไดหมายความวาคนๆ นั้นเปนผูย่ิงใหญ หากแตความหมายแฝงดังกลาว เปนหลักการโดยทั่วๆ ไปเทานั้น ในกรณีภาพ

ขาวอาจไมสามารถตีความภาพบางประเภท เพราะชางภาพอาจตองเผชิญกับขอจํากัดของสถานการณทางการถายภาพ หรือ

ตําแหนงที่ชางภาพอยูในขณะที่ทําการบันทึกภาพ ทําใหหลักการดังกลาวไมสามารถอิบายไดในบางกรณ ี

Page 6: Ca222 week02 concept of visual communication

| 5 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

ตัวอยางนี้เปนความหมายแฝงที่แนบเนื่องมาจากส่ิงที่อยูถูกบันทึกภาพ (Nick Lacey, 1998)

เทคนิคการถายภาพ ความหมายแฝง

ระดับมุมกลอง

มุมสูง ความพายแพ ต่ําตอย ตกอยูภายใตอํานาจ

มุมระดับสายตา ความเสมอภาค ความเปนกลาง

มุมต่ํา ความชนะ ความสูงสง ความมีอํานาจ

ชวงความชัด

(Depth of field)

ภาพแสดงความชัดลึก การส่ือเรื่องราวโดยรวม

ภาพแสดงความชัดตื้น การเนนความสําคัญ

ภาพ soft focus ภาพถวิลหาอดีต (nostalgia) ภาพในความคิดฝนจินตนาการ

ความยาวโฟกัสของเลนส

เลนสถายไกล (Telephoto lens) การแอบมอง (voyeuristic)

เลนสมาตรฐาน (Normal lens) การมองปกติ

เลนสมุมกวาง (Wide-angle lens) การเห็นที่บิดเบือน การแสดง(drama)

ลักษณะการจัดแสง High key ความเปดเผย การมองโลกในแงดี

Low key ความเรนลับ ความเศรา ความอึมครึม

3. ความหมายแฝงทางจิตวิทยาขององคประกอบดานทัศนธาต ุ

ทัศนธาต ุ(visual elements) เปนองคประกอบพื้นฐานของงานส่ือสารดวยภาพ อยางไรก็ตามส่ิงสําคัญในงาน

ส่ือสารภาพถาย ไดแก องคประกอบเรื่อง สีและเสน ลวนมีผลตอจิตวิทยาการรับรูของผูรับสาร ดังนี้

3.1. จิตวิทยาของสี

สีนั้นมีความสําคัญอยางย่ิงในการออกแบบในการทํางานส่ิงพิมพตางๆ การเลือกสีใหเขากับเนื้อหาของงาน จะ

ทําใหงานที่ทําออกมามีความนาเชื่อถือย่ิงขึ้น และยังสงผลอยางมากกับความ สวยงามของงานที่ออกมาดวย

สี ความหมายทางจิตวิทยา

สีแดง ความรุนแรง ความรอนแรง ความมีอํานาจ

สีเหลือง ความสดใส ราเริง เปนสีแหงความเบิกบาน กระฉับกระเฉง

สีน้ําเงิน ความเวิ้งวาง ความรูสึกเปนเจาของ อิสรเสรี ความสงบนิ่ง ความสุขุม เยือกเย็น

สีชมพู ความประณีต งดงาม สดใส มีชีวิตชีวา

สีเขียว ความอุดมสมบูรณ ความผอนคลาย ธรรมชาติ

สีมวง ใหความรูสึกมีเสนห เรนลับ นาติดตาม ซอนเรน มีอํานาจ มีพลังแฝงอยู

สีฟา ใหความรูสึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สงางาม

มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เปนระเบียบถอมตน ฉลาด กลาหาญ

สีสม ใหความรูสึก ราเริง สดใส มีชีวิตชีวา วันรุน ความคึกคะนอง

สีขาว ใหความรูสึก บริสุทธ์ิ สะอาด สดใส เบาบาง ออนโยน ความศรัทธา ความดีงาม

สีเทา ความออนโยน ความเงียบขรึม ความชราภาพ ความสลดใจ

สีดํา ความนากลัว อันตราย ความหนักแนน ความลึกลับ

สีน้ําตาล ใหความรูสึกหนักแนน มั่นคง ความแหงแลง ไมสดชื่น

Page 7: Ca222 week02 concept of visual communication

| 6 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

3.2. จิตวิทยาของเสน

ในการใชเสนจัดองคประกอบภาพนั้น ลายเสนตางๆ ยังใหความหมายแฝงรวมอยูดวย ชะลูด นิ่มเสมอ(2542:

35) ไดกลาวถึงความรูสึกทางจิตวิทยาที่เกิดจากลักษณะเสนตางๆ ดังนี้

o เสนตรง ใหรูสึกแข็งแรง แนนอน ตรง เขม ไมประนีประนอม หยาบ และเอาชนะ

o เสนคล่ืนหรือเสนโคง ใหความรูสึกสบาย เล่ือนไหล ตอเนื่อง สุภาพ แตถาใชมากจะใหความรูสึกกังวล ขาด

จุดมุงหมาย

o เสนโคงแคบ ใหความรูสึกมีพลังเคล่ือนไหว เปล่ียนแปลงเร็ว

o เสนโคงวงกลม ใหความรูสึกเปนระเบียบ เปนวงจร

o เสนโคงกนหอย ใหความรูสึกเขาสูศูนยกลาง คล่ีคลาย เคล่ือนไหวไมส้ินสุด

o เสนฟนปลา ใหความรูสึกขัดแยง เปล่ียนแปลงเร็ว พลังไฟฟา

o เสนนอน ใหความรูสึก เงียบ สงบ

o เสนตั้ง ใหความรูสึกสมดุล มั่นคง แข็งแรง รุงเรือง

o เสนเฉียง ใหความรูสึกเคล่ือนไหว ไมมั่นคง

อยางไรก็ตาม ความหมายของส่ิงตางๆ ที่ปรากฏในภาพหรือภาพถายที่ใชในงานส่ิงพิมพนั้น เกิดจากความสัมพันธกับ

รูปสัญญะอ่ืนๆ ทั้งนี้ นักส่ือสารดวยภาพตองตระหนักวาความหมายของภาพลวนมีความหลากหลาย กลาวคือ ภาพสามารถมี

ความหมายอยางไรก็ไดตามที่ผูรับสารปรารถนาที่จะใหเปน ความหมายของภาพถูกกําหนดโดยองคประกอบแวดลอมจํานวนมาก

ดังนั้น การถอดรหัส เขาใจถึงบริบท ภาษาภาพ ความหมายของภาพ และตองมีสายตาแหงจินตนาการที่ตองหมั่นฝกฝน ตอง

ความรูเก่ียวกับบริบทของการบันทึกภาพ เหตุการณแวดลอมอ่ืนๆ ชวงเวลาของเรื่องราว และการเลือกใชภาพประกอบสําหรับ

ส่ิงพิมพนั้น จะทําใหผูรับสารสามารถตีความหมายไดชัดเจนมากขึ้น

ความหมาย คุณลักษณะ และความสําคัญของประเภทภาพเชิงวารสารศาสตร

ภาพเชิงวารสารศาสตร ทั้งภาพประกอบและภาพถาย เปนงานทางการส่ือสารที่เ กิดจากการผสมผสานระหวางหลัก

วิชาการถายภาพ การวาดภาพ(ทั้งภาพวาดประกอบดวยมือลและภาพดิจิทัล) กับการเขียนเชิงวารสารศาสตร นับตั้งแตมีการใช

ภาพประกอบและภาพถายในส่ือส่ิงพิมพ ภาพเชิงวารสารศาสตรไดเปนแหลงเอกสารทางประวัติศาสตรที่บันทึกเรื่องราวที่

กอใหเกิดการเปล่ียนแปลงตอสังคมมาหลายยุคสมัย

ความหมายของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร (Photojournalism)

ศัพทบัญญัติวิชาถายภาพฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดใหคําแปลของคําวา Photojournalism วาหมายถึง “วารสารศาสตร

การถายภาพ” (ราชบัณฑิตยสถาน. 2530: 69)

สนั่น ปทมะนิน (2516: 1) กลาวถึงวิชาการถายภาพเชิงวารสารศาสตรวา เปนวิชาที่ใหความรูในเรื่องการผลิตหรือถายทํา

ภาพนิ่งเพื่อใชเปนภาพตนฉบับสําหรับถายทอด (reproduce) เปนบล็อกหรือแมพิมพสําหรัยตีพิมพส่ิงพิมพตางๆ โดยเฉพาะ เชน

หนังสือพิมพและนิตยสาร และอาจรวมไปถึงส่ิงพิมพอ่ืนๆ ดวย ในฐานะเปนภาพประกอบตัวหนังสือของส่ิงพิมพนั้น

Page 8: Ca222 week02 concept of visual communication

| 7 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

มาลี บุญศิริพันธ (2531 อางในสุรสิทธ์ิ วิทยารัฐ, 2545: 51) สรุปวา เนื่องจากหนังสือพิมพมีหนาที่หลักในการรายงานขาว

ดังนั้นภาพขาวจึงเปนสวนหนึ่งของหนังสือพิมพที่มีความจําเปนและมีความสําคัญมาก เนื่องจากภาพสามารถบอกรายละเอียดของ

เรื่องราวไดมากกวาบรรยายดวยคําพูด แมแตคนอานหนังสือไมออกก็สามารถเขาใจเรื่องราวตางๆ ไดมากขึ้น

Frank P. Hoy (1993: 5) กลาวถึงความหมายของภาพถายเชิงวารสารศาสตรวา เปนงานที่เ กิดจากการทําหนาที่รวมกัน

ระหวางภาพถายกับงานเขียนเพื่อประกอบการรายงานขาวสารตางๆ

โดยรวมแลว ภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตรจึงเปนการถายภาพดวยกลองถายภาพหรือภาพประกอบที่จัดทําขึ้น

เพื่อนําเสนอในส่ือส่ิงพิมพหรือส่ืออ่ืนใดที่มีการบูรณาการรวมกันกับระบบของการรายงานดวยลายลักษณอักษรตอสาธารณชน ซึ่ง

อาจเปนการตั้งชื่อภาพ คําอธิบายภาพ หรือเนื้อเรื่องประกอบภาพ

คุณลักษณะของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร

Frank P. Hoy (1986: 5-9) กลาวถึงคุณลักษณะของภาพถายเชิงวารสารศาสตรไว 8 ประการ ดังนี ้

1. ภาพเชิงวารสารศาสตร ตองมีความชัดเจน เพื่อส่ือใหผูชมเขาใจสถานการณไดทันท ี

2. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เปนภาพที่นําเสนอผานส่ือส่ิงพิมพ และส่ืออ่ืนๆ ที่เก่ียวของ

3. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เปนงานที่คัดเลือกภาพเพื่อรายงานขาวสารบางแงมุมของภาพผานมุมมองของผูสงสาร

4. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เปนการส่ือสารที่บูรณาการระหวางภาพและขอความ

5. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร เก่ียวของกับผูคน ผูคนเปนทั้งสารและผูรับสาร เพราะคนคือองคประกอบหลักของสาร

6. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร ตองส่ือสารกับมวลชน ภาพตองมีลักษณะของเนื้อหาสาธารณะ

7. ภาพถายเชิงวารสารศาสตร นําเสนอโดยผานกองบรรณาธิการภาพ โดยมีหนาที่ทําใหภาพส่ือสารไดอยางมี

ประสิทธิภาพ

8. การรายงานขาวดวยภาพ ทําใหผูคนรับรูวาอะไรเกิดขึ้น ซึ่งเปนความเชื่อพื้นฐานของภาพถายเชิงวารสารศาสตร

ความสําคัญของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร

ภาพถายและภาพขาว สามารถส่ือความหมายไดเชนเดียวกับตัวหนังสือ ดังนั้น ภาพขาวจึงมีความสําคัญย่ิงในงาน

ส่ิงพิมพ เปนที่ยอมรับโดยทั่วไปวาขาวทีม่ีคุณคา นาสนใจ หากมีภาพเหตุการณหรือเรื่องราวขาวประกอบจะทําใหไดรับความสนใจ

และเชื่อถือมากย่ิงขึ้น ความสําคัญของภาพที่ทําหนาที่รวมกับงานเขียนนั้น มีดังตอไปนี้

1. ภาพเปนหลักฐานที่ยืนยันความจริงและสรางความนาเชื่อถือใหกับเรื่องราว

2. ภาพชวยสรางความเขาใจตอเรื่องราวไดตรงตามเหตุการณ

3. ภาพสามารถเราสายตาของผูอานไดดี

4. ภาพสามารถถายทอดอารมณความรูสึกของบุคคลหรือเหตุการณไดดี

5. ภาพสามารถที่จะยกระดับความสําคัญของคุณคาของขาวสาร

6. ภาพถายชวยเพิ่มความสวยงามแกส่ิงพิมพ

Page 9: Ca222 week02 concept of visual communication

| 8 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

ประเภทของภาพและภาพถายเชิงวารสารศาสตร

การจัดประเภทขึ้นอยูกับหลักเกณฑและวัตถุประสงค เชน ดานเนื้อหาภาพ อาจเปนภาพขาว ภาพเชิงสารคดี ภาพบุคคล

ภาพงานโฆษณา ภาพแฟชั่น เปนตน ในที่นี้จะใชเกณฑดานหนาที่ทางการส่ือสารรวมกับเนื้อหา โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. ภาพขาว คือการรายงานขอเท็จจริงในรูปแบบของภาพที่ตองมีความถูกตองเปนจริงตามเหตุการณเรื่องราว มีความ

นาเชื่อถือและรวดเร็วในการนําเสนอ แบงเปน 3 ประเภท

1.1. ภาพขาว ณ ที่เกิดเหตุ เปนภาพที่ถายจากสถานที่และเหตุการณจริง เชน ขาวอุบัติเหตุ ขาวกีฬา เปนตน

1.2. ภาพขาวทั่วไป เปนภาพขาวที่เกิดขึ้นประจํา เชน การจัดแถลงขาว ภาพปญหาส่ิงแวดลอมที่เกิดขึ้นทุกวัน

1.3. ภาพประกอบขาว เปนภาพที่เสริมความเขาใจเนื้อหาขาว อาจใชภาพในอดีตมาประกอบเพื่อสรางความเขาใจ

เหตุการณขาวในปจจุบัน

2. ภาพสารคดี คือภาพที่ถายทอดเรื่องราวตามขอเท็จจริงในเชิงสาระ ความรู และความสวยงาม แบงเปน 3 ประเภท

2.1. ภาพประกอบขอเขียนเพื่อเสริมความเขาใจในเรื่องราว เชน สารคดีทองเที่ยว สารคดีสัตวเล้ียง

2.2. ภาพชุดเลาเรื่องเปนภาพแสดงลําดับขั้นตอนเรื่องราวเหตุการณ เชน ภาพชุดแสดงขั้นตอนการตอนก่ิงตนไม

2.3. สารคดีภาพ เปนการนําเสนอเนื้อหาดวยภาพเพียงอยางเดียว ไมจําเปนตองมีคําบรรยาย อาจใชเพียงหัวขอของ

เรื่องนั้นๆ เพื่อเปนการแนะนําเนื้อหาเรื่องเพียงส้ันๆ

3. ภาพใหแนวคิด เปนภาพที่สะทอนมุมมองที่คนทั่วไปอาจจะมองขาม มักมีองคประกอบและรายละเอียดที่นาสนใจ

อาจมีความกํากวมในการส่ือความหมาย จึงอาจตองมีคําอธิบายประกอบแตเปนการอธิบายแนวคิดของกลุมภาพที่

นําเสนอ เชน บทกวีที่ถายทอดแนวคิดจากภาพถาย พบไดในนิตยสารบางฉบับในรูปแบบการนําเสนอแบบเรียงถอย

รอยภาพ เพื่อนําเสนอภาษาเชิงวรรณศิลปรวมกับภาพ

4. ภาพเพื่อความบันเทิง เปนภาพที่กอใหเกิดความสุข ความสบายตา เนนความสวยงามของการส่ือสารดวยภาพ

เชน ภาพถายแฟชั่น

Page 10: Ca222 week02 concept of visual communication

| 9 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

หลักการ EDFAT ของภาพถายเชิงวารสารศาสตร

หลักการ EDFAT ของการส่ือสารดวยการถายภาพ มีลักษณะคลายกับปรัชญาหรือหลักการในการถายภาพเชิงขาว,สาร

คดี (Photojournalism) ภาพรวม(Entire), รายละเอียด(Details), กรอบ(Frame), มุม(Angles) และ เวลา(Time) ดังตัวอยาง

ตอไปนี้

Entire-ภาพรวม

การกดชัตเตอรจากสภาพแวดลอมที่สมบูรณแบบในรูป โดย

พิจารณาความหมายจากฉากทั้งหมดที่สามารถบรรยายและ

อธิบายเหตุการณไดจากภาพรวม

Photo by Chris Yambing

Details-รายละเอียด

ภาพนี้แสดงใหเห็นถึงรายละเอียดของส่ิงที่อยูในภาพ จาก

วัตถุที่มีลักษณะคลายกัน แตตางกันตรงรายละเอียดของ

ตราสัญลักษณที่ไมเหมือนกัน

Photo by Chris Yambing

Page 11: Ca222 week02 concept of visual communication

| 10 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

Frame-กรอบ

สนใจองคประกอบโดยรอบของเรื่องของคุณและใหปรับปรุง

องคประกอบที่จําเปนผาน ชองมองภาพ ของคุณ ถาคุณ

สามารถกรอบหัวขอของคุณโดยใชใด ๆขององคประกอบ

เหลานั้น การถายภาพของคุณจะคมมากขึ้น

Photo by Chris Yambing

Angles-มุม

ไมมีเ นื้อห าถายภาพ ในมุมที่ง ายที่ สุด มันจะดีกว าที่จ ะ

ถายภาพดานลาง , ดานบน , จากซาย , ขวา ? คุณจะไม

ทราบจนกวาคุณจะลอง Photo by Chris Yambing

Page 12: Ca222 week02 concept of visual communication

| 11 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

Time-เวลา

เวลาในความรูสึกนี้เปนสองเทาซึ่งหมายถึงวาสถานการณ

นั้นเปนไปอยางรวดเร็ว และเวลาในการรอโอกาสที่เหมาะสม

สําหรับการกดชัตเตอรของคุณจะเร็วจะชา จะสงผลตอภาพ

ผมจะเปรียบเทียบใหเห็นไฟสีเหลือง ในขณะที่บนทองถนน

มันขึ้นอยูกับคุณที่จะตัดสินใจวาคุณตองการที่จะชาลงหรือ

เร็วขึ้น

Photo by Chris Yambing

หลักจริยธรรมและจรรยาบรรณสําหรับภาพเชิงวารสารศาสตร

จริยธรรมเปนหลักแหงความดีงามที่เก่ียวของกับมนุษยที่พึงปฏิบัติตอเพื่อนมนุษย อีกทั้งยังเปนหลักที่เ ก่ียวของกับการ

ประเมินคาการกระทําของมนุษย วิทย วิศทเวทย(2537) ไดกลาวถึงหลักแนวคิดทางจริยธรรมแมบทที่สําคัญ 3 หลักการดังนี้

1. หลักประโยชนสุขนิยม (Utilitarianism)

นักคิดคนสําคัญคือ จอหน สจวต มิลล (John Stuart Mill) มีหลักการสําคัญเรียกวา “หลักมหสุข” วา ส่ิงที่ควร

ทําคือส่ิงที่กอประโยชนสุขมากที่สุดแกคนจํานวนมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับรายงานภาพหรือแนวทางกฎหมายไทย

ในเรื่อง “ประโยชนตอสาธารณะ” กลาวคือ ภาพเชิงวารสารศาสตรจะมุงเนนการรายงานภาพเหตุการณที่นาจะมีผล

ตอการเปล่ียนแปลงสังคมไปในทางที่ดีขึ้น ผูอานหรือประชาชนจะมีความสุขมากย่ิงขึ้นจากผลการรายงานภาพขาว

นั้นๆ ซึ่งอาจนําไปสูการวิพากษวิจารณของสังคม ผลักดันนโยบายทางเศรษฐกิจตางๆ เปนตน

2. หลักจริยธรรมเชิงหนาท่ี (Duty Ethics)

อิมมานูเอล คานท (Emmanuel Kant) มีหลักการสําคัญที่เรียกวา “จริยธรรมเชิงหนาที่” ซึ่งเ ก่ียวกับการนําเสนอ

ภาพทางวารสารศาสตรดวยหลัก 2 ประการ คือ

o มนุษยตองทําตามหนาที่ ทั้งนี้ตองพิจารณาจากเจตนาแหงการกระทํา การมีเจตนาดีคือ การหลุดพน

จากความรูสึกไมวาจะเปนทางบวกหรือลบ แตกระทําตั้งอยูในหลักการแหงเหตุผล โดยไมคํานึงถึงผล

ใดๆ ที่จะเกิดขึ้น

o จงอยาใชเพื่อนมนุษยเปนเครื่องมือเพื่อการใด

Page 13: Ca222 week02 concept of visual communication

| 12 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

จากหลักการดังกลาว พิจารณาไดวา การนําเสนอภาพเชิงวารสารศาสตรโดยมีการบิดเบือนขอเท็จจริง การ

นําเสนอภาพขาวโดยละเมิดสิทธิสวนบุคคลของผูที่ตกเปนขาว การตีพิมพภาพที่เจาตัวปราศจากความยินยอม การ

ติดตามถายภาพของชางภาพอิสระ ถือเปนส่ิงที่ขัดตอจริยธรรมทั้งส้ิน

3. หลักจริยธรรมสายกลาง (Golden means)

อริสโตเติลเสนอวา บุคคลพึงหลีกเล่ียงพฤติกรรมที่สุดโตง หลักจริยธรรมดังกลาวไมไดพิจารณาคุณคาของการ

กระทําจากเหตุหรือผลจากการกระทํา หากแตเห็นวา คุณคาของความดีงามอยูระหวางความคิดที่สุดโตงทั้งสอง

ดานโดยไมมีกฎเกณฑตายตัว คุณธรรมควรเกิดจากความรูสึกที่เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

แนวทางดังกลาวอยูที่ดุลยพินิจของบรรณาธิการส่ือส่ิงพิ มพในการคัดเลือกภาพเพื่อนําเสนอใหเหมาะสมกับ

บริบท ไดแก เวลา สถานที่ และบุคคลที่เก่ียวของกับขาวนั้นๆ

จริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพที่เก่ียวกับการนําเสนองานภาพเชิงวารสารศาสตร มีดังนี้

1. หลักแหงประโยชนสาธารณะ

2. หลักแหงความถูกตองเปนจริง

3. หลักแหงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

4. หลักแหงรสนิยมที่ดี

5. หลักแหงวิธีการที่สุภาพและซื่อสัตย

6. หลักแหงการไมลวงละเมิดสิทธิสวนบุคคล

แบบจําลองการสื่อสารของ Jakobson

จาคอบสัน (Jakobson : 1960) เปนนักภาษาศาสตร ดวยเหตุนี้เขาจึงสนใจในความหมายและโครงสรางภายในของสาร

โดยกลาวถึงองคประกอบในการส่ือสารของเหตุการณทางวาทะใดๆ ซึ่งมีองคประกอบไดแก ผูสงสาร (addresser) สงสาร

(message) ไปยังผูรับสาร (addresse) ซึ่งสารจะกลาวถึงบางส่ิงบางอยางมากกวาเปนแคตัวสารเอง เขาเรียกส่ิงนี้วา บริบท

(context) ซึ่งเปนองคประกอบที่เชื่อมโยงระหวางผูสงสารและผูรับสาร สามารถเปนที่เขาใจไดของผูรับสาร การติดตอ (contact)

ซึ่งหมายถึงชองทางทางกายภาพ และการเชี่อมโยงทางจิตใจ ระหวางผูสงสารและผูรับสารและปจจัยสุดทาย คือ รหัส (code) ซึ่ง

เปนระบบของการเขาใจความรวมกันที่สารถูกสรางขึ้น ซึ่งแตละสวนแสดงใหเห็นถึงหนาที่ที่แตกตางของภาษา และในแตละ

พฤติกรรมในการส่ือสารจะพบลําดับขั้นของหนาที่ (hierarchy of function) เขาจึงไดสรางแบบจําลองขึ้นอีกเพื่อใชอธิบายหนาที่

ทั้ง 6 ของกระบวนการส่ือสาร ดังแผนภาพ

Jakobson’s Communication Model

Addresser

Addresse

Context

Message

Contact

Code

Page 14: Ca222 week02 concept of visual communication

| 13 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

สามารถวิเคราะหองคประกอบการส่ือสารในทัศนะของ Jakobson 6 องคประกอบไดดังนี้

1. หน าที่ทางอารมณ (emotive function) คือความสัมพัน ของสารที่ผู สงสารตองการเสนอ (ซึ่งเร ามักใชคําว า

“แสดงออก” แทน) หนาที่ทางอารมณของสารคือการส่ือสารทางอารมณ ทัศนคติ สถานะ ลําดับขั้น ซึ่งทุกสวนประกอบนี้จะสราง

สารที่มีลักษณะเฉพาะบุคคล ในบางสาร เชน บทกวีเ ก่ียวกับความรัก การแสดงออกทางอารมณจึงเปนส่ิงสําคัญ หรือในการ

รายงานขาวการแสดงออกทางอารมณจะถูกควบคุม

2. หนาที่ของความพยายาม (conative function) ซึ่งหมายถึงผลของสารที่เ กิดกับผูรับสาสน เชนในการออกคําส่ังหรือ

โฆษณาชวนเชื่อ หนาที่นี้จะมีความสําคัญอยางมาก ในการส่ือสารรูปแบบอ่ืนๆ จะถูกกําหนดใหสนใจนอยลง

3. หนาที่ของการอางอิง (referential function) “การปรับเปล่ียนความจริง” ของสารจะถูกใหความสําคัญอยางมากใน

วัตถุประสงคของการส่ือสารที่ขึ้นอยูกับความจริง ซึ่งเนนที่ “ความจริง” หรือ ความถูกตองที่แทจริง ซึ่งทั้ง 3 สวนนี้สามารถเห็นได

อยางชัดเจน หนาที่ของสามัญสํานึกสามารถแสดง ออกในระดับที่หลากหลายในพฤติกรรมทางการส่ือสาร

4. สวนหนาที่ของ (Phatic) เปนการรักษาชองทางการส่ือสารใหคงอยูตอไป ซึ่งจะเปนการรักษาความสัมพันธระหวางผู

สงสารกับผูรับสารไวใหการส่ือสารเกิดขึ้น หากกลับไปดูปจจัยดานการติดตอ ซึ่งก็คือการทําใหเ กิดการเชื่อมโยงทางกายภาพและ

ทางจิตใจ ซึ่งมีคําอ่ืนๆ ที่เรียก คือ การตอกยํ้าซ้ําทวน (redundant) ซึ่งเปนองคประกอบของสาร ซึ่งหนาที่ที่ 2 ของการตอกยํ้าซ้ํา

ทวน ก็คือ Phatic นั่นเอง

5. หนาที่ของอัตภาษา (Metalingual) ของการแสดงรหัสที่ถูกใช เมื่อเราใชคําวา “การตอกยํ้าซ้ําทวน” เราตองการสราง

ขอเท็จจริงที่ชัดเจน โดยการใชรหัสของทฤษฎีการส่ือสารเชน กลองบุหรี่ที่วางเปลาถูกโยนทิ้งไวบนหนังสือพิมพเกา ซึ่งเปนขยะทั่ว ๆ

ไป แตถาเรานํากลองบุหรี่เปลาไปติดไวกับกระดาษ ใสกรอบ แลวแขวนไวบนกําแพงในแกลลอรี่ มันจะกลายเปนศิลปะ

การวิเคราะหภาพถายเชิงวารสารศาสตร

ชื่อภาพ “The Napalm Girl of Trangbang”

Page 15: Ca222 week02 concept of visual communication

| 14 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

กรณีศึกษาภาพ “The Napalm Girl of Trangbang”

โดย Nick Ut สํานักขาว Assocoated Press ที่มา Hal Buell and Seymour Topping (1999)

Nick Ut บันทึกภาพการทิ้งระเบิดนาปาลมลงหมูบาน Trangbang เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 1972 เนื่องจากสงสัยวามีกอง

กําลังเวียดกงซุมซอนอยูในหมูบาน Kim Phuc อายุ 9 ป วิ่งหนีออกจากหมูบานมาตามถนน ในสภาพไมมีทั้งเ ส้ือผาพรอมกับพี่ชาย

อายุ 12 ป ทางซายสุดของภาพและนองชายอายุ 5 ปที่วิ่งไปพรอมกับเหลียวหลังไปมองที่หมูบาน ภาพนี้ไดรับรางวัลพูลลิตเซอรใน

ป 1973

ภาพนี้เปนประเด็นโตแยงในเชิงจริยธรรม ทั้งนี้ในชวงเวลานั้น สํานักขาว AP มีนโยบายไมตีพิมพภาพเปลือยโดยไมมี

ขอยกเวน แตหลังจากการโตแยงในกองบรรณาธิการในที่สุดเห็นวา มาตรฐานทางจริยธรรมเก่ียวกับภาพเปลือยไมสามารถใชไดกับ

กรณีนี้ ซึ่งแนวทางนี้สอดคลองกับหลักจริยธรรมทางสายกลางของ Aristotle ที่พิจารณาจากเง่ือนไขดานกาละ เทศะ และบุคคล

ตลอดจนถึงบริบทที่เก่ียวของ

ภาพนี้เปนสัญลักษณของความนากลัวของสงคราม Kim Phuc ไดกลายเปนสัญลักษณของผูตอตานสงครามและไดรับ

ตําแหนงทูตสันติภาพในป 1997 นั่นแสดงใหเห็นวาภาพนี้เปนประโยชนตอสาธารณชน สอดคลองกับหลักประโยชนสุขนิยมของ

John Stuart Mill

อยางไรก็ตามแนวทางการนําเสนอภาพดังกลาว นาจะขัดตอหลักจริยธรรมเชิงหนาที่ของ Kant ในแงของการใชเพื่อน

มนุษยเปนเครื่องมือ แมวาภาพนี้จะถูกใชเปนเครื่องมือเพื่อการสรางสันติภาพใหกับโลก และยังเปนการรายงานความถูกตองเปน

จริงตามหลักวารสารศาสตร

Kim Phuc (born 1963)

สัญชาติเวียดนาม-แคนาดา ทูตสันติภาพในป 1997

และหากวิเคราะหตามหลักการ EDFAT ของการส่ือสารดวยภาพถายเชิงวารสารศาสตรแลว จะพบวาภาพดังกลาวมี

ลักษณะตรงตามหลักการ EDFAT อันไดแก ภาพรวม(Entire), รายละเอียด(Details), กรอบ(Frame), มุม(Angles) และ เวลา

(Time) อยางครบถวน

Page 16: Ca222 week02 concept of visual communication

| 15 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารดวยภาพสําหรับงานวารสารศาสตร

บรรณานุกรม

• Frank P. Hoy. 1986. Photo Journalism: the visual approach. London : Prentice-Hall, Englewood Cliffs, N.J.

• EDFAT and the Art of Seeing. 2557. (ระบบออนไลน) แหลงที่มา

http://www.lomography.co.th/magazine/lifestyle/2013/08/23/edfat-and-the-art-of-seeing

• ชลูด นิ่มเสมอ. 2534. องคประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพไทยวัฒนาพานิช.

• ทองเจือ เขียดทอง. 2548. การออกแบบสัญลักษณ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพสิปประภา.

• ธารทิพย เสรินทวัฒน. 2550. ทัศนศิลปการออกแบบพาณิชยศิลป. กรุงเทพฯ : หลักไทชางพิมพ.

• ปาพจน หนุนภักดี. 2553. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟกดีไซน. กรุงเทพมหานคร:บริษัท ไอดีซี พรีเมียร จํากัด.

• ปราโมทย แสงผลสิทธ์ิ. 2540. การออกแบบนิเทศศลิป. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ วี.เจ. พร้ินต้ิง.

• มัย ตะติยะ. 2547. สุนทรียภาพทางทัศนศิลป. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพมิตรสัมพันธกราฟฟค จํากัด.

• มาลี บุญศิริพันธ. 2550. วารสารศาสตรเบื้องตนปรัชญาและแนวคิด. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพมหาวทิยาลัยธรรมศาสตร.

• วิรุณ ต้ังเจริญ. 2545. ประวัติศาสตรศิลปและการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพอีแอนไอคิว.

• สนั่น ปทมะทนิ. 2530. การถายภาพสําหรับหนังสือพิมพ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาการหนังสือพิมพแหงประเทศไทย.

• สภาการหนังสือพิมพแหงชาติ. 2555. ขอบังคับวาดวยจริยธรรมแหงวิชาชีพหนังสือพิมพสภาการหนังสือพิมพแหงชาติ พ.ศ.2541.

(ระบบออนไลน) แหลงทีม่า

http://www.presscouncil.or.th/th2/content/view/4/8/. (19 พฤศจิกายน 2555)

• สุรสิทธ์ิ วิทยารัฐ. 2549. การส่ือขาว : หลักการและเทคนิค. กรุงเทพฯ : ศูนยหนังสือสถาบันราชภฏัสวนสุนนัทา.

• โสรชัย นันทวัชรวิบูลย. 2545. Be Graphic สูเสนทางกราฟกดีไซเนอร. กรุงเทพมหานคร:บริษัท เอ.อาร.อินฟอรเมชัน แอนด พับลิเคชัน

จํากัด.

• อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ. กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร.

ภาพประกอบบางสวนจาก

• www.asiancorrespondent.com

• www.lib.vit.src.ku.ac.th

• www.chrisdrogaris.com

• www.derby-web-design-agency.co.uk

• www.oliviagreavesdesign.com

• www.yanchaow.com