self purification of water in kiriwong watershed , nakhon

53
รหัส 04107691 การฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติ บริเวณลุมน้ําคีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช Self Purification of Water in Kiriwong Watershed , Nakhon Si Thammarat Province พงศธร บรรณโศภิษฐ พรรณวดี ธํารงหวัง ปทมา ทิพรส ธันวาคม 2550

Upload: others

Post on 26-Dec-2021

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

รหัส 04107691

การฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติ บริเวณลุมน้ําครีีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช

Self Purification of Water in Kiriwong Watershed , Nakhon Si Thammarat Province

พงศธร บรรณโศภิษฐ พรรณวดี ธํารงหวัง

ปทมา ทิพรส

ธันวาคม 2550

บทคัดยอ

การศึกษาการฟอกตั วของน้ํ าตามธรรมชาติ บริ เวณลุ มน้ํ าคี รี วง จั งหวัดนครศรีธรรมราช ไดดําเนินการเก็บตัวอยาง รวมทั้งหมด 7 จุด ในระยะทางที่มีระยะหางๆกัน ประกอบดวย (1) ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา) (2) ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา) (3) ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) (4) ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) (5) ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) (6) ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง) และ (7) ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) ซ่ึงมีกิจกรรมในพื้นที่ตนน้ําสวนใหญเปนพื้นที่ปาธรรมชาติดั้งเดิม บางสวนเปนสวนผลไมผสมไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม) พื้นที่ตอนกลางของลําน้ําเปนพื้นที่ใชประโยชนของชุมชน เปนที่ตั้งรีสอรทบางแหง และเปนที่อยูอาศัย พื้นที่ตอนปลายลําน้ําจะมีการใชประโยชนของชุมชนเพื่อการอุปโภค ดําเนินการศึกษา เดือนละครั้ง ระหวางป 2545 - 2546 เปนเวลา 2 ป พบวา คุณภาพน้ําทั้ง 7 จุด เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย โดยภาพรวมถือวามีคุณภาพน้ําดีทั้งทางกายภาพและทางเคมี โดยตรวจวัดจากดัชนีคุณภาพน้ําทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิของน้ํา การนําไฟฟาของน้ํา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา และดัชนีคุณภาพน้ําทางเคมี ไดแก ปริมาณความเปนกรด/ดาง ปริมาณความกระดาง และปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา รวมทั้งดัชนีคุณภาพน้ํา จากการศึกษาปริมาณโลหะหนัก ไดแก ปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และปริมาณสังกะสีในน้ํา พบวามีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน เมื่อศึกษาการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติ จากจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 3 ตนน้ําคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) ซ่ึงไหลผานรีสอรท และชุมชนบางสวน จุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 5 ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) ซ่ึงไหลผานชุมชน และจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 7 ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) ซ่ึงเปนแหลงรวมกิจกรรมการใชประโยชนของชุมชนเพื่อการอุปโภคมากขึ้น พบวา โดยภาพรวมทั้ง 3 แหงมีคุณภาพน้ําดีทั้งทางกายภาพและทางเคมี แสดงวาคลองทาดียังพบสารปนเปอนนอย สาเหตุสําคัญเนื่องจากเปนแหลงตนน้ําที่ยังสมบูรณ ลําน้ําที่ไหลมาบรรจบกันถึงแมจะไหลผานการใชประโยชนของชุมชนบางก็มีผลเสียตอคุณภาพน้ํานอยมาก พื้นที่บริเวณดังกลาวแทบจะไมมีการใชประโยชนที่ดินอยางอื่นที่จะสงผลเสียตอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ํา โดยเฉพาะการทําสวนสมรม(สวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม) และนอกจากนี้ชุมชนในพื้นที่เหลานี้จะไมนิยมใชสารเคมีในการกําจัดวัชพืช และใชปุยเคมี ดังนั้น จึงกลาวไดวาลุมน้ําทาดี มีคุณภาพน้ําดี เหมาะที่จะใชในการอุปโภคและใชในการเกษตรกรรมทั่วไป

คําหลัก : การฟอกตัวของน้าํ , คุณภาพน้ํา , สวนสมรม

ABSTRACT

The study on self purification of Water in Kiriwong Watershed, Nakhon Si Thammarat Province was conducted from 2002-2003. Water samples were monthly collected from 7 selected sources with equal distances among each source, namely Klong Tha-Ha, Klong Lum-Nga, Ban Maprang-Warn , Klong Tha-Chai, Klong Pong at the upstream of Klong Tha-Dee and Ban Cherng-Trae. and Ban Wang-Sai at the midstream of Klong Tha-Dee. Most of upstream areas located in the intact forest while some were modified for multiple tree garden. People in the communities live around midstream areas where some resorts had been established. Downstream areas were applied for living consumption activities. Based on physical index of water (temperature, electrical conductivity, turbidity, solid suspension), chemical index of water (acidity/alkalinity, hardness, oxygen dissolved) and quantity of heavy metals in water (lead, copper, and zinc), it was found that the quality of water from 7 sources analyzed were better than standard values when compared with water from natural sources in Thailand. Water samples from Ban Maprang-Warn which flow through some part of resorts and communities, Ban Cherng-Trae which flow through communities, and Ban Wang-Sai which flow through the areas of consumption activities by the communities showed good results in both physical and chemical property. This implied that Klong Tha Dee is less polluted even some amount of water came from the areas of consumption utilization. The water still remained in high quality both physical and chemical aspects. Most utilization activities caused no affect to the water sources. Moreover, people in the communities did not use chemical insecticide or chemical fertilizer. Therefore, it could be assumed that this watershed area is suitable for communities’ utilization and agriculture in the long run. Keyword : water purification , water quality , multiple tree garden

สารบาญ

หนา สารบาญ (1)

สารบาญตาราง (2)

สารบาญตารางผนวกที่ (3)

สารบาญภาพ (4)

คํานํา 1

วัตถุประสงค 2

การตรวจเอกสาร 3

ลักษณะพื้นที่ดําเนินการ 7

อุปกรณและวิธีการ 9

ผลและวิจารณผล 14

สรุปและขอเสนอแนะ 26

เอกสารอางอิง 27

ภาคผนวก 30

ภาพกิจกรรม 45

สารบาญตาราง ตารางที่ หนา 1 ลักษณะการใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ลุมนํ้าทาดี โดยจําแนก ตามจุดเกบ็ตัวอยางนํ้า 15 2 คุณภาพทางกายภาพและเคมขีองน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี จ.นครศรีธรรมราช ป พ.ศ. 2545-2546 16

สารบาญตารางผนวกที่ ตารางผนวกที่ หนา 1 สถิตขิอมูลอากาศสถานีวิจัยตนนํ้าคีรีวง ในคาบ 12 ป ( พ.ศ. 2545 – 2546) 30

2 ขอมูลอากาศเฉลี่ยรายเดือนป 2545 สถานีวิจัยตนนํ้าคีรีวง อ. ลานสกา จ. นครศรีธรรมราช 31

3 ขอมูลอากาศเฉลี่ยรายเดอืนป 2546 สถานีวิจัยตนนํ้าคีรีวง อ. ลานสกา จ. นครศรีธรรมราช 32

4 วิธีการวิเคราะหดัชนีคุณภาพน้ํา 33 5 มาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงนํ้าธรรมชาติในประเทศไทย 34 6 อุณหภูมิของน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 35 7 ความขุนของน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 36 8 การนําไฟฟาของน้ําบริเวณลุมนํ้าทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 37 9 ปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี

ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 38 10 ความเปนกรดเปนดางของน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี

ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 39 11 ความกระดางของน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี

ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 40 12 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี

ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 41 13 ปริมาณตะกั่วในนํ้า บริเวณลุมนํ้าทาดี

ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 42 14 ปริมาณทองแดงในน้ํา บริเวณลุมนํ้าทาดี

ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 43 15 ปริมาณสังกะสีในนํ้า บริเวณลุมนํ้าทาดี

ระหวางป พ.ศ. 2545 – 2546 44

สารบาญภาพ ภาพที่ หนา

1 ขอบเขตลุมนํ้าทาดี และจดุเก็บตัวอยางนํ้า 10

คํานํา

ปจจุบนัคุณภาพของน้ํา บริเวณลุมน้ําตางๆทั่วประเทศ ตกอยูในภาวะวิกฤติ อันเนื่องจากมนุษยที่ใชทรัพยากรน้ําอยางไมระมัดระวงัและขาดความรับผิดชอบ มีการบกุรุกทําลายปาไม ซึ่งเปนแหลงตนน้ําลําธาร โดยการยึดครองพื้นที่เพ่ือใชเปนประโยชนสวนตัว เพ่ือขยายเปนพื้นที่เกษตรกรรม กอใหเกิดการทําลายสภาพแหลงน้ํา ทําใหเกิดการขาดแคลนน้าํ และคุณภาพน้าํเส่ือมโทรมลงเรื่อยๆ และนอกจากนัน้ยังใชแหลงน้ําเปนที่ระบายของเสียตาง ๆ สงผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมตอปรมิาณและอตัราการไหลของน้ํา ทําใหคุณภาพของน้ําเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากการใชทรัพยากรน้ําโดยขาดความรูและความรับผิดชอบ ซึ่งเมื่อสภาพของน้ําในแหลงน้าํเส่ือมโทรมลง ยอมจะสงผลกระทบตอความเปนอยูของสิ่งมีชีวิตทั้งบนบกและในน้าํ ชุมชน สังคม และเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม ดงัขอมูลของกรมควบคุมมลพิษ ป 2538 ที่รายงานวา งบประมาณทีรั่ฐลงทุนไปเพื่อจัดการสิ่งแวดลอมในสวนที่เก่ียวกับการจัดการน้าํเสียนั้น คิดเปนมูลคาถึง 3,645 ลานบาท (ทองโรจนและดารารตัน, 2542) และมีแนวโนมเพิ่มขึน้ทุกป ซึ่งหากไมมีการกระทาํของมนุษยเขามาเกี่ยวของน้ําจะมีการฟนตัวเองตามธรรมชาติ โดยอาศัยระยะเวลาและระยะทาง เพ่ือรักษาระดับสมดุลของระบบตามธรรมชาต ิ

ลุมน้ําทาดี หรือ ลุมน้ําคีรีวง เปนแหลงตนน้ําสําคญัที่หลอเล้ียงประชากรในตัวเมืองและพ้ืนที่รอบนอก และเปนแหลงผลิตน้าํดบิหลักของประปาเทศบาลนครนครศรีธรรมราช แตปจจุบันพบวาพ้ืนทีบ่ริเวณเหลานี ้ ซึ่งเปนที่ตั้งของปาธรรมชาติและเปนแหลงกําเนดิของตนน้ําลําธาร นับวันจะถูกบกุรุกนํามาใชในกิจกรรมดานตางๆมากมาย ทั้งในดานการพัฒนา และมีการขยายพื้นที่อยางไมมีขอบเขตจํากัดในแตละช้ันคุณภาพลุมน้ํา เปนพื้นที่เกษตรกรรม สวนผลไม สวนยางพารา และชุมชนที่พักอาศัยมากขึน้เรื่อยๆ ซึ่งพ้ืนที่บางแหงก็ไมเหมาะสมที่จะนํามาใชประโยชน รวมทั้งการขาดจิตสาํนึกของชุมชนในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาต ิ สงผลใหมีการปลอยน้าํทิ้งจากชุมชน และสวนผลไมบางแหงก็มีการปนเปอนของสารเคมีลงสูแหลงน้ํา ทําใหคุณภาพของน้ําเปลี่ยนแปลง กอใหเกิดผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมอยางมากมาย ทั้งการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงมีชีวิตที่ถูกทําลาย ซึ่งหากไมมีการกระทําของมนุษยมาเกี่ยวของน้ําก็สามารถที่จะฟนตัวเองไดตามธรรมชาติ และปญหาที่เกิดขึ้นกับลุมน้าํนี้ นับวนัจะทวีความรุนแรงย่ิงข้ึน ดงันั้นการศึกษาการฟนตัวของน้ําตามธรรมชาตบิริเวณลุมน้ําคีรีวงในครัง้นี้ จะทาํการตรวจหาการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาต ิ โดยการตรวจวัดอุณหภูมิของน้ํา ความขุน การนําไฟฟา ปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ความเปนกรดเปนดาง ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าํ และความกระดางของน้าํเปนระยะๆ ซึ่งขอมูลที่ไดจะชี้ใหเห็นวา หากไมมีการบุกรุกพ้ืนที่ปาเพ่ือการใชประโยชนที่ดนิอยางอ่ืน โดยขาดความรบัผดิชอบและการดูแลรักษาแลวนั้น น้าํจะสามารถที่จะปรับสภาพตัวเองเพื่อรักษาความสมดุลของระบบได และประชาชนจะมีน้าํที่สะอาดใชตลอดไป นอกจากนี้ยังสามารถนาํผลที่ไดไปใชเปนขอมูลในการรักษาความสมดุลของน้ําตอไป

วัตถุประสงค

1. เพ่ือตรวจหาการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาต ิ โดยการตรวจวัดคุณภาพของน้ําทั้งทางกายภาพและเคมี ไดแก อุณหภูมิของน้ํา ความขุน การนําไฟฟา ปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ปริมาณออกซเิจนที่ละลายในน้ํา ความเปนกรดเปนดาง ความกระดางของน้ํา และปริมาณโลหะหนัก ไดแก ปริมาณตะกัว่ในน้าํ ปริมาณทองแดงในน้ํา และปริมาณสังกะสีในน้ํา ในแตละเดือนของรอบหนึ่งป ตั้งแตป พ.ศ. 2545 – 2546 เปนระยะ ๆ บริเวณลุมน้ําทาดี

2. เพ่ือนําผลที่ไดไปใชเปนแนวทางในการรักษาคุณภาพของน้ําทาภายในลุมน้าํ โดยนาํ ไปพิจารณาเพือ่การวางแผนผังเมือง และการกําหนดพื้นที่เกษตรกรรมประเภทตางๆลงในแตละจุดของพื้นที่ตนน้ําใหไดสัดสวนที่เหมาะสมตอไป

การตรวจเอกสาร

1. การฟอกตัวเองของแหลงนํ้า

Whurman (1972) ใหความหมายของการฟอกตัวเองของแหลงน้ํา (self purification) วาเปนขบวนการที่ประกอบไปดวยขบวนการยอย ๆ ที่จะพยายามรักษาคุณภาพน้ําที่ถูกปนเปอนใหกลับเปนน้าํที่มีคุณภาพดีเชนเดิมได โดยขบวนการยอย ๆ ที่ทําใหแหลงน้ําคืนสภาพเดิมไดหมายถงึกลไกตาง ๆ ตามธรรมชาตขิองระบบนิเวศแหลงน้ํานั่นเอง ลักษณะของระบบนิเวศของแหลงน้ํา เปนแบบนิเวศทีม่ีความสลับซบัซอน สามารถจัดแบงองคประกอบของระบบนิเวศของแหลงน้ําออกเปน 3 องคประกอบ คือ องคประกอบทางดานกายภาพ (physical components) องคประกอบทางดานเคมี (chemical components) และองคประกอบทางดานชีวภาพ (biological components)

องคประกอบทางดานภาพภาพ (physical components) ไดแก องคประกอบที่ไมมีชีวิต เชน ลักษณะสัณฐานวทิยาของแหลงน้ํา สี อุณหภูมิ ความขุน การนําไฟฟา ตะกอนแขวนลอย ความลาดเอียง ความเร็วของกระแสน้ํา การหักโคงของลําน้ํา และความลึกของลําน้ํา เปนตน องคประกอบทางดานเคมี (chemical components) ไดแก ความเปนกรดเปนดาง ความกระดาง ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าํ ปริมาณแรธาตตุาง ๆ เชน โซเดียม แคลเซยีม แมกนีเซียม และเหล็ก ปริมาณธาตอุาหาร เชน โพแทสเซียม ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ปริมาณโลหะหนัก เชน ตะกั่ว ทองแดง สังกะสีและสารหนู และสารพิษตาง ๆ เชน สารฆาแมลงกลุมออรกาโนคลอรีน เปนตน

องคประกอบทางดานชีวภาพ (biological components) ไดแก จุลินทรีย สาหราย โปรโตซัว สัตวหนาดิน แพลงคตอนพชื และสัตวน้าํ เปนตน

องคประกอบของระบบนิเวศท้ัง 3 ดาน จะประกอบกนัเปนโครงสราง (structure) ในแหลงน้ํานัน้ ๆ โดยภายในโครงสรางจะประกอบไปดวย ชนิด ปริมาณ สัดสวน และการกระจายของแตละองคประกอบ หากองคประกอบภายในโครงสรางของแหลงน้ํา มีความสมดลุจะทําใหระบบนิเวศของน้ําสามารถรักษาหรือดํารงอยูได หรือระบบ จะมีขบวนการคงสภาพ (self-maintenance) และปรับสภาพ (self-regulation) ของมนัใหดาํรงอยูได (Ocum, 1971)

Manzack(1968) กลาววา ขบวนการฟอกตัวเองของแหลงน้ํา เปนปรากฏการณของขบวนการฟสิกสชีวเคมี (physical biochemical process)ที่สลับซบัซอน และยุงยากมาก โดยในปจจุบนั การศึกษาขบวนการฟอกตัวเองของแหลงน้ําของนักวิชาการแบงออกเปน 2 รูปแบบที่

สอดคลองกับวัตถุประสงคของการทําวิจัย คือ การศกึษาขบวนการฟอกตัวเองของแหลงน้ํา และการศึกษาดัชนีที่บอกถึงความสามารถในการฟอกตัวเองของแหลงน้ํา 1.1 การศึกษาขบวนการฟอกตัวเองของแหลงนํ้า

เปนการศึกษาขบวนการตาง ๆที่เกิดในแหลงน้ํา ตั้งแตแหลงน้ําไดรับการปนเปอน ส่ิงของตาง ๆ จนถึงขบวนการที่เปลี่ยนแปลงไปเนื่องมาจากการปนเปอน โดยมีข้ันตอนการศึกษา ดังนี้ 1.1.1 การศึกษาปริมาณส่ิงปนเปอน (pollution loading) เปนสิ่งจําเปนอยางย่ิง โดยทั่วไปจะนิยมวัดปริมาณส่ิงปนเปอนในรูปของ BOD (Biochemical Oxygen Demand) อาจจะศึกษาในรูปของ BOD ตอวัน หรือ BOD loading 1.1.2 การศึกษาขบวนการตกตะกอนของสิ่งปนเปอน การปนเปอนของปริมาณของสารตาง ๆ สวนหนึ่งจะถูกใชไป โดยการทําลายของจุลินทรีย โดยเฉพาะสิ่งปนเปอนที่เปนสารอินทรีย แตอีกสวนหนึ่งจะเกิดจากการตกตะกอนใตทองน้ําแลว บางสวนของสารปนเปอนจะอยูในรูปของอนุภาพคอลลอยต 1.1.3 การศึกษาขบวนการ oxygen balance เปนขบวนการที่ไวตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแหลงน้ํา ซึ่งตองคํานึงถึงขบวนการยอย ๆ อีกหลายขบวนการและอาจแบงได ดังนี้ 1) ขบวนการใชออกซิเจน (deoxygenation) เปนขบวนการใชออกซิเจนที่อยูในแหลงน้ํา โดยสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ที่ตองใชออกซิเจน ทําใหปริมาณออกซิเจนลดลง ปจจัยที่มีผลตอการลดลงของออกซิเจน ไดแก อุณหภูมิ และคลอไรดอิออน ดังนั้นแหลงน้ําของประเทศเขตรอนจะมีปริมาณออกซิเจนละลายในแหลงน้ําต่ํา และมีผลตอความเนาเสียของน้ําเร็วกวาในเขตอบอุน หากไดรับการปนเปอนจากสารตาง ๆ เชน แมน้ําใน Nigeria มีความผันแปรของออกซิเจนละลายน้ําสูง โดยมีคาออกซิเจนละลายน้ําจาก 0.5 ถึง 7.5 มิลลิกรัมตอลิตร การผันแปรนี้ใชเวลานอยกวา 12 ช่ัวโมง (Olumnande และคณะ, 1983) ใน Puer Rico ความเขมขนของคาออกซิเจนที่ละลายอยูในแหลงน้ําผันแปรตั้งแต 1 ถึง 8 มิลลิกรัมตอลิตร ในเวลา 1 วัน (Lopez และคณะ, 1987) 2) ขบวนการเพิ่มออกซิเจน (reoxygenation) เปนขบวนการที่ไดออกซิเจนละลายน้ําเพ่ิมขึ้น การเพิ่มออกซิเจนในน้ําโดยปกติมาไดจากสองกรณีใหญ ๆ ดังนี้ 2.1) การละลายของออกซิเจนจากอากาศลงสูแหลงน้ําโดยตรง การละลายของออกซิเจนลงสูแหลงน้ําจะมีตัวแปรที่เก่ียวของคือ อุณหภูมิ ความเค็มของน้ํา และความกดดันของบรรยากาศ โดยหากมีอุณหภูมิและความเค็มสูง ความสามารถของออกซิเจนที่จะละลายลงสูแหลงน้ําจะต่ําลง (กรรณิการ, 2525) และบางครั้งข้ึนอยูกับกลไกทางกายภาพดานอื่น ๆ เชน การตีกวนของกระแสน้ํา หากลําน้ํามีการตีกวนมาก เชน อาจเปนลําน้ําที่อยูบนภูเขาและมีความลาดชันสูง ปริมาณการละลายของออกซิเจนในแหลงน้ําจะสูงข้ึน เนื่องจากมีการผสมกันระหวางน้ํากับอากาศไดมากขึ้น

2.2) การเติมออกซิเจนจากการสังเคราะหแสง พืชน้ํามีสวนสําคัญในการเพิ่มความเขมขนของออกซิเจนในแหลงน้ํา รวมทั้งเกิดจากแบคทีเรียประเภทสังเคราะหแสง บทบาทของพืชน้ํา นอกจากจะเปนตัวเพิ่มออกซิเจนในแหลงน้ําแลวยังมีความสําคัญในแงของผูผลิตในหวงโซอาหารอีกดวย

1.2 การศึกษาดัชนีที่บอกถึงความสามารถในการฟอกตัวเองของแหลงนํ้า

Whurman (1972) แบงดัชนีของการตรวจวัดการฟอกตัวของน้ําเปน 4 แบบ คือ 1.2.1 ดัชนีทางฟสิกส (physical parameters) เปนการวัดการเปลี่ยนแปลงปริมาณของกาซที่ละลายในน้ํา หรือการวัดคา suspended solid เชน Oluwande และคณะ (1983) ไดศึกษาแมน้ํา Ogun ประเทศไนจีเรีย พบวาหลังจากจุดที่มีการทิ้งน้ําทิ้งอยางมากแลว น้ําจะมีการฟอกตัวเองโดยสังเกตจากคาออกซิเจนที่เพ่ิมขึ้น 1.2.2 ดัชนีทางเคมี (chemical parameters) ใชวีธีการตรวจสอบสารประกอบทางเคมีชนิดที่ตองการทราบถึงการฟอกตัวเอง เชน Armineloch และคณะ (1981) ไดวัดปริมาณของแอมโมเนีย สารประกอบที่มีไนโตรเจนและฟอสฟอรัสของแมน้ําที่ไหลผาน Jordan Canyon พบวาภายหลังจากมีการปนเปอน สารประกอบทั้ง 3 ชนิด มีการลดปริมาณลงโดยการสลายตัวหรือขบวนการออกซิเดชันเปนรูปแบบอื่น 1.2.3 ดัชนีทางชีวภาพ (biological parameters) ใชส่ิงมีชีวิตชนิดตาง ๆ เปนตัวดัชนี เชน อาจใชสัตวหนาดินหรือแบคทีเรีย เชน Sarzeck (1977) ไดใชการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแบคทีเรียที่เปน heterotroph ทั้งหมด เปนตัวดัชนีบอกความสามารถในการฟอกตัวเอง สิรินี (2527)ใชแบคทีเรียประเภท coliform, Fecal coliform และ streptococcus เปนตัวชี้การฟอกตัวเองของลําหวยแมราก จังหวัดเชียงใหม 1.2.4 ดัชนีทาง thermodynamic เปนการหา parameter ที่สามารถคํานวณคาพลังงานได เชน จากขบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ เปนตน

2. ประเภทของการฟอกตัวของน้ํา Stanley และ Thomas (1952) ไดกลาวถึงประเภทของการฟอกตัวของน้ํามี 2 กรณี คือ การฟอกตัวของน้ําเกิดจากการกระทําของมนุษย (artificial purification of water) และการฟอกตัวเองของน้ําตามธรรมชาติ (natural purification water)

2.1 การฟอกตัวของน้ําเกิดจากการกระทําของมนุษย (artificial purification of water) เปนการฟอกตัวเพื่อทําใหน้ําที่มีความสกปรกใหมีคุณสมบัติเหมาะสมในการนําไปใชประโยชนของมนุษยในดานตาง ๆ เชน การอุปโภค การบริโภค และอุตสาหกรรม เปนตน

2.2 การฟอกตัวเองของน้ําตามธรรมชาติ (natural purification water) เกิดจากกลไกทางธรรมชาติที่จะลดปริมาณของเสียหรือส่ิงปนเปอนใหนอยลงจนเขาสูสภาพปกติของลําน้ําโดยขบวนการดังนี้ 2.2.1 ขบวนการยอยสลายสารอาหารโดยใชออกซิเจน การลดลงของสารอินทรียในแหลงน้ําเกิดจากขบวนการนี้โดยกิจกรรมของจุลินทรีย 2.2.2 แสงอาทิตย มีบทบาทในการลดจํานวนของจุลินทรียที่ปนเปอนเขาสูแหลงน้ํา การศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของแสงอาทิตยตอการทําลายแบคทีเรียไดศึกษากันอยางกวางขวาง แบคทีเรียบางชนิดมีความไวตอการทําลายจากรังสีของแสงอาทิตย และบางชนิดถูกทําลายดวยแสงอาทิตย (McCambridge และ McMeekin, 1981) Fujicka และ Navikava (1982) พบวา แสงอาทิตยในบริเวณเกาะฮาวายมีผลในการลดชนิดของปริมาณแบคทีเรีย โคลิฟอรมและแบคทีเรียชนิดอื่น ๆ ไดอยางมีนัยสําคัญเทียบเทากับการลดลงของแบคทีเรียโดยแสงอาทิตยในเขตรอนทั่ว ๆ ไป 2.2.3 การเจือจาง เมื่อแหลงน้ําที่มีการปนเปอนจากสารอินทรียปริมาณสูง เมื่อแหลงน้ํานี้ไดรับปริมาณน้ําจากแหลงน้ําอ่ืนๆทําใหเกิดความเขมขนของสารอินทรียเจือจางลง เปนผลใหปริมาณของแบคทีเรียตอหนวยปริมาตรของน้ําลดจํานวนลงดวย กลไกของการเจือจางตอการฟอกตัวเองของน้ํานั้นเกิดจากปริมาณความเขมขนของออกซิเจนที่ละลายน้ําจากน้ําดีเพ่ิมความเขมขนของออกซิเจนละลายน้ําของน้ําเสีย จะทําใหการทํางานของจุลินทรียในการยอยสลายสารอินทรียในแหลงน้ํามีประสิทธิภาพขึ้น (Stanley และ Thomas, 1952) 2.2.4 องคประกอบดานชีวภาพ (biological) เชน ส่ิงมีชีวิตชนิดตาง ๆ จะเปนปจจัยที่ควบคุมหรืออาจเปนปจจัยจํากัด (limiting factor) แกประชากรอื่น ๆ เชน 1) Bacteriophage จากการศึกษาของ Beard (1993) พบวา การลดลงของเชื้อโรค Vibrio cholerae ในแมน้ํา Ganges เช้ือ Vibrio cholerae จะลดลงอยางรวดเร็วเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ bacteriophage ชนิดหนึ่ง 2) Predation การลา และการกินสิ่งมีชีวิตอื่น เปนปรากฏการณทางธรรมชาติของระบบนิเวศโดยทั่วไป การควบคุมและการลดลงของประชาการสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง ๆ บางครั้งข้ึนกับผูลาเปนสําคัญ แบคทีเรียในแหลงน้ํามีผูลาคือโปรโตซัวเปนตัวควบคุมประชากร เชน โปรโตซัวชนิด Oicomonas เปนตัวทําลายและลดประชากรของแบคทีเรียไดมาก (Stanley และ Thomas, 1952) Buttefield (1929) รายงานวาโปรโตซัว ชนิด Colpidium มีบทบาทสําคัญในการทําลายแบคทีเรีย

ลักษณะพื้นที่ดําเนินการ

ที่ตั้งและสภาพพื้นที่

ลุมน้ําทาดี หรือลุมน้ําคีรีวง ตั้งอยูในทองที่บานคีรีวง ตําบลกําโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช อยูระหวางเสนรุงที่ 8 องศา 24 ลิบดา ถึง 8 องศา 29 ลิบดาเหนือ และเสนแวงที่ 99 องศา 42 ลิบดา ถึง 99 องศา 48 ลิบดาตะวันออก ลักษณะทั่วไปเปนเทือกเขาสูงความลาดชันมาก เปนที่ราบเชิงเขาเล็กนอย มีพ้ืนที่ลุมน้ํา 72.9 ตารางกิโลเมตร โดยเปนลุมน้ําช้ัน1A ถึง 58.53 ตารางกิโลเมตร (คิดเปน 80.29 เปอรเซ็นต ของพ้ืนที่ลุมน้ํา) รูปรางลุมน้ําเปนแบบส่ีเหล่ียมผืนผา( rectangular-shaped basin ) มีคาฟอรมเเฟคเตอร 0.438 คาสัมประสิทธิ์ความหนาแนน 1.141 ความสูงเฉล่ียจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 664.44 เมตร โดยมีจุดสูงสุด 1,835 เมตร จุดต่ําสุด 60 เมตร ความลาดชันเฉลี่ย 45.048 เปอรเซ็นต หันดานลาดชันไปทาง ทิศตะวันออกเฉียงใต ลักษณะของลําธารเปนแบบเสนใบไม(dendritic pattern) มีอันดับของ ลําหวย (stream order) 4 อันดับ ความหนาแนนของการระบายน้ําเทากับ 1.0007 และความหนาแนนของลําธาร 0.3293 ลําธารตอตารางกิโลเมตร พ้ืนที่ศึกษา เร่ิมตั้งแตพ้ืนที่ตนน้ําบริเวณลุมน้ําทาดี ซึ่งอยูในเขต บานคีรีวง อําเภอลานสกา ประกอบดวยลําธาร 3 สายหลัก คือ คลองปง คลองทาหา และคลองทาชาย ซึ่งไหลรวมกันเปนคลองทาดีออกสูทะเลที่ปากนคร อําเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

สภาพภูมิอากาศ

ลักษณะทั่วไปของอากาศ จดัอยูในประเภทปาฝนเมืองรอน ( tropical wet climate ) ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใต โดยมีเทือกเขาหลวงเปนสันกั้นลม มีฤดูกาล 2 ฤดู คือ ฤดรูอน ในชวงเดือนกุมภาพันธถึงเมษายน ซึ่งฝนจะไมคอยมาก อากาศคอนขางรอน และฤดูฝนในชวงเดือนพฤษภาคมถึงมกราคม จะมีฝนตกชุกตลอด โดยเฉพาะชวงเดือนพฤศจกิายน ถึงมกราคม จะมีฝนตกหนักมาก ลักษณะของฝนแบงได 2 ประเภท คอื ฝนประจําถ่ิน และฝนจากพายุหมุน ซึ่งฝนประจําถ่ินจะตกตามฤดกูาลกระจายทั่วพ้ืนที่ สวนฝนจากพายุหมุนมักเกิดเปนชวงๆ ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของ พายุโซนรอน ไตฝุน หรือดีเปรสชั่น มักเกิดในชวงเดอืนกันยายนถงึเดือนพฤศจกิายน ฝนจะตกรุนแรงมาก บางครั้งก็เกิดลมพายุรุนแรงพรอมกับฝนตกหนักดวย สําหรับสถิติขอมูลอากาศ ในคาบ 12 ป (2535-2546) มีอุณหภูมิเฉล่ียรายป 26.7 °C ความชื้นสัมพัทธรายปเฉล่ีย 91.5 เปอรเซ็นต ปริมาณการระเหยเฉลี่ย 983.6 มิลลิเมตร ความเร็วลมเฉลี่ย 1.8 กิโลเมตร/วัน และมีปริมาณน้ําฝนรายปเฉล่ีย 2,821.5 มิลลิเมตร (ตารางผนวก ที่ 1) สวนขอมูลอากาศในปที่มีการศึกษาวิจัย พ.ศ. 2545-2546 แสดงในตารางผนวกที่ 2-3

ลักษณะทางธรณีวิทยาและปฐพีวิทยา

ในพื้นที่ลุมน้ําพบหินอัคนีเปนสวนใหญในกลุมหินแกรนติใหมซึ่งเกิดในยุคครีเตเซียส อายุประมาณ 11 ลานป ประกอบดวยหินไบไมคาแกรนิต (bi-mica granite) วางตัวเปนแนวยาวขนานไปตามทิศเหนือ-ใตของพื้นที่ลุมน้ํา หินไบโอไทต-มัสโคไวทแกรนิต (biotite-muscovite granite) หินแกรนิตเนื้อดอก (porphyritic granite) นอกจากนี ้ พบพวกหินชั้น หรือหินตะกอนบางเปนสวนนอย ลักษณะดนิเปนดินภูเขา (soil of hills and mountains) เปนกลุมดนิในที่ลาดชัน ซึง่ เกิดจากหินทีม่ีสภาพเปนกรด ไดแก ดิน red-yellow podzolic ซึ่งช้ันของดินคอนขางตื้น และมีหินปนแตกตางกันไปตามสภาพของความลาดชันและชนิดของหินแร นอกจากนี้ก็มีพวกดนิ reddish-brown lateritic และ brown forest soil เปนตน

ลักษณะพืชพรรณและการใชประโยชนที่ดิน แบงไดเปน 2 กลุม คือ กลุมที่เปนปาธรรมชาติดั้งเดิม และบริเวณพื้นที่ใชประโยชนของราษฎรซึ่งเปนสวนผลไมตาง ๆ ปาธรรมชาติ พบอยูตอนบนในพืน้ที่สูง และหางจากหมูบาน ไดแก ปาดบิชื้น ปาดิบเขา ปารุนหรือปาไส ในสวนพื้นที่เชิงเขาเปนพื้นที่ใชประโยชนของราษฎร มีการทําสวนผลไมแบบผสมผสานลักษณะเปนสวนที่ปลูกผลไมหลายชนิด เชน ทุเรียน หมาก และสวนผสม ซึ่งอาจมีไมปาปะปนอยูบางแต ความหนาแนนของตนไมจะนอยกวาในสภาพปาธรรมชาติทั่วไป โดยเฉพาะ ไมขนาดเลก็และลูกไมจะมีนอยเนื่องจากจะมีการปลูกทดแทนเปนครั้งคราวในกรณีที่ตัดไมช้ันบนออกเทานัน้ ดังนั้นพืน้ที่ที่อยูในระยะการผลิตเต็มที่ จึงไมคอยมีไมขนาดเล็ก สภาพปกคลมุของไมพ้ืนลางจะไดรับการดูแลและถางออกเปนประจําทุกป ทําใหพ้ืนลางคอนขางเตียนโลง ไมมีวัชพืชหรือเถาไมเล้ือยหนาตามสภาพของปาดบิชื้นทั่วไปในภาคใต ( อาจิน และคณะ, 2540 )

อุปกรณและวิธีการ 1. การเลือกพื้นที่และจุดเก็บตัวอยาง การเลือกพ้ืนที่ศึกษาการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติ บริเวณลุมน้ําทาดี จะทําการศึกษาจากดัชนีที่บอกถึงความสามารถในการฟอกตัวเองของแหลงน้ํา โดยใชดัชนีทางฟสิกสและทางเคมี ไดแก อุณหภูมิของน้ํา ความขุน การนําไฟฟา ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายในน้ํา ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา ความเปนกรดเปนดาง ความกระดางของน้ํา และปริมาณโลหะหนัก ไดแก ปริมาณตะกั่วในน้ํา ทองแดงในน้ํา และสังกะสีในน้ํา ตั้งแตพ้ืนที่ปาธรรมชาติ กอนผานชุมชน และเลยชุมชนบานคีรีวง ตําบลกําโลน โดยจะทําการศึกษาเปนระยะๆ ตลอดความยาวลําธาร 3 สายหลักอันไดแก คลองทาชาย คลองปง และคลองทาหา ซึ่งเปนลุมน้ํายอยของลุมน้ําทาดีในทองที่อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยเลือกจุดเก็บตัวอยางน้ําใหกระจายตั้งแตตนน้ําผานพื้นที่ใชประโยชนและชุมชน จนถึงจุดออกปลายน้ํานอกพื้นที่ลุมน้ํา ( outlet ) ในการศึกษาครั้งนี้ไดทําการคัดเลือก และกําหนดจุดเก็บตัวอยางน้ําจํานวนทั้งส้ิน 7 จุด ประกอบดวย:- (1) ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา) (2) ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา) (3) ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) (4) ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) (5) ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) (6) ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง) (7) ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) (ภาพที่ 1) ซึ่งแตละจุดมีรายละเอียดสภาพการใชประโยชนพ้ืนที่ ดังนี้:-

จุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ 1 เปนบริเวณพืน้ที่ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา) ซึ่งเปนพื้นที่ปาธรรมชาติ ตั้งอยูหมูที่ 10 ตําบลกําโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ลักษณะเปนลาํธารกวางใหญ พ้ืนที่คอนขางราบ มีโขดหนิจํานวนมาก น้าํตื้น ทองน้ําลึกประมาณ 50 เซนติเมตร แตมีน้าํไหลตลอดป เปนพื้นที่ตนน้ําของคลองทาด ี ยังไมมีการใชประโยชนในพื้นที่ตนน้ํา โดยบริเวณสองฝงคลองมีการใชประโยชนที่ดินในลักษณะสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม)

จุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ 2 เปนบริเวณพื้นที่ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา) ซึ่งเปนพื้นที่ปาธรรมชาติที่ไหลมาบรรจบกับคลองทาหา ตั้งอยูหมูที่ 9 ตําบลกําโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ลักษณะเปนลําธารขนาดเล็ก น้ําคอนขางตื้น โดยบริเวณสองฝงคลองมีการใชประโยชนที่ดินในลักษณะสวนสมรม

จุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ 3 เปนบริเวณตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) เปนจุดที่ตั้งของรีสอรทหลายแหง เชน ธารคีรีรีสอรท คีรีวงรีสอรท ทาหารีสอรท และขนํายาว รีสอรท เปนตน ผสมผสานกับการทําสวนสมรมทั้งสองขางทาง เปนจุดเก็บตัวอยางน้ําระหวางคลองทาหามาบรรจบกับคลองลํางา กอนที่จะไหลมารวมกันกับคลองทาชาย ซึ่งตั้งอยูหมูที่ 9

ตําบลกําโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยลักษณะของลําธารมีขนาดกวาง ประกอบดวยโขดหินขนาดใหญจํานวนมาก มีนักทองเที่ยวและชุมชนใชน้ําในการอุปโภค

จุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ 4 เปนบริเวณพื้นทีต่นน้าํคลองทาดี (คลองทาชาย) ตั้งอยูหมูที่ 8 ตาํบลกาํโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรธีรรมราช ลักษณะลําธารเปนแองขนาดใหญ มีความลึกประมาณ 1 เมตร น้ําไหลตลอดป เปนแหลงน้ําประปาภเูขาของหมูบาน หมูที่ 8 และ หมูที่ 5 นําน้าํบริเวณนีไ้ปใชประโยชนในการอุปโภค บริเวณโดยรอบราษฎรใชประโยชนดานการเกษตรในลักษณะสวนสมรม

จุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ 5 เปนบริเวณตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ ซึ่งเปนตอนกลางหมูบานคีรีวง) จัดเปนพืน้ที่ชุมชนผสมสวนสมรม ตั้งอยูหมูที่ 9 ตาํบลกําโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรธีรรมราช ลักษณะเปนลาํธารขนาดใหญ คอนขางเปนพื้นที่ราบ มีโขดหินจํานวนมาก ราษฎรนาํน้ําจากคลองทาดีมาใชประโยชนในการอุปโภค เชนเดียวกับจุดเกบ็ตัวอยางน้าํที่ 3

จุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ 6 เปนบริเวณพื้นที่ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง) ตั้งอยูหมูที่ 10 ตําบลกําโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ลักษณะเปนแองขนาดกลาง น้ําคอนขางตื้น ลึกประมาณ 40 ซม. มีน้ําไหลตลอดป เหนือจุดเก็บตัวอยางน้ําเปนที่ตั้งของน้ําตกวังไมปก ตอนลางจุดเก็บตัวอยางน้ํา เปนที่ตั้งของฝายวังไมปกของกรมชลประทาน ซึ่งเปนแหลงน้ําที่ราษฎรหมูที่ 4 , 5 , 9 และ 10 (หมูบานคีรีวง) นําไปใชประโยชนในการอุปโภค โดยบริเวณสองฝงคลอง ราษฎรใชประโยชนพ้ืนที่ในลักษณะสวนสมรม จุดเก็บตัวอยางนํ้าที่ 7 เปนบริเวณตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) ตั้งอยูหมูที่ 7 ตําบลกําโลน อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรธีรรมราช ลักษณะเปนลําธารกวางใหญ น้ําไหลคอนขางแรง บริเวณใตสะพานวังไทรเปนที่ตั้งจดุวัดระดับน้ําของกรมชลประทาน และอยูใกลกับวัดวังไทร สําหรับแหลงน้ําบริเวณนี้เปนเขตอภัยทานของวดั จึงทําใหพบปลาชุกชุม โดยเฉพาะปลาแงะ (ปลาพลวงทอง) (Neolissochilus soroides) พบเปนจํานวนมาก ซึ่งหมายถึงน้ําบริเวณดังกลาวเปนน้ําที่สะอาดเพราะปลาแงะเปนปลาทีม่ีนิสัยชอบอาศัยอยูในแหลงน้ําที่ไหล และใสสะอาด นอกจากนี้ยังพบฝูงปลานิล และปลาโสดเชนกัน พ้ืนทองน้าํเปนดินทราย สองฝงคลองมีหญาออและวัชพืชขึ้นอยูเปนจํานวนมากโดยมีบานเรอืนข้ึนอยูประปราย นอกจากนี้ชุมชนบริเวณนี้ยังใชน้ําในการอุปโภค และบางครั้งราษฎรไดนําโคมาอาบน้ําในแหลงน้ํานีด้วย

2. การเก็บตัวอยางน้ํา

การเก็บตัวอยางน้ําจะทําการเก็บตัวอยางน้าํเดือนละครั้ง เปนระยะเวลา 2 ป เร่ิมตั้งแตเดือน มกราคม 2545 – ธันวาคม 2546 โดยเลือกจุดเก็บตัวอยางน้ํา ที่เปนตัวแทนของแตละจุด ทําการเก็บที่จุดกึ่งกลางความกวางของลําธาร ที่ระดบัความลึกจากผิวน้าํประมาณ 30 เซนติเมตร แลวใสในขวดพลาสติก (Polyethylene) เพราะขนสงสะดวก ไมทําปฏิกิริยากับสารอื่นในน้าํ แตขอสําคัญตองลางใหสะอาดกอนใช คือ ลางดวยกรดโครมิค น้ําก็อก และน้าํกล่ัน ตามลาํดบั และกอนทําการเก็บใหลางดวยน้ําตัวอยางที่จะเก็บกอนสัก 2 - 3 ครั้ง โดยใชขนาด 500 ลูกบาศกเซนติเมตร จํานวน 1 ใบ และขวดขนาด 250 ลูกบาศกเซนติเมตร (เพ่ือตรวจวัดปริมาณออกซเิจนที่ละลายในน้ํา) โดยไลฟองอากาศในขวดใหหมด แลวบรรจุน้ําใหเต็มขวดโดยการคว่ําปากขวดลงบนผิวน้าํ แลวจึงหงายปากขวดใตผวิน้ํา หลังจากนั้น จึงปดจุกเกลียวฝาขวดใตผิวน้ําใหแนน แลวหอดวยกระดาษอลูมิเนยีมฟอยล แลวนําไปแชในถงัแชน้ําตัวอยาง และควบคุมอุณหภูมิประมาณ 4 องศาเซลเซียส ( พรรณวดีและคณะ, 2542) เพ่ือสงวิเคราะหในหองปฏิบัติการตอไป สําหรับการเกบ็ตัวอยางน้ํา เพ่ือวิเคราะหหาปริมาณโลหะหนักใหใชขวดโพลีเอทธิลีน ขนาด 1,000 ลบ.ซม. ลางใหสะอาดกอนใชดวยน้าํกล่ัน แลวเตมิกรดไนตริกเขมขนลงไป 5 มิลลิลิตรตอน้าํตัวอยาง 1,000 ลบ.ซม. เพ่ือปรับสภาพความเปนกรดของน้ําใหอยูในชวง pH 1.5 - 2.0 เพ่ือปองกันการตกตะกอน และลดการดูดซบัของโลหะหนักบนผิวของภาชนะที่ใชบรรจุ (พรรณวดีและคณะ, 2542)

3. การตรวจวัดในภาคสนาม

ในแตละจดุเกบ็ตัวอยางน้ําทาํการวัดอุณหภูมิของอากาศและน้ํา โดยใชเทอรโมมิเตอร พรอมทั้งตรวจวัดการนําไฟฟาของน้ํา โดยใชเครื่อง Solomat (Water quality Monitoring System) รุน 520 C ที่มีหัว probe สําหรับอานคาการนําไฟฟาในน้ํา ที่เปนระบบตัวเลขระบบดิจิตอล

4. การวิเคราะหในหองปฏิบัติการ

นําตัวอยางน้ําที่เก็บไดจากภาคสนามสงวิเคราะหทางหองปฏิบัติการวิเคราะหดินและน้ําของกลุมวิจัยตนน้ํา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืช และ กลุมนิเวศวิทยาของดิน กรมพัฒนาที่ดิน เพ่ือหาคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี ประกอบดวย ความขุนของน้ํา ปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ความเปนกรดเปนดางของน้ํา ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา ความกระดางของน้ํา และปริมาณโลหะหนัก ซึ่งไดแก ตะกั่ว ทองแดง และสังกะสี โดยการวิเคราะหดัชนีคุณภาพน้ํา

ทางเคมีตามวิธีการของ ไมตรีและจารุวรรณ (2528) และ Standard Method of the Examination of Water and Wastewater (APHA, 1975) ดังตารางผนวกที่ 4

5. การวิเคราะหขอมูล

นําผลที่ ไดจากการตรวจวัดภาคสนาม และการวิ เคราะหในหองปฏิบัติการ มาเปรียบเทียบคาดัชนีคุณภาพน้ําของบริเวณจุดเก็บตัวอยางน้ําตางๆ กับคามาตรฐานคุณภาพน้ําในแหลงน้ําธรรมชาติของประเทศไทย (ตารางผนวกที่ 5)

สัญลักษณ (Legend)

ขอบเขตลุมน้ําทาดี จุดเก็บตัวอยางน้ํา

1. ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา) 2. ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา) 3. ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) 4. ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) 5. ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) 6. ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง) 7. ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร)

ภาพที่ 1 ขอบเขตลุมน้ําทาดีและจุดเก็บตัวอยางน้ํา

ผลและวิจารณผล

การศึกษาการฟอกตัวของน้าํบริเวณลุมน้ําทาดี อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช จากลุมน้ํายอย 3 สายหลัก ไดแก คลองทาหา คลองปง และคลองทาชาย ตั้งแตพืน้ที่แหลงตนน้าํลําธารบริเวณตนน้ําผานพื้นที่ใชประโยชนและชุมชน จาํนวน 7 แหง คือ ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา) ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา) ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง) ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) ซ่ึงดําเนินการเก็บขอมลูเปนเวลา 2 ป ระหวางป 2545 - 2546 วิเคราะหการใชประโยชนที่ดนิในพืน้ที่ ตามจุดเก็บตวัอยางน้ํา ผลการศึกษาตาม ตารางที่ 1 ศึกษาคุณภาพทางกายภาพและทางเคมีของจุดเก็บตัวอยางน้ําแตละแหงเปรยีบเทียบกัน โดยเฉลี่ยจากผลการศึกษาในชวง 2 ป ไดผลการศึกษาตาม ตารางที่ 2 และ ภาคผนวกที่ 6-15 หลังจากนัน้นาํผลการวิเคราะหที่ไดมาประเมนิการฟอกตวัเองของน้ําตามธรรมชาติ ผลการศึกษา มรีายละเอียด สรุปได ดังนี ้

จุดเก็บตัวอยางน้ําท่ี 1 ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา)

ลักษณะเปนลําธารกวางใหญ พื้นที่คอนขางราบ มีโขดหินจํานวนมาก ระดับน้าํตื้น ทองน้ําลึกประมาณ 50 เซนติเมตร แตมีน้ําไหลตลอดทั้งป เปนพื้นที่ตนน้ําของคลองทาดี ยังไมมีการใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ตนน้ํา แตบริเวณสองฝงคลองมีการใชประโยชนที่ดินในลักษณะสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม)บางเล็กนอย

การใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ สามารถจําแนกเปนพืน้ที่ปาธรรมชาติ ประมาณ 98 % ที่เหลือเปนสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม(สวนสมรม)ทีป่ลอยไวตามธรรมชาติ แทบจะไมมกีารใชประโยชนที่ดนิในพืน้ที่ดังกลาว ประมาณ 2 % สําหรับคุณภาพของน้ําเฉลี่ยระหวางป 2545-2546 มีดังนี้

1. คุณภาพทางกายภาพ อุณหภูมิของน้ํา มีอุณหภูมเิฉลี่ยเทากับ 25.2 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ํา

เทากับ 24.3 ไมโครซีเมนตอเซนติเมตร ความขุนของน้ํา เทากับ 1.0 เอ็นทีย ู และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา เทากบั 70.4 มิลลิกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคณุภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดอุณหภมูิของน้ํา ไวในชวง 20-35 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ําในชวง 150 - 300 ไมโครซีเมนตอเซนติเมตร ปริมาณความขุนของน้ําในชวง 20-75 เอ็นทียู และคาปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ในชวง 100 - 500 ppm พบวาคาของอุณหภูมิของน้ําอยูในเกณฑ

มาตรฐาน สําหรับคาการนาํไฟฟา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคณุภาพน้ําบริเวณนี้มีคณุภาพดี

2. คุณภาพทางเคมี ปริมาณความเปนกรด/ดาง มีคาเทากับ 6.7 ปริมาณความกระดาง เทากับ 3.2 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา เทากับ 8.2 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาความเปนกรดเปนดางของน้ํา ไวในชวง 5.0 - 9.0 ความกระดางของน้ํา ในชวง 100 - 200 ppm และคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ในชวง 4.0 - 6.0 ppm พบวา คาของปริมาณความเปนกรด/ดาง อยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาของความกระดางของน้ําอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ในขณะที่คาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําอยูสูงกวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

3. โลหะหนัก ปริมาณตะกั่ว มีคาเทากับ 8.2 ไมโครกรัมตอลิตร ปริมาณทองแดง เทากับ 4.0 ไมโครกรัมตอลิตร และปริมาณสังกะสีในน้ํา เทากับ 9.6 ไมโครกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และ ปริมาณสังกะสีในน้ํา ใหมีในปริมาณไมเกนิกวา 50, 100 และ 1,000 ppb พบวาโลหะหนกัทัง้หมดที่พบมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี

จุดเก็บตัวอยางน้ําท่ี 2 ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา)

ลักษณะเปนลําธารขนาดเล็ก น้ําคอนขางตื้น โดยบริเวณสองฝงคลองมีการใชประโยชนที่ดินในลักษณะสวนสมรม ซ่ึงสายน้ําเสนนี้จะไหลมาบรรจบกับคลองทาหา พื้นที่สวนใหญเปนปาธรรมชาติเชนเดียวกับจุดเก็บน้ําที่ 1

การใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ สามารถจําแนกเปนปาธรรมชาติประมาณ 94 % ที่เหลือเปนสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม) ที่ปลอยไวตามธรรมชาติ แทบจะไมมกีารใชประโยชนที่ดินในพื้นทีด่ังกลาว ประมาณ 6 % สําหรับคุณภาพของน้ําเฉลี่ยระหวางป 2545-2546 มีดังนี้

1. คุณภาพทางกายภาพ อุณหภูมิของน้าํ มีอุณหภูมเิฉลี่ยเทากับ 24.8 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของ

น้ํา เทากับ 32.6 ไมโครโมหตอเซนติเมตร ความขุนของน้ํา เทากับ 1.6 เอ็นทียู และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา เทากับ 63.9 มิลลิกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคณุภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดอณุหภูมิของน้ํา ไวในชวง 20-35 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ําในชวง 150 - 300 ไมโครซีเมนตอเซนตเิมตร ปริมาณความขุนของน้ําในชวง 20-75 เอ็นทยี ู และคาปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ในชวง 100 - 500 ppm พบวาคาของอุณหภูมิของน้ําอยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาการนําไฟฟา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

2. คุณภาพทางเคมี ปริมาณความเปนกรด/ดาง มีคาเทากับ 6.7 ปริมาณความกระดาง เทากับ 3.3 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา เทากับ 8.2 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดคาความเปนกรดเปนดางของน้ํา ไวในชวง 5.0 - 9.0 ความกระดางของน้ํา ในชวง 100 - 200 ppm และคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ในชวง 4.0 - 6.0 ppm พบวา คาของปริมาณความเปนกรด/ดาง อยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาของความกระดางของน้ําอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ในขณะที่คาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําอยูสูงกวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

3. โลหะหนัก ปริมาณตะกัว่ มีคาเทากบั 11.3 ไมโครกรัมตอลิตร ปริมาณทองแดง เทากับ 4.7 ไมโครกรัมตอลิตร และปริมาณสังกะสีในน้ํา เทากบั 9.7 ไมโครกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทยีบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และ ปริมาณสังกะสีในน้ํา ใหมีในปริมาณไมเกนิกวา 50, 100 และ 1,000 ppb พบวาโลหะหนกัทัง้หมดที่พบมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี

จุดเก็บตัวอยางน้ําท่ี 3 ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน)

ลักษณะของลําธารมีขนาดกวาง ประกอบดวยโขดหินขนาดใหญจํานวนมาก เปนพื้นที่รับน้ําของจุดเก็บน้ําที่ 1 (คลองทาหา) และ จุดเก็บน้ําที่ 2 (คลองลํางา)

การใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ สามารถจําแนกเปนปาธรรมชาติ ประมาณ 95 %ที่เหลือเปนสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม) ประมาณ 5 % บริเวณนี้มีการใชประโยชนของชุมชน คือเปนจุดที่ตั้งของรีสอรท หลายแหง เชน ธารคีรีรีสอรท คีรีวงรีสอรท ทาหารีสอรท และขนํายาวรีสอรท เปนตน ผสมผสานกับการทําสวนสมรมทั้งสองขางทาง มีนักทองเที่ยวและชุมชนใชน้ําในการอุปโภค คุณภาพของน้ําเฉลี่ยระหวางป 2545-2546 มีดังนี้

1. คุณภาพทางกายภาพ อุณหภูมิของน้าํ มีอุณหภูมิเฉลี่ยเทากับ 24.8 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของ

น้ํา เทากับ 22.4 ไมโครโมหตอเซนติเมตร ความขุนของน้ํา เทากับ 0.9 เอ็นทียู และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา 60.5 มิลลิกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคณุภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดอณุหภูมิของน้ํา ไวในชวง 20-35 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ําในชวง 150 - 300 ไมโครซีเมนตอเซนตเิมตร ปริมาณความขุนของน้ําในชวง 20-75 เอ็นทยี ู และคาปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ในชวง 100 - 500 ppm พบวาคาของอุณหภูมิของน้ําอยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาการนําไฟฟา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

2. คุณภาพทางเคม ี ปริมาณความเปนกรด/ดาง มีคาเทากับ 6.8 ปริมาณความกระดาง เทากับ 3.0 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา เทากับ 8.1 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดคาความเปนกรดเปนดางของน้ํา ไวในชวง 5.0 - 9.0 ความกระดางของน้ํา ในชวง 100 - 200 ppm และคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ในชวง 4.0 - 6.0 ppm พบวา คาของปริมาณความเปนกรด/ดาง อยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาของความกระดางของน้ําอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ในขณะที่คาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําอยูสูงกวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี 3. โลหะหนัก ปริมาณตะกั่ว มีคาเทากับ 9.2 ไมโครกรัมตอลิตร ปริมาณทองแดง เทากับ 6.1 ไมโครกรัมตอลิตร และปริมาณสังกะสีในน้ํา เทากับ 11.1 ไมโครกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และ ปริมาณสังกะสีในน้ํา ใหมีในปริมาณไมเกนิกวา 50, 100 และ 1,000 ppb พบวาโลหะหนกัทัง้หมดที่พบมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี

การฟอกตัวของน้ํา จุดนี้เปนพื้นที่รับน้ําของจุดเก็บน้ําที่ 1 (คลองทาหา) และ จุดเก็บน้ําที่ 2 (คลองลํางา) ซ่ึงคุณภาพน้ําของทั้ง 2 จุด โดยภาพรวมมีคุณภาพดี ทั้งทางกายภาพและทางเคมี ดังนั้นเมื่อน้ําทั้ง 2 สายไหลมารวมกันถึงแมจะผานการใชประโยชนจากชุมชนบาง คือพื้นที่ดังกลาวเปนที่ตั้งของรีสอรทหลายแหง แตไมมีผลเสียมากนัก อีกทั้งลําธารคอนขางกวางและ

มีน้ําไหลตลอดอยางตอเนื่อง คุณภาพน้ําจากการตรวจวัดของจุดเก็บน้ําที่ 3 (บานมะปรางหวาน) โดยภาพรวมจึงถือวามีคุณภาพดี

จุดเก็บตัวอยางน้ําท่ี 4 ตนน้าํคลองทาดี (คลองทาชาย)

ลักษณะลําธารเปนแองขนาดใหญ มีความลึกประมาณ 1 เมตร น้ําไหลตลอดป เปนแหลงน้ําประปาภูเขาของหมูบาน เพือ่ใชประโยชนในการอุปโภค บริเวณโดยรอบราษฎรใชประโยชนดานการเกษตรในลักษณะสวนสมรม

การใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ สามารถจําแนกเปนพืน้ที่ปาธรรมชาติ ประมาณ 90 % ที่เหลือเปนสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม) ที่ปลอยไวตามธรรมชาติ ประมาณ 10% คุณภาพของน้าํเฉลี่ยระหวางป 2545-2546 มีดังนี้

1. คุณภาพทางกายภาพ อุณหภูมิของน้าํ มีอุณหภูมเิฉลี่ยเทากับ 25.9 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของ

น้ํา เทากับ 29.0 ไมโครโมหตอเซนติเมตร ความขุนของน้ํา เทากับ 1.1 เอ็นทียู และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา เทากบั 60.7 มิลลิกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดอณุหภูมิของน้ํา ไวในชวง 20-35 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ําในชวง 150 - 300 ไมโครซีเมนตอเซนตเิมตร ปริมาณความขุนของน้ําในชวง 20-75 เอ็นทยีู และคาปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ในชวง 100 - 500 ppm พบวาคาของอุณหภูมิของน้ําอยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาการนําไฟฟา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

2. คุณภาพทางเคมี ปริมาณความเปนกรด/ดาง มีคาเทากับ 7.0 ปริมาณความกระดาง เทากับ 3.4 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา เทากับ 8.4 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคณุภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดคาความเปนกรดเปนดางของน้ํา ไวในชวง 5.0 - 9.0 ความกระดางของน้ํา ในชวง 100 - 200 ppm และคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ในชวง 4.0 - 6.0 ppm พบวา คาของปริมาณความเปนกรด/ดาง อยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาของความกระดางของน้ําอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ในขณะที่คาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําอยูสูงกวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

3. โลหะหนัก ปริมาณตะกั่ว มีคาเทากับ 13.6 ไมโครกรัมตอลิตร ปริมาณทองแดง เทากับ 4.2 ไมโครกรัมตอลิตร และปริมาณสังกะสีในน้ํา เทากับ10.1 ไมโครกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และ ปริมาณสังกะสีในน้ํา ใหมีในปริมาณไมเกนิกวา 50, 100 และ 1,000 ppb พบวาโลหะหนกัทัง้หมดที่พบมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี

จุดเก็บตัวอยางน้ําท่ี 5 ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ)

ลักษณะเปนลําธารขนาดใหญ คอนขางเปนพื้นที่ราบ มีโขดหินจํานวนมาก ราษฎรนําน้ําจากคลองทาดีมาใชประโยชนในการอปุโภค เชนเดียวกับจดุเก็บตวัอยางน้ําที่ 3 เปนพื้นที่รับน้าํของจุดเก็บน้ําที่ 1-4

การใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ สามารถจําแนกเปน พืน้ที่ปาธรรมชาติ ประมาณ 89.6 % เปนสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม) ประมาณ 10.2 % และบางสวนเปนที่ตั้งชุมชน ประมาณ 0.2 % พื้นที่นี้จัดเปนพื้นที่ชุมชนผสมสวนสมรม คุณภาพของน้าํเฉลี่ยระหวางป 2545-2546 มีดังนี้

1. คุณภาพทางกายภาพ อุณหภูมิของน้าํ มีอุณหภูมิเฉลี่ยเทากับ 25.6 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของ

น้ํา เทากับ 24.6 ไมโครโมหตอเซนติเมตร ความขุนของน้ํา เทากับ 0.8 เอ็นทียู และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา เทากับ 57.2 มิลลิกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทยีบกับ เกณฑมาตรฐานคณุภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดอณุหภูมิของน้ํา ไวในชวง 20-35 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ําในชวง 150 - 300 ไมโครซีเมนตอเซนตเิมตร ปริมาณความขุนของน้ําในชวง 20-75 เอ็นทยี ู และคาปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ในชวง 100 - 500 ppm พบวาคาของอุณหภูมิของน้ําอยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาการนําไฟฟา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

2. คุณภาพทางเคมี ปริมาณความเปนกรด/ดาง มีคาเทากับ 7.1 ปริมาณความกระดาง เทากบั 3.2 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา เทากับ 8.6 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดคาความเปนกรดเปนดางของน้ํา ไวในชวง 5.0 - 9.0 ความกระดางของน้ํา

ในชวง 100 - 200 ppm และคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ในชวง 4.0 - 6.0 ppm พบวา คาของปริมาณความเปนกรด/ดาง อยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาของความกระดางของน้ําอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ในขณะที่คาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําอยูสูงกวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

3. โลหะหนัก ปริมาณตะกั่ว มีคาเทากับ 10.8 ไมโครกรัมตอลิตร ปริมาณทองแดง เทากบั4.8 ไมโครกรัมตอลิตร และปริมาณสังกะสีในน้ํา เทากับ9.5 ไมโครกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และ ปริมาณสังกะสีในน้ํา ใหมีในปริมาณไมเกนิกวา 50, 100 และ 1,000 ppb พบวาโลหะหนกัทัง้หมดที่พบมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี

การฟอกตัวของน้ํา จุดนี้เปนพื้นที่รับน้ําของจุดเก็บน้ําที่ 1 (คลองทาหา) จุดเก็บน้ําที่ 2 (คลองลํางา) จุดเก็บน้ําที่ 3 (บานมะปรางหวาน) และจุดเก็บน้ําที่ 4 (คลองทาชาย)ไหลมารวมกัน ซ่ึงคุณภาพน้ําของทั้ง 4 จุด โดยภาพรวมมีคุณภาพดี ทั้งทางกายภาพและทางเคมี ดังนั้นเมื่อน้ําเหลานี้ไหลมารวมกันถึงแมจะผานการใชประโยชนจากชุมชนบาง ในจุดที่ 3 (บานมะปรางหวาน) คือพื้นที่ดังกลาวเปนที่ตั้งของรีสอรทหลายแหง และจุดเก็บน้ําที่ 5 (บานเชิงแตระ) เปนที่ตั้งของชุมชน มีการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบางก็ไมมากนัก เนื่องจากบานเรือนอยูหางกัน จึงไมมีผลเสียตอคุณภาพน้ํา อีกทั้งลําธารคอนขางกวางและมีน้ําไหลตลอดอยางตอเนื่อง ประกอบกับน้ําจากจุดเก็บน้ําที่ 4 (คลองทาชาย) ซ่ึงมีคุณภาพดี ไหลมารวมกัน คุณภาพน้ําจากการตรวจวัดโดยภาพรวมจึงถือวามีคุณภาพดี

จุดเก็บตัวอยางน้ําท่ี 6 ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง)

ลักษณะเปนแองน้ําขนาดกลาง น้ําคอนขางตื้น ลึกประมาณ 40 ซม. มีน้ําไหลตลอดป เหนือจุดเก็บตัวอยางน้ําเปนที่ตั้งของน้ําตกวังไมปก ตอนลางจุดเก็บตัวอยางน้ํา เปนที่ตั้งของฝายวังไมปกของกรมชลประทาน ซ่ึงเปนแหลงน้ําที่ราษฎร นําไปใชประโยชนในการอุปโภค โดยบริเวณสองฝงคลอง ราษฎรใชประโยชนพื้นที่ในลักษณะสวนสมรม

การใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ สามารถจําแนกเปนปาธรรมชาติ ประมาณ 74 % ที่เหลือเปนสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม) ประมาณ 26 % คุณภาพของน้ําเฉลี่ยระหวางป 2545-2546 มีดังนี ้

1. คุณภาพทางกายภาพ อุณหภูมิของน้าํ มีอุณหภูมิเฉลี่ยเทากับ 24.8 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ํา

เทากับ 28.8 ไมโครโมหตอเซนติเมตร ความขุนของน้ํา เทากับ 1.1 เอ็นทีย ู และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา เทากบั 65.6 มิลลิกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทยีบกับ เกณฑมาตรฐานคณุภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดอณุหภูมิของน้ํา ไวในชวง 20-35 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ําในชวง 150 - 300 ไมโครซีเมนตอเซนตเิมตร ปริมาณความขุนของน้ําในชวง 20-75 เอ็นทยี ู และคาปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ในชวง 100 - 500 ppm พบวาคาของอุณหภูมิของน้ําอยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาการนําไฟฟา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

2. คุณภาพทางเคม ี ปริมาณความเปนกรด/ดาง มีคาเทากับ 7.1 ปริมาณความกระดาง เทากับ 3.4 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา เทากับ 8.1 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดคาความเปนกรดเปนดางของน้ํา ไวในชวง 5.0 - 9.0 ความกระดางของน้ํา ในชวง 100 - 200 ppm และคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ในชวง 4.0 - 6.0 ppm พบวา คาของปริมาณความเปนกรด/ดาง อยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาของความกระดางของน้ําอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ในขณะที่คาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําอยูสูงกวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

3. โลหะหนัก ปริมาณตะกั่ว มีคาเทากับ 8.7 ไมโครกรัมตอลิตร ปริมาณทองแดง เทากับ 5.1 ไมโครกรัมตอลิตร และปริมาณสังกะสีในน้ํา เทากับ 9.2 ไมโครกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทยีบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และ ปริมาณสังกะสีในน้ํา ใหมีในปริมาณไมเกนิกวา 50, 100 และ 1,000 ppb พบวาโลหะหนกัทัง้หมดที่พบมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี

จุดเก็บตัวอยางน้ําท่ี 7 ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร)

ลักษณะเปนลําธารกวางใหญ น้ําไหลคอนขางแรง บริเวณใตสะพานวังไทรเปนที่ตัง้จุดวดัระดับน้ําของกรมชลประทาน และอยูใกลกับวดัวังไทร สําหรับแหลงน้ําบริเวณนี้เปนเขตอภัยทานของวดั จึงทําใหพบปลาชุกชุม โดยเฉพาะปลาแงะ (ปลาพลวงทอง) (Neolissochilus soroides) พบเปนจํานวนมาก ซ่ึงหมายถึงน้ําบริเวณดังกลาวเปนน้ําที่สะอาด เพราะปลาแงะเปนปลา

ที่มีนิสัยชอบอาศัยอยูในแหลงน้ําที่ไหลและใสสะอาด นอกจากนี้ยังพบฝูงปลานิล และปลาโสดเชนกัน พื้นทองน้ําเปนดนิทราย สองฝงคลองมีหญาออและวัชพืชขึ้นอยูเปนจํานวนมาก โดยมีบานเรือนขึ้นอยูประปราย นอกจากนี้ชุมชนบริเวณนี้ยังใชน้ําในการอุปโภค และบางครั้งราษฎรไดนําโคมาอาบน้ําในแหลงน้ํานีด้วย และเปนพื้นที่รับน้ําของจุดเก็บน้ําที่ 1 -6

การใชประโยชนที่ดินในพืน้ที่ สามารถจําแนกเปนปาธรรมชาติ ประมาณ 82 % เปนสวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม (สวนสมรม) ประมาณ 18 % บางสวนเปนที่ตั้งชุมชน ประมาณ 3 % และสวนยางพารา ประมาณ 1 % คุณภาพของน้ําเฉลี่ยระหวางป 2545-2546 มีดังนี้

1. คุณภาพทางกายภาพ อุณหภูมิของน้าํ มีอุณหภูมิเฉลี่ยเทากับ 27.1 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ํา

เทากับ 29.5 ไมโครโมหตอเซนติเมตรความขุนของน้ํา เทากับ 1.6 เอ็นทียู และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา เทากับ 54.6 มิลลิกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคณุภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดอณุหภูมิของน้ํา ไวในชวง 20-35 องศาเซลเซียส การนําไฟฟาของน้ําในชวง 150 - 300 ไมโครซีเมนตอเซนตเิมตร ปริมาณความขุนของน้ําในชวง 20-75 เอ็นทยี ู และคาปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา ในชวง 100 - 500 ppm พบวาคาของอุณหภูมิของน้ําอยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาการนําไฟฟา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา จะมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐานดังกลาว ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนี้มีคุณภาพดี

2. คุณภาพทางเคม ี ปริมาณความเปนกรด/ดาง มีคาเทากับ 7.1 ปริมาณความกระดาง เทากับ 4.6 มิลลิกรัมตอลิตร และปริมาณออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา เทากับ 8.6 มิลลิกรัมตอลิตร เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย ที่กําหนดคาความเปนกรดเปนดางของน้ํา ไวในชวง 5.0 - 9.0 ความกระดางของน้ํา ในชวง 100 - 200 ppm และคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ในชวง 4.0 - 6.0 ppm พบวา คาของปริมาณความเปนกรด/ดาง อยูในเกณฑมาตรฐาน สําหรับคาของความกระดางของน้ําอยูต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ในขณะที่คาปริมาณออกซิเจนทีล่ะลายน้ําอยูสูงกวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี 3. โลหะหนัก ปริมาณตะกั่ว มีคาเทากับ 10.3 ไมโครกรัมตอลิตร ปริมาณทองแดง เทากับ 7.2 ไมโครกรัมตอลิตร และปริมาณสังกะสีในน้ํา เทากับ 12.4 ไมโครกรัมตอลิตร

เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทยทีก่ําหนดคาปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และ ปริมาณสังกะสีในน้ํา ใหมีใน

ปริมาณไมเกนิกวา 50, 100 และ 1,000 ppb พบวาโลหะหนกัทัง้หมดที่พบมีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซ่ึงแสดงวา โดยภาพรวมคุณภาพน้ําบริเวณนีม้ีคุณภาพดี

การฟอกตัวของน้ํา จุดนี้เปนพื้นที่รับน้ําของจุดเก็บน้ําที่ 1 (คลองทาหา) จุดเก็บน้ําที่ 2 (คลองลํางา) จุดเก็บน้ําที่ 3 (บานมะปรางหวาน) จุดเก็บน้ําที่ 4 (คลองทาชาย) จุดเก็บน้ําที่ 5 (บานเชิงแตระ) และจุดเก็บน้ําที่ 6 (คลองปง) ไหลมารวมกันเปนลําน้ําคลองทาดี ของลุมน้ําทาดี แลวไหลผานจุดออกปลายน้ํานอกพื้นที่ลุมน้ํา(outlet) โดยมีจุดตรวจวัดที่จุดเก็บน้ําที่ 7 (บานวังไทร) พบวาคุณภาพน้ําจากการตรวจวัด โดยภาพรวมมีคุณภาพดี ทั้งทางกายภาพและทางเคมี ดังนั้นเมื่อน้ําเหลานี้ไหลมารวมกันถึงแมจะผานการใชประโยชนจากชุมชนบาง ในจุดที่ 3 (บานมะปรางหวาน) คือพื้นที่ดังกลาวเปนที่ตั้งของรีสอรทหลายแหง และจุดเก็บน้ําที่ 5 (บานเชิงแตระ) เปนที่ตั้งของชุมชน มีการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบางก็ไมมากนัก เนื่องจากบานเรือนอยูหางกัน จึงไมมีผลเสียตอคุณภาพน้ํา อีกทั้งลําธารคอนขางกวางและมีน้ําไหลตลอดอยางตอเนื่อง ประกอบกับน้ําจากจุดเก็บน้ําที่ 4 (คลองทาชาย) และจุดเก็บน้ําที่ 6 (คลองปง)มีคุณภาพน้ําดี พื้นที่บริเวณดังกลาวแทบจะไมมีการใชประโยชนที่ดินอยางอื่นที่จะสงผลเสียตอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ํา โดยเฉพาะการทําสวนสมรม(สวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม) ในพื้นที่เหลานี้จะไมนิยมใชสารเคมี และชุมชนมีการจัดการน้ําเปนอยางดี ดังนั้นการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติ บริเวณลุมน้ําทาดี จึงคงรักษาคุณภาพน้ําที่ถูกปนเปอนใหกลับเปนน้ําที่มีคุณภาพดี ณ จุดตรวจวัดตางๆ

ตารางที่ 1 ลักษณะการใชประโยชนที่ดินในพ้ืนที่ลุมนํ้าทาดี โดยจําแนกตามจุดเก็บตัวอยางนํ้า

จุดเก็บตัวอยางน้ํา ครอบคลุม การใชประโยชนท่ีดิน พื้นท่ีรวม (ตร.กม.)พื้นท่ีของจุดเก็บน้ํา ตร.กม. %

1. ตนน้ําคลองทาดี - สวนสมรม 0.8 2.15 37.26 (คลองทาหา) ปาธรรมชาติ 36.46 97.85

2. ตนน้ําคลองทาดี - สวนสมรม 0.33 5.92 5.57(คลองลํางา) ปาธรรมชาติ 5.24 94.08

3 . ตอนตนคลองทาดี 1,2 สวนสมรม 2.11 4.75 44.38 (บานมะปรางหวาน) ปาธรรมชาติ 42.27 95.25

4. ตนน้ําคลองทาดี - สวนสมรม 0.65 9.66 6.73(คลองทาชาย) ปาธรรมชาติ 6.08 90.34

5. ตอนกลางคลองทาดี 1,2,3,4 สวนสมรม 5.54 10.2 54.3(บานเชิงแตระ) ปาธรรมชาติ 48.68 89.65

ชุมชน 0.08 0.15

6 . ตนน้ําคลองทาดี - สวนสมรม 3.49 25.79 13.53(คลองปง) ปาธรรมชาติ 10.04 74.21

7. ตอนกลางคลองทาดี 1,2,3,4,5,6 สวนสมรม 14.08 18.51 76.05(บานวังไทร) ปาธรรมชาติ 62.41 82.06

ชุมชน 2.15 2.83สวนยางพารา 0.6 0.79

จํานวนพื้นท่ี

ตารางที่ 2 คุณภาพทางกายภาพและเคมีของน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี จ.นครศรีธรรมราช ป พ.ศ. 2545-2546

ตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย) (บานเชิงแตระ) (คลองปง ) (บานวังไทร)

1. คุณภาพทางกายภาพ

อุณหภูมิน้ํา (องศาเซลเซียส) 25.2 24.8 24.7 25.9 25.6 24.9 28.0

การนําไฟฟาของน้ํา (ไมโครโมหตอเซนติเมตร) 23.8 33.0 22.4 29.3 24.2 29.0 29.6

ความขุนของน้ํา (เอ็นทียู) 1.1 1.6 0.9 1.0 0.8 1.1 1.6

ปริมาณสารทั้งหมดที่ละลายน้ําได (มิลลิกรัมตอลิตร) 12.8 16.8 12.7 16.0 13.3 16.8 16.5

ปริมาณสารทั้งหมด (มิลลิกรัมตอลิตร) 84.4 83.6 73.9 78.4 71.7 83.3 71.6

ปริมาณของแข็งทั้งหมด (มิลลิกรัมตอลิตร) 71.6 66.8 61.2 62.4 58.4 66.6 55.1

2. คุณภาพทางเคมี

ปริมาณความเปนกรด/ดาง 6.6 6.8 6.9 7.1 7.1 7.1 7.2

ปริมาณความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 3.2 3.3 3.0 3.4 3.2 3.4 4.6

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร) 8.6 8.5 8.6 8.7 8.8 8.3 9.0

โซเดียม (มิลลิกรัมตอลิตร) 4.2 5.5 4.1 4.8 4.3 5.1 4.7

โพแทสเซียม (มิลลิกรัมตอลิตร) 3.4 3.2 2.8 3.0 3.2 2.9 2.8

แคลเซียม (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.8 1.0 0.9 1.0 1.0 1.0 1.5

แมกนีเซียม (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.3 0.2 0.2 0.2 0.2 0.2 0.3

เหล็ก (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.2 0.2 0.2 0.3 0.2 0.3 0.3

3. โลหะหนัก

ตะกั่ว (ไมโครกรัมตอลิตร) 9.9 15.0 12.2 18.1 14.3 11.6 13.7

ทองแดง (ไมโครกรัมตอลิตร) 2.3 3.3 4.5 2.2 2.3 4.1 6.6

สังกะสี (ไมโครกรัมตอลิตร) 11.0 10.7 11.2 11.9 11.2 10.9 16.1

คุณภาพทางกายภาพและเคมีของน้ํา

รายการ

สรุปและขอเสนอแนะ

จากการศึกษาการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติ บริเวณลุมน้ําทาดี (ลุมน้ําคีรีวง) อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ในลําธารหลัก 3 สาย อันไดแก คลองทาหา คลองปง และคลองทาดี ตั้งแตพ้ืนที่แหลงตนน้ําลําธารบริเวณตนน้ําผานพื้นที่ใชประโยชนและชุมชน โดยมีจุดเก็บตัวอยางน้ํา จํานวน 7 แหง คือ ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา) ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา) ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง) ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) ซึ่งตรวจวัดทุกเดือน ระหวางป 2546 - 2547 เปนเวลา 2 ป สามารถสรุปผลไดนี้

ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาหา) เปนจุดเก็บตัวอยางน้ํา ที่ 1 ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา) เปนจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 2 ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) เปนจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 3 ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) เปนจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 4 ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ)เปนจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 5 ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง) เปนจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 6 และ ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) เปนจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 7 ทั้ง 7 แหง แตละแหงเปรียบเทียบกับ เกณฑมาตรฐานคุณภาพเฉล่ียของแหลงน้ําตามธรรมชาติของประเทศไทย โดยภาพรวมถือวามีคุณภาพน้ําดีทั้งทางกายภาพและทางเคมี โดยตรวจวัดจากดัชนีคุณภาพน้ําทางกายภาพ ไดแก อุณหภูมิของน้ํา การนําไฟฟาของน้ํา ความขุนของน้ํา และปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา และดัชนีคุณภาพน้ําทางเคมี ไดแก ปริมาณความเปนกรด/ดาง ปริมาณความกระดาง และปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา รวมทั้งดัชนีคุณภาพน้ําจากการศึกษาปริมาณโลหะหนัก ไดแก ปริมาณตะกั่ว ปริมาณทองแดง และปริมาณสังกะสีในน้ํา พบวามีคาต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน

เมื่อศึกษาการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติ จากจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 3 ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) ซึ่งไหลผานรีสอรท และชุมชนบางสวน จุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 5 ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) ซึ่งไหลผานชุมชน และจุดเก็บตัวอยางน้ําที่ 7 ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร) ซึ่งมีกิจกรรมการใชประโยชนมากขึ้น พบวา โดยภาพรวมทั้ง 3 แหงมีคุณภาพน้ําดีทั้งทางกายภาพและทางเคมี แสดงวาคลองทาดียังมีสารปนเปอนนอย สาเหตุสําคัญเนื่องจากเปนแหลงตนน้ําที่ยังสมบูรณ ลําน้ําที่ไหลมาบรรจบกันถึงแมจะไหลผานการใชประโยชนของชุมชนบางก็มีผลเสียตอคุณภาพน้ํานอยมาก พ้ืนที่บริเวณดังกลาวแทบจะไมมีการใชประโยชนที่ดินอยางอ่ืนที่จะสงผลเสียตอการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ํา โดยเฉพาะการทําสวนสมรม(สวนผลไมผสมกับไมปาดั้งเดิม) (mixed garden) ในพื้นที่เหลานี้จะไมนิยมใชสารเคมี และชุมชนมีการจัดการน้ําเปนอยางดี ดังนั้นจึงกลาวไดวาลุมน้ําทาดีมีคุณภาพน้ําดี เหมาะที่จะใชในการอุปโภคและใชในการเกษตรกรรมทั่วไป สําหรับการบริโภคจะตองไดรับการตรวจวัดคุณภาพทางดานชีวภาพ และดานเคมีบางประการ เพ่ือใหปลอดภัยจากเชื้อโรคและสารปนเปอนตางๆ อยางไรก็ตามลําคลองเสนนี้ สามารถนําไปพัฒนาเพื่อใชเปนแหลงน้ําดิบของชุมชนไดเปนอยางดี ซึ่งปจจุบันคลองทาดีแหงนี้ ถือเปนแหลงน้ํ าดิบที่ สําคัญเพื่อนํามาผลิตประปาของเทศบาลนครนครศรีธรรมราช

เอกสารอางอิง

กรรณิการ สิริสิงห. 2522. เคมีของน้ํา น้าํโสโครก และการวเิคราะห. บริษัทประยรู,กรุงเทพฯ. 387 น. กองมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอม. 2532. โครงการศึกษาและวิจยัคุณภาพน้ําในแมน้ําสายหลัก รายงาน

การศึกษาวิจยัคุณภาพน้ําแมน้ําแมกลอง พ.ศ. 2529 –2531. สํานักงานคณะกรรมการ ส่ิงแวดลอมแหงชาติ , กรุงเทพฯ. 76 น

---------------------------------. 2533. มาตรฐานคุณภาพน้าํประเทศไทย. สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาต.ิ กรุงเทพฯ. 52 น.

เกษม จันทรแกว. 2526. หลักการจัดการลุมน้ํา. ภาควิชาอนุรักษวทิยา คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 299 น.

---------------------------------. 2530. วิทยาศาสตรส่ิงแวดลอม. อักษรสยามการพิมพ, กรุงเทพฯ. 363 น. คณาจารยภาควิชาปฐพวีิทยา. 2535. ปฐพีวิทยาเบื้องตน ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 720 น. คํารณ โพธิพิทักษ. 2523. คําบรรยายเกีย่วกับเรื่องน้ําและคุณสมบัติของน้ํา. สถาบันประมงน้ําจดืแหงชาต.ิ จําเนียร ธนลีลังกูร และนิวัติ เรืองพานิชย. 2524. คุณภาพของน้ําดานกายภาพและเคมภีายใตการใช

ประโยชนที่ดนิประเภทตางๆ ณ สถานีวิจัยส่ิงแวดลอมสะแกราช. รายงานวนศาสตรวิจัย เลมที่ 81. ภาควิชาอนุรักษวิทยา คณะวนศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ. 87 น.

ฉัตรไชย รัตนไชย. 2539. การจัดการคณุภาพน้ํา. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร อ.หาดใหญ. จ.สงขลา . 241 น.

ณรงค ณ เชยีงใหม. 2525. มลพิษสิ่งแวดลอม. สํานักพิมพโอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. 248 น. นิพนธ ตั้งธรรม. 2527. การควบคุมการชะลางพังทลายของดิน. ภาควิชาอนุรักษวทิยา คณะวนศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 618 น. ทรงธรรม สุขสวาง . 2538 . การฟอกตัวทางเคมีของน้ําตามธรรมชาติ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการใช

ประโยชนที่ดนิ บริเวณพื้นที่ตนน้ําแมกลอง จังหวดักาญจนบุรี . เอกสารเผยแพรกลุมลุมน้ํา สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม

ทรงธรรม สุขสวาง . 2538 . การฟอกตัวเองของน้ําทางแบคทีเรีย ภายหลังการทําลายปาเพื่อทําการเกษตรและอยูอาศยั บริเวณพื้นทีต่นน้ําแมกลอง จังหวัดกาญจนบุรี . เอกสารเผยแพรกลุมลุมน้ํา สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม

ธีรศักดิ์ บุญชูดวง. 2526. ผลกระทบจากการใชประโยชนที่ดินประเภทตางๆ ตอคุณสมบัติบางประการของน้ําบริเวณดอยปุย จังหวดัเชียงใหม. วิทยานพินธปริญญาโท. มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

เปยมศักดิ์ เมนะเศวต. 2525. แหลงน้ํากับปญหามลภาวะ. ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะวิทยาศาสตร, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 390 น.

พนัส สินธุเทพรัตน. 2528. การศึกษาสมบัติทางกายภาพบางประการของน้ํา ในลุมน้ําแมกลองและลุมน้ํากวง เชยีงใหม. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ

พรรณวดี ธํารงหวัง, ประเดิมชัย แสงคูวงษ และสมชาย ออนอาษา. 2535. การตรวจวดัและวิเคราะหคุณภาพบางประการของน้ําบริเวณลุมน้ําหวยล่ินถ่ิน. รายงานผลงานวิจยั รหัส 003503. กลุมลุมน้ํา สวนวิจยัและพัฒนาสิ่งแวดลอมปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม. กรุงเทพฯ.

พรรณวดี ธํารงหวัง, สุวฒัน จันธิวงศ, วารินทร จิระสุขทวีกุล และบุญสง ไกลสรพรสรร. 2542. คุณภาพทางกายภาพและเคมขีองน้ําบริเวณลุมน้ําทะเลสาบสงขลา. รายงานผลงานวิจยั รหสั 004201. กลุมลุมน้ํา สวนวิจยัและพัฒนาสิ่งแวดลอมปาไม สํานักวิชาการปาไม กรมปาไม. กรุงเทพฯ. 97 น.

พงษศักดิ์ นาคสุวรรณ. 2535. คุณภาพน้ําทางกายภาพบางประการตามชั้นคุณภาพลุมน้ําตางๆ ในภาคใตตอนลาง. วิทยานิพนธปริญญาโท . มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.

ไมตรี สุทธิจิตต. 2531. สารพิษรอบตัวเรา. โรงพิมพดาวคอมพวิกราฟฟค, เชียงใหม. 334 น. ไมตรี คงสวัสดิ์ และจารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบัติของน้ําและวธีิวิเคราะห สําหรับการวิจยัทาง การ

ประมง ผายวจิัยส่ิงแวดลอมสัตวน้ํา สถาบันประมงน้ําจดืแหงชาติ กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

สัทธา มีออง. 2526. ผลกระทบจากการใชประโยชนที่ดินตอคุณภาพน้ําทางกายภาพ บริเวณลุมน้ําบางประกง วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.

สุรจิต สุขกันตะ. 2530. การตรวจวดัคุณภาพบางประการของน้ําบริเวณลุมน้ําชี. วทิยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กรุงเทพฯ.

Ayers, S.R. and R. Bronson. 1977. U.C. Guideline for Interpretation of Agriculture Water Quality. California Agr. 31 : 250 –253.

Borman, F.H. 1969. Biotic regulation of particulate and solution losses from A forest ecosystem. Bis. Sci. 19 : 600 –610.

Botkin, D.B. and E. A. Keller. 1988. Environmental Studies Earth as A Living Planet. 2 nd ed., Merill Publ. Co., London. 685 p.

Coulston, F. and E. Mark. 1977. Water Quality Proceeding of an International Forum. Academic Press, London. 295 p.

EPA. 1973. Water Quality Criteria, 1972. A Report of the Committee on Quality Criteria, Environmental Studies Board, U.S. Government Printing Office, Washington, D. C.

McGriff, E.C. 1972. The Effects of Urbanization on Water Quality. J. Environmental Qual. 1 (1) : 86-88.

Mc.neely, R.N., V.p. Neimanis and L. Duyer. 1979. A Guide to Water Quality Parameters. In land water direct to rate water quality branch Ottawa Canada 89 p.

Wert, J.W. and F.J. Keller. 1963. Preliminary Study of Sediment source and Transport in the Potomac River Basin. Interstate Commission on Potomac River Basin, D.C. Tech. Bull. No. 11.

ปริมาณน้ําฝน การระเหย ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ จํานวนวันที่ฝนตก

สูงสุด ต่ําสุด เฉลี่ย (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (กิโลเมตร/วัน) (%) (วัน)2535 31.9 21.4 26.5 2,020.00 1,161.24 1.79 88.8 2012536 31.4 21.4 26.4 3,138.20 1,090.08 1.74 92.4 2092537 31.5 21.4 26.4 3,124.50 1,013.14 1.45 92.7 2062538 31.6 21.2 26.4 2,461.40 1,049.53 2.30 91.9 1892539 31.2 21.2 26.2 3,098.90 1,029.34 2.15 94.0 2022540 31.8 21.3 26.6 2,801.85 1,122.26 1.87 96.0 1852541 33.4 21.7 27.7 2,182.93 1,116.62 2.04 94.6 1922542 31.9 21.2 26.5 2,643.10 742.90 1.90 92.1 2242543 31.8 21.4 26.7 4,309.82 849.07 1.48 89.6 2292544 32.3 21.8 27.0 2,887.11 864.54 1.60 88.8 2072545 32.5 21.7 27.1 2,426.80 902.47 1.54 88.4 1982546 32.3 21.7 27.1 2,763.91 862.59 1.57 88.5 209

รวม 383.6 257.4 320.6 33,858.5 11,803.8 21.4 1,097.8 2,451

เฉลี่ย 32.0 21.4 26.7 2,821.5 983.6 1.8 91.5 204.3

ตารางผนวกที่ 1 สถิติขอมูลอากาศสถานีวิจัยตนน้ําคีรีวงในคาบ 12 ป ( พ.ศ. 2535 - 2546)

ป พ.ศ.อุณหภูมิ ( องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 2 ขอมูลอากาศเฉลี่ยรายเดือนป 2545 สถานีวิจัยตนน้ําคีรีวง อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช (สํานักงาน/ทาชาย)

ปริมาณน้ําฝน การระเหย ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ จํานวนวันที่ฝนตกสูงสุด ต่ําสุด เฉลี่ย (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (กิโลเมตร/วัน) (%) (วัน)

มกราคม 29.0 21.0 25.0 51.2 44.4 0.66 90.0 19กุมภาพันธ 32.1 20.0 26.0 1.7 80.3 1.33 90.0 1มีนาคม 34.1 21.1 27.6 161.5 109.2 1.90 89.0 8เมษายน 33.7 21.5 27.6 79.7 97.2 1.33 87.0 10พฤษภาคม 34.0 22.2 28.1 99.9 83.1 1.63 90.0 12มิถุนายน 34.6 22.3 27.5 65.4 82.4 2.10 87.0 12กรกฎาคม 34.2 22.6 28.4 48.5 72.6 2.35 85.0 17สิงหาคม 32.9 22.4 27.6 168.3 69.0 2.58 85.0 23กันยายน 32.8 22.1 27.4 149.0 83.5 2.21 88.3 25ตุลาคม 33.0 21.5 27.3 195.8 78.1 1.03 90.0 21

พฤศจิกายน 29.8 21.7 25.7 801.0 45.9 0.62 90.0 25

ธันวาคม 30.1 22.3 26.2 738.6 56.86 0.73 90.0 25

รวม 390.3 260.7 324.4 2560.6 902.4 18.47 1061.3 198

เฉลี่ย 32.5 21.7 27.0 _ _ 1.54 88.44 16.5

เดือน อุณหภูมิ ( องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 3 ขอมูลอากาศเฉลี่ยรายเดือนป 2546 สถานีวิจัยตนน้ําคีรีวง อําเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช (สํานักงาน/ทาชาย)

ปริมาณน้ําฝน การระเหย ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ จํานวนวันที่ฝนตกสูงสุด ต่ําสุด เฉลี่ย (มิลลิเมตร) (มิลลิเมตร) (กิโลเมตร/วัน) (%) (วัน)

มกราคม 30.3 21.6 25.7 180.7 70.2 0.91 90.0 15กุมภาพันธ 31.5 21.1 26.3 21.6 72.9 1.05 89.6 11มีนาคม 32.9 21.9 27.4 218.6 86.7 1.37 90.0 16เมษายน 35.1 21.5 28.3 73.4 104.8 1.44 90.0 7พฤษภาคม 33.0 22.5 27.8 161.4 67.4 1.24 89.5 16มิถุนายน 34.1 21.7 27.9 179.8 73.9 1.15 90.0 13กรกฎาคม 32.3 22.2 27.5 123.9 68.7 1.69 89.5 20สิงหาคม 32.5 22 27.3 57.3 83.7 2.51 87.8 18กันยายน 31.7 21.3 26.51 165.4 68.8 1.8 86.8 23ตุลาคม 30.6 21.7 26.1 330.5 53.1 0.82 90.0 25

พฤศจิกายน 30.4 21.3 25.7 425.3 57.6 0.85 90.0 21ธันวาคม 28.4 20.8 24.6 978.7 42.2 1.1 90.0 24รวม 382.8 259.6 321.11 2916.6 850 15.93 1073.17 209เฉลี่ย 31.9 21.6 26.8 - - 1.33 89.4 17.4

เดือนอุณหภูมิ ( องศาเซลเซียส)

ตารางผนวกที่ 4 วิธีการวิเคราะหดัชนีคุณภาพน้ํา

ดัชนคีุณภาพน้ํา หนวย วิธีการวิเคราะห 1. อุณหภูมิของน้ํา องศาเซลเซียส ( o C ) Thermometer 2. ความขุนของน้ํา เอ็นทียู (NTU) Absorptometric Method Meter Scale 3. การนําไฟฟาของน้ํา ไมโครซีเมนตอเซนติเมตร S – C –T Meter YSI Model 33 4. ปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) Gravimetric Method 5. ความเปนกรดเปนดางของน้ํา - pH Meter 6. ความกระดางของน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร as CaCO3 Azide Modification 7. ออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) EDTA Titrimetric Method 8. ตะกัว่ในน้ํา ไมโครกรัมตอลิตร Atomic Absorption Spectrophotometer 9. ทองแดงในน้ํา ไมโครกรัมตอลิตร Atomic Absorption Spectrophotometer 10. สังกะสีในน้ํา ไมโครกรัมตอลิตร Atomic Absorption Spectrophotometer

ท่ีมา: ดัดแปลงมาจาก ไมตร ีและ จารุวรรณ (2528) และ APHA, AWWA and WPCF (1995)

ตารางผนวกที่ 5 มาตรฐานคุณภาพเฉลี่ยของแหลงน้ําธรรมชาติในประเทศไทย

ดัชนคีุณภาพน้ํา หนวย คาเฉล่ีย/พิสัย 1. อุณหภูมิของน้ํา องศาเซลเซียส ( o C ) 20-35 2. ความขุนของน้ํา เอ็นทียู (NTU) 20-75 3. การนําไฟฟาของน้ํา ไมโครซีเมนตอเซนติเมตร

(µ Seimen/cm) 150-300

4. ปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) 100-500 5. ความเปนกรด - ดางของน้ํา - 5.0-9.0 6. ความกระดางของน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร as CaCO3 100-200 7. ออกซิเจนทีล่ะลายน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) 4-6 8. โซเดียมในน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) < 270 9. โพแทสเซียมในน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) 10-20 10. แคลเซียมในน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) 75-200 11. แมกนีเซยีมในน้ํา มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) 50-150 12. เหล็กในน้าํ มิลลิกรัมตอลิตร (ppm) 5-20 13. ตะกัว่ในน้าํ ไมโครกรัมตอลิตร 50 14. ทองแดงในน้ํา ไมโครกรัมตอลิตร 100 15. สังกะสีในน้ํา ไมโครกรัมตอลิตร 1000

ท่ีมา: ดัดแปลงมาจาก ณรงค (2525), ไมตรี และ จารุวรรณ (2528), เกษม (2530), สงัด (2534),

พงษศักดิ์ (2535), พรรณวดี และ คณะ (2535), และ NEB (1986)

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 25.0 - - 23.0 - - 25.0 - - 24.0 - - 25.0 - - 22.8 - - 25.0 - -

กุมภาพันธ 25.8 - - 25.0 - - 26.0 - - 27.0 - - 28.0 - - 25.0 - - 28.8 - -

มีนาคม 27.0 - - 26.0 - - 27.0 - - 28.5 - - 27.0 - - 26.5 - - 28.0 - -

เมษายน 28.0 26.0 27.0 27.0 25.5 26.3 28.0 27.0 27.5 28.0 27.0 27.5 28.5 28.0 28.3 27.0 26.0 26.5 30.5 29.0 29.8

พฤษภาคม 25.0 25.5 25.3 21.0 25.0 23.0 25.5 25.5 25.5 23.0 26.0 24.5 23.0 26.0 24.5 21.5 26.0 23.8 29.0 28.0 28.5

มิถุนายน 27.0 25.0 26.0 27.3 25.0 26.2 27.0 24.5 25.8 28.5 26.5 27.5 28.5 25.5 27.0 26.0 24.5 25.3 31.0 27.0 29.0

กรกฎาคม 28.0 26.0 27.0 29.0 24.8 26.9 27.0 25.0 26.0 29.5 25.5 27.5 29.5 25.8 27.7 29.0 26.0 27.5 30.5 27.0 28.8

สิงหาคม 25.5 26.0 25.8 24.8 25.5 25.2 24.8 25.0 24.9 26.5 26.5 26.5 25.5 26.0 25.8 26.5 27.0 26.8 29.0 28.0 28.5

กันยายน 25.0 22.0 23.5 25.5 21.7 23.6 20.5 21.6 21.1 30.0 22.0 26.0 25.0 21.6 23.3 21.0 21.6 21.3 24.0 22.4 23.2

ตุลาคม 25.0 24.0 24.5 25.0 24.0 24.5 25.0 23.5 24.3 27.0 24.0 25.5 26.0 24.0 25.0 25.5 23.8 24.7 28.0 24.5 26.3

พฤศจิกายน 23.8 24.0 23.9 24.0 24.5 24.3 23.8 24.0 23.9 24.0 24.0 24.0 25.0 24.5 24.8 24.0 24.0 24.0 26.0 25.0 25.5

ธันวาคม 24.0 23.0 23.5 24.0 23.5 23.8 24.0 23.0 23.5 24.5 23.5 24.0 24.5 23.0 23.8 24.5 23.5 24.0 26.0 24.5 25.3

รวม 309.1 221.5 226.4 301.6 219.5 223.6 303.6 219.1 222.4 320.5 225.0 233.0 315.5 224.4 230.0 299.3 222.4 223.7 335.8 235.4 244.7เฉลี่ย 25.8 24.6 25.2 25.1 24.4 24.8 25.3 24.3 24.7 26.7 25.0 25.9 26.3 24.9 25.6 24.9 24.7 24.9 28.0 26.2 27.2พิสัย 23.8-28.0 22.0-26.0 23.5-27.0 21.0-29.0 21.7-25.5 23.0-26.9 20.5-28.0 21.6-27.0 21.1-27.5 23.0-30.0 22.0-27.0 24.0-27.5 23.0-29.5 21.6-28.0 23.3-28.3 21.0-29.0 21.6-27.0 21.3-27.5 24.0-31.0 22.4-29.0 23.2-29.8

(บานวังไทร)

อุณหภูมิของน้ํา (องศาเซลเซียส)

(คลองลํางา)ตอนตนคลองทาดี

(บานมะปรางหวาน)ตอนตนคลองทาดี

(คลองทาชาย)

ตารางผนวกที่ 6 อุณหภูมิของน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

เดือน ตนน้ําคลองทาดี(คลองทาหา)

ตนน้ําคลองทาดี(บานเชิงแตระ) (คลองปง)

ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 0.7 - - 1.7 - - 2.0 - - 2.4 - - 1.2 - - 2.4 - - 3.0 - -

กุมภาพันธ 0.1 - - 1.7 - - 1.4 - - 2.4 - - 1.5 - - 1.4 - - 1.8 - -

มีนาคม 1.3 - - 1.9 - - 1.3 - - 1.5 - - 1.1 - - 1.6 - - 2.3 - -

เมษายน 0.7 1.1 0.9 1.1 1.9 1.5 2.4 0.7 1.6 2.0 0.6 1.3 1.5 0.3 0.9 0.5 0.0 0.3 2.8 2.1 2.5

พฤษภาคม 1.5 2.5 2.0 1.3 0.2 0.8 0.8 0.2 0.5 0.9 0.4 0.7 0.5 0.6 0.6 1.0 1.6 1.3 1.5 1.3 1.4

มิถุนายน 1.3 2.2 1.8 1.7 3.2 2.5 1.4 1.2 1.3 0.3 0.5 0.4 1.5 0.5 1.0 1.4 1.6 1.5 1.2 2.2 1.7

กรกฎาคม 0.9 0.1 0.5 1.9 0.4 1.2 1.4 0.3 0.9 2.5 0.1 1.3 1.3 0.3 0.8 2.0 0.5 1.3 3.6 1.7 2.7

สิงหาคม 1.3 0.1 0.7 2.0 0.6 1.3 0.8 0.4 0.6 1.4 0.1 0.8 0.8 0.1 0.5 2.1 0.2 1.2 1.5 0.5 1.0

กันยายน 1.4 0.4 0.9 3.6 1.2 2.4 1.6 0.8 1.2 2.5 0.9 1.7 0.2 1.1 0.7 1.0 0.5 0.8 1.5 1.9 1.7

ตุลาคม 1.9 0.5 1.2 1.6 1.7 1.7 0.8 0.4 0.6 0.7 0.6 0.7 1.0 0.6 0.8 0.9 1.0 1.0 1.4 0.1 0.8

พฤศจิกายน 1.1 0.8 1.0 1.8 1.3 1.6 1.1 0.9 1.0 1.8 0.8 1.3 1.6 0.8 1.2 0.8 0.7 0.8 1.4 1.1 1.3

ธันวาคม 1.1 0.1 0.6 1.9 1.9 1.9 0.6 0.3 0.5 1.4 1.0 1.2 0.6 0.3 0.5 2.5 0.6 1.6 1.8 0.3 1.1

รวม 13.3 7.8 9.5 22.2 12.4 14.7 15.6 5.2 8.1 19.8 5.0 9.3 12.8 4.6 6.8 17.6 6.7 9.5 23.8 11.2 14.0เฉลี่ย 1.1 0.9 1.1 1.9 1.4 1.6 1.3 0.6 0.9 1.7 0.6 1.0 1.1 0.5 0.8 1.5 0.7 1.1 2.0 1.2 1.6พิสัย 0.1-1.9 0.1-2.5 0.5-2.0 1.1-3.6 0.2-3.2 0.8-2.5 0.6-2.4 0.2-1.2 0.5-1.6 0.3-2.5 0.1-1.0 0.4-1.7 0.2-1.6 0.1-1.1 0.5-1.2 0.5-2.5 0.0-1.6 0.3-1.6 1.2-3.6 0.1-2.2 0.8-2.7

(คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย) (บานเชิงแตระ)ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

(คลองปง) (บานวังไทร)

ตารางผนวกที่ 7 ความขุนของน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

ความขุนของน้ํา (เอ็นทียู)

เดือน ตนน้ําคลองทาดี(คลองทาหา)

ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 8 การนําไฟฟาของน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 25.1 - - 27.8 - - 22.2 - - 26.0 - - 24.5 - - 27.4 - - 28.8 - -

กุมภาพันธ 30.0 - - 30.0 - - 20.0 - - 30.0 - - 30.0 - - 30.0 - - 30.0 - -

มีนาคม 23.5 - - 29.6 - - 24.9 - - 28.3 - - 25.7 - - 28.1 - - 29.3 - -

เมษายน 22.7 25.2 24.0 31.7 30.8 31.3 24.6 25.3 25.0 28.5 28.8 28.7 26.4 27.5 27.0 29.3 31.2 30.3 36.0 34.8 35.4

พฤษภาคม 21.8 22.5 22.2 33.1 36.3 34.7 23.1 24.2 23.7 29.0 27.9 28.5 24.6 24.2 24.4 31.8 29.6 30.7 33.9 33.3 33.6

มิถุนายน 25.5 25.5 25.5 36.1 32.6 34.4 24.3 22.6 23.5 30.7 29.5 30.1 27.5 23.5 25.5 34.0 30.0 32.0 33.3 28.5 30.9

กรกฎาคม 23.1 20.8 22.0 38.6 28.0 33.3 21.9 27.1 24.5 37.8 29.0 33.4 23.8 21.1 22.5 34.1 28.1 31.1 27.1 24.8 26.0

สิงหาคม 21.2 21.7 21.5 29.8 30.5 30.2 18.8 23.8 21.3 29.6 29.3 29.5 21.1 22.2 21.7 33.9 23.8 28.9 24.3 29.3 26.8

กันยายน 19.4 20.5 20.0 30.6 26.7 28.7 20.6 18.9 19.8 32.7 27.0 29.9 22.9 19.4 21.2 30.8 26.7 28.8 30.6 23.8 27.2

ตุลาคม 21.6 36.3 29.0 32.0 56.9 44.5 20.1 21.5 20.8 29.2 25.1 27.2 23.3 22.1 22.7 24.7 23.8 24.3 23.3 27.3 25.3

พฤศจิกายน 22.4 29.5 26.0 27.4 32.1 29.8 23.0 15.3 19.2 28.9 29.6 29.3 22.9 36.7 29.8 26.6 30.5 28.6 31.2 33.3 32.3

ธันวาคม 24.2 24.2 24.2 27.4 32.7 30.1 22.1 25.9 24.0 26.2 28.0 27.1 22.6 24.1 23.4 25.7 27.8 26.8 28.6 29.0 28.8

รวม 280.5 226.2 214.1 374.1 306.6 296.7 265.6 204.6 201.6 356.9 254.2 263.4 295.3 220.8 218.0 356.4 251.5 261.2 356.4 264.1 266.2เฉลี่ย 23.4 25.1 23.8 31.2 34.1 33.0 22.1 22.7 22.4 29.7 28.2 29.3 24.6 24.5 24.2 29.7 27.9 29.0 29.7 29.3 29.6พิสัย 19.4-30.0 20.5-36.3 20.0-29.0 27.4-38.6 26.7-56.9 28.7-44.5 18.8-24.9 15.3-27.1 19.2-25.0 26.0-37.8 25.1-29.6 27.1-33.4 21.1-30.0 19.4-36.7 21.2-29.8 24.7-34.1 23.8-31.2 24.3-32.0 23.3-36.0 23.8-34.8 25.3-35.4

การนําไฟฟาของน้ํา (ไมโครโมหตอเซนติเมตร)ตนน้ําคลองทาดีเดือน ตนน้ําคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

(คลองทาหา) (คลองปง)ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี

(คลองลํางา) (บานวังไทร)ตอนตนคลองทาดี

(บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย) (บานเชิงแตระ)ตอนตนคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 9 ปริมาณของแข็งทั้งหมดในน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 26.0 - - 32.0 - - 28.0 - - 44.0 - - 64.0 - - 18.0 - - 32.0 - -

กุมภาพันธ 24.0 - - 22.0 - - 40.0 - - 38.0 - - 44.0 - - 58.0 - - 52.0 - -

มีนาคม 73.0 - - 60.0 - - 53.0 - - 52.0 - - 50.0 - - 60.0 - - 63.0 - -

เมษายน 72.0 84.0 78.0 105.0 21.0 63.0 75.0 7.0 41.0 41.0 10.0 25.5 70.0 10.0 40.0 41.0 98.0 69.5 73.0 31.0 52.0

พฤษภาคม 19.0 133.0 76.0 29.0 108.0 68.5 48.0 50.0 49.0 54.0 107.0 80.5 48.0 58.0 53.0 46.0 132.0 89.0 55.0 51.0 53.0

มิถุนายน 50.0 155.0 102.5 32.0 99.0 65.5 10.0 72.0 41.0 32.0 67.0 49.5 51.0 73.0 62.0 41.0 45.0 43.0 30.0 62.0 46.0

กรกฎาคม 71.0 81.0 76.0 91.0 69.0 80.0 60.0 79.0 69.5 67.0 72.0 69.5 63.0 57.0 60.0 79.0 80.0 79.5 59.0 63.0 61.0

สิงหาคม 35.0 17.0 26.0 27.0 59.0 43.0 25.0 89.0 57.0 42.0 116.0 79.0 48.0 68.0 58.0 25.0 82.0 53.5 20.0 28.0 24.0

กันยายน 59.0 126.0 92.5 82.0 81.0 81.5 55.0 130.0 92.5 78.0 73.0 75.5 66.0 70.0 68.0 63.0 98.0 80.5 63.0 114.0 88.5

ตุลาคม 30.0 64.0 47.0 30.0 96.0 63.0 45.0 76.0 60.5 42.0 41.0 41.5 41.0 55.0 48.0 40.0 64.0 52.0 45.0 47.0 46.0

พฤศจิกายน 56.0 92.0 74.0 79.0 39.0 59.0 74.0 98.0 86.0 95.0 57.0 76.0 141.0 59.0 100.0 53.0 63.0 58.0 45.0 65.0 55.0

ธันวาคม 64.0 81.0 72.5 73.0 82.0 77.5 26.0 83.0 54.5 75.0 55.0 65.0 34.0 39.0 36.5 92.0 56.0 74.0 84.0 57.0 70.5

รวม 579.0 833.0 644.5 662.0 654.0 601.0 539.0 684.0 551.0 660.0 598.0 562.0 720.0 489.0 525.5 616.0 718.0 599.0 621.0 518.0 496.0เฉลี่ย 48.3 92.6 71.6 55.2 72.7 66.8 44.9 76.0 61.2 55.0 66.4 62.4 60.0 54.3 58.4 51.3 79.8 66.6 51.8 57.6 55.1พิสัย 11.0-15.0 17.0-155.0 15.0-84.5 22.0-105.021.0-108.0 43.0-81.5 10.0-75.0 7.0-130.0 41.0-92.5 32.0-95.0 10.0-116.0 25.5-80.5 34.0-141.0 10.0-73.0 36.5-100.0 18.0-92.0 45.0-132.0 43.0-89.0 20.0-84.0 28.0-114.0 24.0-88.5

(คลองปง) (บานวังไทร)(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย)เดือน

ปริมาณของแข็งทั้งหมด (มิลลิกรัมตอลิตร)ตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

(บานเชิงแตระ)

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 6.6 - - 6.7 - - 6.4 - - 6.6 - - 6.6 - - 7.2 - - 6.7 - -

กุมภาพันธ 7.4 - - 6.9 - - 6.9 - - 6.8 - - 7.7 - - 6.7 - - 6.6 - -

มีนาคม 6.9 - - 5.9 - - 6.2 - - 6.5 - - 6.6 - - 6.6 - - 6.5 - -

เมษายน 9.1 6.4 7.8 8.0 6.4 7.2 8.6 6.5 7.6 7.8 6.4 7.1 6.5 6.4 6.4 7.0 6.3 6.6 7.2 6.1 6.6

พฤษภาคม 7.2 6.1 6.6 6.8 6.2 6.5 7.1 6.1 6.6 7.1 6.4 6.8 7.1 6.3 6.7 7.4 6.6 7.0 7.2 6.5 6.9

มิถุนายน 6.5 5.8 6.2 6.2 6.1 6.2 7.2 6.5 6.9 7.0 6.7 6.8 6.7 6.8 6.7 6.4 6.8 6.6 7.4 7.0 7.2

กรกฎาคม 6.6 5.9 6.2 7.0 5.8 6.4 7.2 6.0 6.6 7.3 6.8 7.0 6.9 7.2 7.1 6.7 7.3 7.0 7.1 7.3 7.2

สิงหาคม 5.9 6.1 6.0 5.9 6.3 6.1 6.8 6.4 6.6 6.4 6.4 6.4 7.1 6.2 6.7 6.9 6.5 6.7 6.9 6.7 6.8

กันยายน 6.3 6.4 6.3 6.3 7.0 6.6 6.5 6.8 6.6 6.6 7.0 6.8 6.8 7.4 7.1 7.0 7.5 7.2 6.9 7.4 7.1

ตุลาคม 6.5 6.0 6.2 6.6 7.2 6.9 6.7 8.0 7.4 6.8 7.8 7.3 7.0 7.4 7.2 7.0 7.7 7.4 7.0 7.7 7.4

พฤศจิกายน 6.3 5.9 6.1 6.5 6.9 6.7 3.8 7.0 5.4 6.7 7.1 6.9 7.2 7.3 7.3 7.0 7.1 7.1 7.0 7.5 7.2

ธันวาคม 7.9 8.9 8.4 7.9 8.6 8.3 7.9 8.6 8.2 8.1 8.6 8.4 8.1 8.7 8.4 8.1 8.6 8.3 7.4 8.5 8.0

รวม 83.2 57.4 59.8 80.8 60.4 60.8 81.2 62.0 61.8 83.7 63.2 63.5 84.4 63.6 63.6 84.0 64.4 63.9 83.9 64.7 64.4เฉลี่ย 6.9 6.4 6.6 6.7 6.7 6.8 6.8 6.9 6.9 7.0 7.0 7.1 7.0 7.1 7.1 7.0 7.2 7.1 7.0 7.2 7.2พิสัย 5.9-9.1 5.8-8.9 6.0-8.4 5.9-8.0 5.8-8.6 6.1-8.3 3.8-8.6 6.0-8.6 5.4-8.2 6.4-8.1 6.4-8.6 6.4-8.4 6.5-8.1 6.2-8.7 6.4-8.4 6.4-8.1 6.3-8.6 6.6-8.3 6.5-7.4 6.1-8.5 6.6-8.0

(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย)ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 10 ความเปนกรดเปนดางของน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

เดือน (บานเชิงแตระ) (คลองปง) (บานวังไทร)

ความเปนกรดเปนดางของน้ําตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 11 ความกระดางของน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 1.7 - - 2.2 - - 1.8 - - 2.1 - - 1.9 - - 1.9 - - 2.6 - -

กุมภาพันธ 1.4 - - 2.0 - - 1.5 - - 1.9 - - 1.7 - - 1.6 - - 3.2 - -

มีนาคม 2.7 - - 2.9 - - 2.8 - - 2.8 - - 3.1 - - 2.7 - - 3.7 - -

เมษายน 2.3 3.1 2.7 3.1 3.7 3.4 2.7 3.8 3.2 3.4 4.2 3.8 3.0 4.5 3.8 3.3 4.2 3.7 5.8 6.3 6.1

พฤษภาคม 1.7 6.4 4.0 2.5 5.9 4.2 2.2 5.9 4.0 2.8 5.9 4.4 2.9 6.2 4.6 2.8 6.1 4.5 5.1 5.7 5.4

มิถุนายน 1.7 3.7 2.7 2.3 4.9 3.6 1.6 3.2 2.4 2.3 5.3 3.8 2.6 4.6 3.6 2.3 5.5 3.9 4.5 6.4 5.5

กรกฎาคม 1.1 8.6 4.9 2.7 5.4 4.1 0.8 7.5 4.2 2.1 5.5 3.8 1.6 4.8 3.2 1.2 5.9 3.6 1.6 7.0 4.3

สิงหาคม 0.6 10.3 5.4 1.7 4.0 2.8 0.7 5.5 3.1 1.9 3.8 2.8 1.2 3.3 2.2 1.8 4.7 3.3 2.3 6.2 4.2

กันยายน 1.5 2.5 2.0 1.4 3.8 2.6 1.8 2.9 2.4 2.5 4.1 3.3 1.7 3.0 2.4 1.9 3.6 2.8 2.4 5.8 4.1

ตุลาคม 1.4 2.8 2.1 1.8 3.7 2.7 1.7 4.0 2.8 2.2 3.5 2.9 2.0 3.7 2.9 2.1 4.0 3.1 2.6 4.7 3.7

พฤศจิกายน 1.7 3.3 2.5 2.2 3.9 3.1 2.0 2.5 2.2 2.4 3.6 3.0 2.1 4.2 3.1 2.4 3.1 2.7 3.5 4.9 4.2

ธันวาคม 2.3 2.0 2.2 2.9 2.9 2.9 2.7 2.6 2.7 2.9 2.8 2.9 2.7 2.8 2.8 2.9 3.1 3.0 3.8 4.1 4.0

รวม 20.0 42.7 28.5 27.7 38.3 29.5 22.4 37.8 27.1 29.4 38.8 30.7 26.4 37.1 28.4 26.9 40.3 30.5 41.3 51.2 41.5เฉลี่ย 1.7 4.7 3.2 2.3 4.3 3.3 1.9 4.2 3.0 2.5 4.3 3.4 2.2 4.1 3.2 2.2 4.5 3.4 3.4 5.7 4.6พิสัย 0.6-2.7 2.0-10.3 2.0-5.4 1.4-3.1 2.9-5.9 2.6-4.2 0.7-2.8 2.5-7.5 2.2-4.2 1.9-3.4 2.8-5.9 2.8-4.4 1.2-3.1 2.8-6.2 2.2-4.6 1.8-2.7 3.1-6.1 2.7-4.5 1.6-5.8 4.1-7.0 3.7-6.1

(บานเชิงแตระ) (คลองปง) (บานวังไทร)(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย)เดือน

ความกระดางของน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร)ตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 12 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 7.6 - - 7.8 - - 7.9 - - 7.9 - - 8.4 - - 8.0 - - 8.4 - -

กุมภาพันธ 4.8 - - 5.6 - - 3.6 - - 5.5 - - 6.1 - - 5.9 - - 4.4 - -

มีนาคม 7.3 - - 5.9 - - 5.2 - - 6.4 - - 8.9 - - 7.1 - - 5.9 - -

เมษายน 8.8 8.3 8.6 8.3 8.6 8.5 8.7 8.3 8.5 8.9 8.7 8.8 9.1 9.8 9.4 9.6 8.9 9.2 9.6 8.4 9.0

พฤษภาคม 9.0 6.4 7.7 7.7 6.8 7.3 9.0 6.7 7.8 7.9 6.9 7.4 8.9 6.8 7.9 7.9 6.8 7.3 9.5 6.9 8.2

มิถุนายน 8.4 8.8 8.6 7.8 8.4 8.1 7.9 8.5 8.2 8.8 8.9 8.8 7.9 8.4 8.1 8.2 8.1 8.2 8.9 9.0 8.9

กรกฎาคม 8.5 10.4 9.4 9.5 10.5 10.0 8.8 11.7 10.3 8.4 11.7 10.0 8.9 10.4 9.6 8.9 9.9 9.4 9.9 12.0 10.9

สิงหาคม 8.1 8.0 8.1 7.1 8.4 7.7 8.0 7.9 8.0 6.8 7.5 7.1 8.2 8.3 8.3 6.9 7.3 7.1 7.1 7.6 7.3

กันยายน 9.7 7.2 8.5 9.6 7.1 8.4 9.5 7.1 8.3 9.7 7.4 8.5 9.7 7.4 8.6 9.8 7.4 8.6 9.7 7.8 8.7

ตุลาคม 11.3 5.1 8.2 11.4 5.3 8.3 11.6 4.8 8.2 11.4 5.7 8.6 11.6 4.7 8.2 11.7 2.2 7.0 11.6 6.3 8.9

พฤศจิกายน 10.8 8.4 9.6 10.9 8.0 9.4 10.5 8.1 9.3 10.7 8.7 9.7 10.8 8.3 9.6 10.9 8.2 9.6 10.7 8.1 9.4

ธันวาคม 8.1 9.0 8.5 8.1 9.3 8.7 7.7 9.7 8.7 8.1 10.1 9.1 8.4 10.3 9.3 8.5 9.0 8.7 8.1 10.3 9.2

รวม 102.3 71.6 77.1 99.7 72.4 76.4 98.3 72.7 77.2 100.5 75.5 78.1 106.8 74.4 78.9 103.3 67.7 75.0 103.6 76.3 80.6เฉลี่ย 8.5 8.0 8.6 8.3 8.0 8.5 8.2 8.1 8.6 8.4 8.4 8.7 8.9 8.3 8.8 8.6 7.5 8.3 8.6 8.5 9.0พิสัย 4.8-11.3 5.1-10.4 7.7-9.6 5.6-11.4 5.3-10.5 7.3-10.0 3.6-11.6 4.8-11.7 7.8-10.3 5.5-11.4 5.7-11.7 7.1-10.0 6.1-11.6 4.7-10.4 7.9-9.6 5.9-11.7 2.2-9.9 7.0-9.6 4.4-11.6 6.3-12.0 7.3-10.9

เดือนตนน้ําคลองทาดี

(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย)

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา (มิลลิกรัมตอลิตร)ตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี

(บานเชิงแตระ) (คลองปง) (บานวังไทร)

ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 13 ปริมาณตะกั่วในน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 2.0 - - 0.0 - - 0 - - 1.0 - - 1.0 - - 0.0 - - 0.0 - -

กุมภาพันธ 1.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - -

มีนาคม 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 1.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - -

เมษายน 1.0 nd 0.5 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 2.0 nd 1.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0

พฤษภาคม 0.0 10.0 5.0 0.0 nd 0.0 0.0 3.0 1.5 0.0 nd 0.0 1.0 nd 0.5 2.0 1.0 1.5 0.0 nd 0.0

มิถุนายน 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 1.0 nd 0.5 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0

กรกฎาคม 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 1.0 0.0 0.5 1.0 0.0 0.5 0.0 0.0 0.0 2.0 0.0 1.0

สิงหาคม 10.0 0.0 5.0 15.0 0.0 7.5 23.0 0.0 11.5 32.0 0.0 16.0 33.0 0.0 16.5 53.0 0.0 26.5 59.0 0.0 29.5

กันยายน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ตุลาคม 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

พฤศจิกายน 110.0 17.0 63.5 170.0 0.0 85.0 160.0 0.0 80.0 210.0 0.0 105.0 130.0 0.0 65.0 120.0 0.0 60.0 160.0 0.0 80.0

ธันวาคม 12.0 19.0 15.5 85.0 0.0 42.5 34.0 0.0 17.0 81.0 0.0 40.5 91.0 0.0 45.5 33.0 0.0 16.5 26.0 0.0 13.0

รวม 136.0 46.0 89.5 270.0 0.0 135.0 217.0 3.0 110.0 327.0 0.0 162.5 259.0 0.0 129.0 208.0 1.0 104.5 247.0 0.0 123.5เฉลี่ย 11.3 5.1 9.9 22.5 0.0 15.0 18.1 0.3 12.2 27.3 0.0 18.1 21.6 0.0 14.3 17.3 0.1 11.6 20.6 0.0 13.7พิสัย 0-110 nd-19 0.0-63.5 0-170 nd-0 0.0-85.0 0-160 nd-3 0.0-80.0 0-210 nd-0 0.0-105.0 0-130 nd-0 0.0-65.0 0-120 nd-1 0.0-60.0 0-160 nd-0 0.0-80.0

ตอนกลางคลองทาดี

(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย) (บานเชิงแตระ) (คลองปง) (บานวังไทร)เดือน

ปริมาณตะกั่วในน้ํา (ไมโครกรัมตอลิตร)ตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 14 ปริมาณทองแดงในน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 2.0 - - 1.0 - - 0.0 - - 4.0 - - 0.0 - - 2.0 - - 4.0 - -

กุมภาพันธ 3.0 - - 4.0 - - 4.0 - - 0.0 - - 1.0 - - 3.0 - - 0.0 - -

มีนาคม 1.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 2.0 - - 0.0 - - 0.0 - -

เมษายน 0.0 38.0 0.0 0.0 38.0 0.0 0.0 45.0 0.0 0.0 46.0 0.0 0.0 49.0 0.0 0.0 33.0 0.0 0.0 39.0 0.0

พฤษภาคม 0.0 nd 0.0 2.0 nd 1.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0

มิถุนายน 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 1.0 0.0 0.0 1.0 0.0 0.0 2.0 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 1.0 0.0

กรกฎาคม 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

สิงหาคม 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

กันยายน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

ตุลาคม 41.0 0.0 20.5 57.0 0.0 28.5 81.0 0.0 40.5 39.0 0.0 19.5 33.0 0.0 16.5 67.0 0.0 33.5 113.0 0.0 56.5

พฤศจิกายน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 9.0 4.5 0.0 6.0 3.0 0.0 5.0 2.5

ธันวาคม 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0

รวม 47.0 38.0 20.5 64.0 38.0 29.5 85.0 46.0 40.5 43.0 47.0 19.5 36.0 60.0 21.0 72.0 39.0 36.5 117.0 45.0 59.0เฉลี่ย 3.9 4.2 2.3 5.3 4.2 3.3 7.1 5.1 4.5 3.6 5.2 2.2 3.0 6.7 2.3 6.0 4.3 4.1 9.8 5.0 6.6พิสัย 0-41 nd-38 0.0-20.5 0-57 nd-38 0.0-28.5 0-81 nd-45 0.0-40.5 0-39 nd-46 0.0-19.5 0-33 nd-49 0.0-16.5 0-67 nd-33 0.0-33.5 0-113 nd-39 0.0-56.5

ตอนกลางคลองทาดี

(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย) (บานเชิงแตระ) (คลองปง) (บานวังไทร)เดือน

ปริมาณทองแดงในน้ํา (ไมโครกรัมตอลิตร)ตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี

ตารางผนวกที่ 15 ปริมาณสังกะสีในน้ํา บริเวณลุมน้ําทาดี ระหวางป พ.ศ. 2545 - 2546

2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ย 2545 2546 คาเฉลี่ยมกราคม 0.0 - - 13 - - 4 - - 0 - - 0 - - 3 - - 11 - -

กุมภาพันธ 4.0 - - 0.0 - - 23.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - -

มีนาคม 6.0 - - 0.0 - - 28.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - - 0.0 - -

เมษายน 0.0 7.0 0.0 0.0 20.0 0.0 0.0 0.0 0.0 11.0 10.0 5.5 0.0 10.0 0.0 0.0 10.0 0.0 71.0 0.0 35.5

พฤษภาคม 0.0 nd 0.0 2.0 nd 1.0 1.0 nd 0.5 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0 0.0 nd 0.0

มิถุนายน 9.0 nd 4.5 22.0 nd 11.0 20.0 nd 10.0 15.0 nd 7.5 16.0 nd 8.0 10.0 nd 5.0 16.0 nd 8.0

กรกฎาคม 26.0 13.0 19.5 7.0 12.0 9.5 17.0 11.0 14.0 24.0 12.0 18.0 15.0 12.0 13.5 25.0 11.0 18.0 12.0 5.0 8.5

สิงหาคม 12.0 3.0 7.5 10.0 2.0 6.0 4.0 6.0 5.0 7.0 6.0 6.5 4.0 3.0 3.5 3.0 0.0 1.5 18.0 2.0 10.0

กันยายน 4.0 0.0 2.0 7.0 0.0 3.5 2.0 0.0 1.0 7.0 0.0 3.5 7.0 0.0 3.5 4.0 0.0 2.0 4.0 0.0 2.0

ตุลาคม 52.0 0.0 26.0 47.0 0.0 23.5 54.0 0.0 27.0 44.0 0.0 22.0 48.0 0.0 24.0 49.0 0.0 24.5 49.0 0.0 24.5

พฤศจิกายน 50.0 0.0 25.0 50.0 0.0 25.0 60.0 7.0 33.5 60.0 0.0 30.0 70.0 3.0 36.5 70.0 7.0 38.5 80.0 9.0 44.5

ธันวาคม 3.0 26.0 14.5 7.0 27.0 17.0 3.0 17.0 10.0 4.0 25.0 14.5 5.0 19.0 12.0 4.0 13.0 8.5 10.0 13.0 11.5

รวม 166.0 49.0 99.0 152.0 61.0 96.5 212.0 41.0 101.0 172.0 53.0 107.5 165.0 47.0 101.0 165.0 41.0 98.0 260.0 29.0 144.5เฉลี่ย 13.8 5.4 11.0 12.7 6.8 10.7 17.7 4.6 11.2 14.3 5.9 11.9 13.8 5.2 11.2 13.8 4.6 10.9 21.7 3.2 16.1พิสัย 0-52 nd-26 0.0-26.0 0-50 nd-20 0.0-25.0 0-60 nd-17 0.0-33.5 0-60 nd-25 0.0-30.0 0-70 nd-12 0.0-36.5 0-70 nd-13 0.0-38.5 0-80 nd-13 0.0-44.5

ปริมาณสังกะสีในน้ํา (ไมโครกรัมตอลิตร)ตนน้ําคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนตนคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี ตนน้ําคลองทาดี ตอนกลางคลองทาดี

เดือน (บานเชิงแตระ) (คลองปง) (บานวังไทร)(คลองทาหา) (คลองลํางา) (บานมะปรางหวาน) (คลองทาชาย)

จุดเก็บตัวอยางน้ําเพื่อศึกษาการฟอกตัวของน้ําตามธรรมชาติบริเวณลุมน้ําทาดี จังหวัดนครศรีธรรมราช

จุดท่ี 1 ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย) จุดท่ี 2 ตนน้ําคลองทาดี (คลองลํางา)

จุดท่ี 3 ตอนตนคลองทาดี (บานมะปรางหวาน) จุดท่ี 4 ตนน้ําคลองทาดี (คลองทาชาย)

จุดท่ี 5 ตอนกลางคลองทาดี (บานเชิงแตระ) จุดท่ี 6 ตนน้ําคลองทาดี (คลองปง)

จุดท่ี 7 ตอนกลางคลองทาดี (บานวังไทร)

ภาพกิจกรรม การเก็บตัวอยางน้ํา