development of educational tool model for self-help...

3
DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL TOOL MODEL FOR SELF-HELP MEAL PLANNING IN TYPE 1 DIABETIC ADOLESCENTS: CARBOHYDRATE COUNTING CONCEPT CHINTANA CHATURAWIT A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF SCIENCE (FOOD AND NUTRITION FOR DEVELOPMENT) FACULTY OF GRADUATE STUDIES MAHIDOL UNIVERSITY 2005 ISBN 974-04-6693-1 COPYRIGHT OF MAHIDOL UNIVERSITY

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL TOOL MODEL FOR SELF-HELP …mulinet11.li.mahidol.ac.th/thesis/2548/cd383/4436480.pdf · 2006-02-27 · วัยรุ นที่เป นเบาหวานชน

DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL TOOL MODEL FOR

SELF-HELP MEAL PLANNING IN TYPE 1 DIABETIC

ADOLESCENTS: CARBOHYDRATE COUNTING CONCEPT

CHINTANA CHATURAWIT

A THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT

OF THE REQUIREMENTS FOR

THE DEGREE OF MASTER OF SCIENCE

(FOOD AND NUTRITION FOR DEVELOPMENT)

FACULTY OF GRADUATE STUDIES

MAHIDOL UNIVERSITY

2005

ISBN 974-04-6693-1

COPYRIGHT OF MAHIDOL UNIVERSITY

Page 2: DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL TOOL MODEL FOR SELF-HELP …mulinet11.li.mahidol.ac.th/thesis/2548/cd383/4436480.pdf · 2006-02-27 · วัยรุ นที่เป นเบาหวานชน

Fac. of Grad. Studies, Mahidol Univ. Thesis /v

การพัฒนาเครือ่งมือส่ือการสอนตนแบบเพือ่การวางแผนการบริโภคอาหารดวยตนเองของผูปวยวัยรุนที่เปนเบาหวานชนิดที่ 1: เทคนิคการนับหนวยคารโบไฮเดรต (DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL TOOL MODEL FOR SELF-HELP MEAL

PLANNING IN TYPE 1 DIABETIC ADOLESCENTS: CARBOHYDRATE COUNTING

CONCEPT)

จินตณา จตุรวิทย 4436480 NUFN/M

วท.ม. (อาหารและโภชนาการเพื่อการพัฒนา)

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ : สุนาฏ เตชางาม, Ph.D. (CLINICAL SCIENCES), ชนิดา ปโชติการ, Ph.D. (HUMAN NUTRITION), วงสวาท โกศัลวัฒน, Ph.D. (NUTRITIONAL

EPIDEMIOLOGY), พัฒน มหาโชคเลิศวัฒนา, M.D. (PEDIATRIC ENDOCRINOLOGY)

บทคัดยอ

เทคนิคการนับหนวยคารโบไฮเดรตเปนหนึ่งในวิธีการวางแผนการบริโภคอาหารสําหรับผูปวยเบาหวาน โดยมุงเนนคารโบไฮเดรตซึ่งเปนสารอาหารหลักสําคัญที่มีผลตอระดับน้ําตาลในเลอืดหลังอาหาร เครื่องมือส่ือการสอนที่เหมาะสมสําหรับใชเปนแนวทางในการวางแผนการบริโภคอาหารโดยอาศัยเทคนิคนี้ นับเปนส่ิงที่สําคญัตอการวางแผนการบริโภคอาหารใหสอดคลองกบัพฤติกรรมการดําเนินชีวิตของผูปวยเพือ่ควบคุมโรคเบาหวานไดดีข้ึน โดยเฉพาะในผูปวยวัยรุนซ่ึงมักตองการความยืดหยุนในการดูแลตัวเองสูงกวาวัยอื่นๆ การศึกษานี้จึงมีวตัถุประสงคเพื่อพฒันา และทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องมือส่ือการสอนตนแบบที่ใชในการวางแผนการบริโภคอาหารดวยตนเองในผูปวยวัยรุนที่เปนเบาหวานชนิดที่ 1 โดยอาศัยเทคนคิการนับหนวยคารโบไฮเดรต ประกอบดวย: 1) หนงัสือภาพการตูนประกอบสําหรับการนับหนวยคารโบไฮเดรต ซ่ึงไดแก 1.1) หนังสือคูมือวางแผนการบริโภคอาหารดวยตนเองโดยใชเทคนิคการนับหนวยคารโบไฮเดรตในระดับเบือ้งตน สําหรับเด็กวัยรุนที่เปนเบาหวานชนิดที่ 1 และ 1.2) หนังสือคูมือรายการอาหารแลกเปลี่ยนเพื่อการนบัหนวยคารโบไฮเดรต; 2) บัตรรูปภาพอาหารสําหรับเกมสการนับหนวยคารโบไฮเดรต โดยนําหลักการสื่อสารและหลกัการใหคําปรึกษา (หลักการใหความรูคูความบันเทิง และหลกัการเรียนรูเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) มาใชเปนแนวทางในการพฒันาเครื่องมือดังกลาว การทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องมือไดทําการศึกษาในวยัรุนที่เปนเบาหวานชนิดที่ 1 จํานวน 20 ราย (อายุเฉลี่ย 15 ป) โดย 1) ประเมินความรูและความเขาใจของผูปวยในเรื่องการวางแผนการบริโภคอาหารดวยตนเองโดยใชเทคนิคการนับหนวยคารโบไฮเดรต กอนและหลังการทดลอง; 2) ประเมินความถูกตองในการรับรูและ มโนทัศนของการนบัหนวยคารโบไฮเดรตของผูปวยจากการใชเครื่องมือส่ือการสอนทีไ่ดพฒันาขึน้ และ 3 ) ประเมินความพึงพอใจของผูปวยในการใชเครื่องมือส่ือการสอนทีไ่ดพัฒนาขึ้น โดยอาศัยการเขากลุม สัปดาหละ 1 คร้ัง เปนเวลา 2 สัปดาห เพื่อตอบแบบสอบถามหรือทําแบบฝกหัดตางๆ ทั้งในหองเรียนและเปนการบาน กอนและหลังการทดลอง ผลการศึกษาพบวา ผูปวยสวนใหญ มีความรูและความเขาใจในเทคนิคการนับหนวยคารโบไฮเดรตเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญภายหลังการใชเครื่องมือส่ือการสอน (P<0.05) โดย 70% ของผูปวยไดคะแนนในระดบัสูง และ 25% ไดคะแนนในระดับกลาง, มีการรับรูและมโนทศัน ในการนับหนวยคารโบไฮเดรตดวยคะแนนในระดับสูง ทางดานความพึงพอใจในเครื่องมือส่ือการสอน ผูปวยมีความ พึงพอใจในระดับดีมาก สรุปไดวาเครื่องมือส่ือการสอนตนแบบที่ไดพัฒนาขึ้นไดรับการยอมรับ และนับเปนเครื่องมือ ส่ือการสอนที่ดึงดดูความสนใจในการเรียนรูสําหรับผูปวยวัยรุนที่เปนเบาหวานชนิดที่ 1

182 หนา ISBN 974-04-6693-1

Page 3: DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL TOOL MODEL FOR SELF-HELP …mulinet11.li.mahidol.ac.th/thesis/2548/cd383/4436480.pdf · 2006-02-27 · วัยรุ นที่เป นเบาหวานชน

Fac. of Grad. Studies, Mahidol Univ. Thesis / iv

DEVELOPMENT OF EDUCATIONAL TOOL MODEL FOR SELF-HELP MEAL

PLANNING IN TYPE 1 DIABETIC ADOLESCENTS: CARBOHYDRATE COUNTING

CONCEPT

CHINTANA CHATURAWIT 4436480 NUFN/M

M.Sc. (FOOD AND NUTRITION FOR DEVELOPMENT)

THESIS ADVISORS: SUNARD TAECHANGAM, Ph.D. (CLINICAL SCIENCES), CHANIDA PACHOTIKARN, Ph.D. (HUMAN NUTRITION), VONGSVAT KOSULWAT, Ph.D. (NUTRITIONAL EPIDEMIOLOGY), PAT MAHACHOKLERTWATTANA, M.D. (PEDIATRIC ENDOCRINOLOGY)

ABSTRACT

Carbohydrate counting (CHO counting) is a meal planning approach for diabetes that focuses on carbohydrate as the primary nutrient affecting postprandial glycemic response. Appropriate educational tools for meal planning using this approach for type 1 diabetic adolescents, who are simultaneously in a physiopsychosocial changing period, is important to allow for variability of food choices and flexibility for their lifestyle as well as to prevent diabetic complications and also to increase quality of life. In this study, we developed and evaluated the effectiveness of the educational tool model for self-help meal planning for type 1 diabetic adolescents using CHO counting concept. The developed educational tool model comprised 2 tools: 1) the booklets of CHO counting as a colorful comic book composed of 2 books, the self-help guidelines for meal planning using CHO counting and food exchange lists for counting CHO and 2) a CHO counting game using photographic food cards. All tools were designed using a Cognitive Behavior Therapy and Edutainment approach to provide dietary knowledge for learning CHO counting. The effectiveness of the developed educational tool model was assessed in a total of 20 type 1 diabetic adolescents (mean age of 15 years) to determine 1) the patient’s knowledge and understanding of meal planning using CHO counting; 2) the accuracy in patient’s perception and conceptualization in CHO counting and 3) the patient’s satisfaction with the developed educational tool model. All evaluations were accomplished by arranging 2 sessions of a group meeting (once a week for 2 weeks) for class practice, homework exercises and using validated questionnaires. The patient’s performances were determined before and at the end of the study. In general, the results revealed that most patients significantly improved their knowledge and understanding of meal planning using CHO counting (p<0.05) with high knowledge level (70% of participants) and moderate knowledge level (25% of participants) after using the developed educational tool model. A majority of the patients understood CHO counting concept at high level and they had high perception and conceptualization in this approach; in addition, they were also satisfied with the developed educational tool model. In conclusion, the developed educational tool model is acceptable as attractive learning tools for type 1 diabetic adolescents. KEY WORDS: CHO COUNTING/ EDUCATIONAL TOOL MODEL/ TYPE 1 DIABETIC ADOLESCENTS/ MEAL PLANNING 182 P. ISBN 974-04-6693-1