คู่มือ การบริหารความเสี่ยง ·...

31
พ.ศ.2553 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ คู่มือ การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

Upload: others

Post on 10-Aug-2021

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

พ.ศ.2553มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

คู่มือ

การบริหารความเสี่ยง

(Risk Management)

การบริหาร

ความเส

ี่ยง

(Risk

Managem

ent)

Page 2: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

คูมือการบริหารความเสี่ยง

(Risk Management)

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

2553

Page 3: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

("-----_tl_llh J

~ ijtl f1 1nlhf l'Hl11lJl *tI'111"~f1 1Hl11JfJ lJ.flltl i '\.J 'IJ tl'1lJ 'I111'Yl tl1'fltI'i 1'lf.f1{] 1'" tI tl" '1 f1 'i W

i '\.Jln~1J'iml1!thrlJ.n ')'1'111~tll'JlJ1i1U ll1J1Jd,)~n1~'\.J 1 ~tlijlI9lQtI'i~ 11' '1rll'vitl hr'I.Jfl" 1m'IJtl'1lJ 'I111'Yltll'fltI

'i1'lf.f1{]1 ,,, tltl,,'1 m w i.ulrJ'\.J ~ij tl i '\.J f)l'i~ 11U'\.J '11'\.J f)l'i1Ji 'I11'i m1lJl*tI'111"~f)l'i 11'1'i~1J1Jf)l 'i m 1J fJ lJ.l11t1i '\.J

19l1lJ'i~lijtl1JflW~m'ilJf)l'if)l'i19l'i1\1~'\.Jll~'\.J~ '\.J~ 1t1f)l'i1i'1'l1'\.J~lJll9l'iJ1'\.Jf)l'im1JfJlJ.l11t1 i'\.J 'Vtff. 2544 ,rtl 6 Ii'1'l1'\.J~ il1'

. I Q.I I oIIC:lt. I..e::t. jJ 0 Q.I -=i Q.I

'I1'\.J1m1J19l'i1\1'i1m1'\.J19l tlflW~ m'ilJf)l'im1\11'1 '\.Jll~'\.J~ '\.J f;i f1 1f1 1J~ 11"11"~flW~m'ilJf)l'im1\111'tl1Jlf1 tl1f11Jf)l'ifl11JfJ lJ

" . tlti1'1U'tltl iJ,,~ 1 fli''1 ~ '1d1Uf1'11'\.Jf)l'im1\111 '\.Jll~ '\.J~ '\.J'~tli' 1Jtll '111'\.J1'Yl1'1f)l'i,)~11'1'i~1J1Jf)l'im1JfJ lJ.flltli'\.Jll"~

f)l'itl'i~W '\.J~"f)l'im1JfJ lJ.flltl i '\.J 1~tltli'1J"~Il1J1Jvl tl f lJ ll" ~ ~ tlll1J1Jf)l'i')~n1'i1tl'11'\.J ~tl'1 tI ~ 1J1l19l1lJ 'i ~ Iij tl1J

i'1 f1 ci 111-vitl i l1'11'tl ~ fl tftl'1 f11J '11 'flf1 f)l 'i 1Ji 'I11'i fl \I f)l 'irl'1 '\.J lijtl'1 ~~ ll" ~ f)l'i 1Ji 'I11'i fl11lJ I*tI'1ij f)l'i fl11J fJ lJ

.flltli '\.J~ij tI'i ~ ff'Yl n~" m lJ1~ 11'lJ f11J 11'.fll'VU 11~~tllJ ~l tI~ tI'\.JlltI,,'1 , tltl ~111'lJ tl

" dl'Um1'\.Jflw~m'ilJf)l'if)l'i~ ~lJffmn (11'f1tl.) ,~Ii'1'I1'\.J ~lJll9l'iJ1'\.Jll"~1911ti '1; f)l'itl'i~f1'\.JfJ W.fll~

f)l'iffmn.l11t1i'\.J lfttl il1'11'm1J'\.J~~lJffmni.ulrJ'\.J mtl1Jf)l'i~1IU'\.J'11'\.JtI'i~f1'\.J fJW.fll~f)l'iffmn 1~tI i '\.J 1911ti'1~

~ 7.4 'i~1J1J1Ji'I11'im1lJl*tI'11-vitl il1'11'm1J'\.J ~~lJffmnij 'i~1J1J1Ji 'I11'ifl11lJl*tI'11~tlf)l'i1Ji 'I11'i 1l"~fl11JfJ lJ{1\I,)tI

fl \lm'ilJll"~ m~1J1'\.Jf)l'if)l'i~ 1lU '\.J'11'\.J~ tl1\11rJ '\.J1J "m~ fl11lJl*tI'I11t11fttl il1''i~i1Jm1lJl*tI'111"~'IJ'\.J1~'lJtl'1m1lJ

1*tI'I11t1~ \I~lfl~~ '\.J i '\.J tl'\.J1fll9ltl~i '\.J 'i~i1J~ tltllJi'1Jll,,~m1JfJlJ'~ 1fttln tl'1f1'\.J'I1i tl1Jnl'Yl1m1lJl '\.Jll'i '1'IJtl'111ty'l11

" . . 'i1lJi'1ijll~'\.Jd1'itl'1~tl.fll1~'il mii '\.J loWtlil1'l1''\.Ji\li1'i~1Jm1'\.J~1'1'l ijm1lJ~~tllJi.u'11'\.J ij f)l'itli'1Jtll '1'i~1J1Jtlti1'1

~ m~ tl'111,,~i'\.J~tlf)l'iltl~tI'\.Jlltl"'11-vi tlf)l'i1J'i'i'lln1'l1lJ1tl'IJtl'111'm1J'\.J19l1lJQ'Yl1iff111'l9lf'l1i tlf1"Q'YlilrJ '\.Jd1flty ll"~ il1'

." . ffUlTItl1Ji 'I1TI,)~f1TI.flltl i'\.Jmn1'Ylmrl'~llU '\.J~ tl'tIlm~m'i'lln 1'l1lJ1m1 Ii'1'l1'\.J~ '~ll~ '1191'1flw~m'ilJm'i1Ji 'I11'ifl11lJl*m

. . Q.I ..e::t. QI.c!I I Q.I..e::t. oC:l,.c=I..e::t. Q.I

'i~ ~1JlJ'I111'Yltil" tI l~tl'i 1lJ f1'\.J ~ \l1'iW 11l'\.J1'Yl1'1 f)l'i1J'i'l11'ifl11lJl11'tI'1'IJ tl'1lJ'I111'Yltl1" tI

~ ij tlf)l'i1Ji 'I11'ifl11lJl*tI'1 n1tl'l11.flltli'\.Jltlf111'l'itl'i~f1tl1J~ 1t11Ji 1J'Yl~ l~ tl1'IJtl'l'l1U'1~ Im~fl11lJi'1J~ ~'lftl1J

'lJtl'1~~I~tl1,rtl'1 i'\.J'j~i1J~l'1'lI'l1~ ~"m1lJ~ 11rJ'\.Ji'\.Jf)l'i~ 1lU'\.J'11'\.J ,f'\.Jl9ltl'\.Jf)l'i~ 1lU '\.J'11'\.Jll"~f)l'i,)~n1'i1tl'11'\.Jl1Y'\.Jtl

~tl~i'1J~~'lftl1Jli'lf11J~lm 'i1lJJ'1'~'i1m1lJll1J1JvltlflJ~i.u~1IU'\.Jf)l'i,n'\.J.fllfl~'\.J1ml~1 mtl1Jll'\.J1'Yl1'1~,)~n1~'\.Jd

'I11'1i1'l1tl1t1'11'\.J~1'1'l i '\.J lJ'I111'Yltl1'fltl\l~ , ~'I11' tltI'i~ Qf1,)i'*i1lJ f11J 'i~ 1J1JtI'i~ f1'\.J fJW.l11~ 'i~1J1Jll~'\.J '11'\.J

l-vitl" ~fl11lJl*tI'1 i '\.J f)l'i ~11U'\.J '11'\.J i '\.J l'J f1.fll'i fl\li1J'1lJ'I111'Yltll'fltI

tI ~ ~ ~ ('i tl'1ffl11'191 'i1 \l1'i tI ~ 'i .11'lJ1J19l fl'l111''Yl1i)

lJ'I111'Yltll'fltlHi1.f1{] l'"tltl"'1mw i '\.J~'i~1J'iml1!tlt1lJ.n

Page 4: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

สารบัญ

การบริหารความเส่ียง

หนา

ความรูเบื้องตน 1

- การบริหารความเส่ียง (Risk Management) 1

- วัตถุประสงคความหมาย ของการบริหารความเส่ียง 2

- ความหมายของการบริหารความเส่ียง 2

- ปจจยัท่ีมีผลตอความเส่ียง 3

- ระบบบริหารความเส่ียง 4

- ประโยชนท่ีไดจากการบริหารความเส่ียง 5

- ประเภทของความเส่ียง 5

กระบวนการบริหารความเส่ียง 6

- การระบุความเส่ียง 7

- ประเมินและวิเคราะหความเส่ียง 7

- พิจารณาความเส่ียง 11

- จัดลําดับความเส่ียง 12

- กิจกรรมควบคุมความเส่ียง 13

- การจัดการความเส่ียง 14

- สรุปผลการดําเนินกจิกรรมในการจดัการความเส่ียง 14

- การติดตามผลและการรายงาน 15

- เอกสารอางอิง 16

ภาคผนวก 17

เอกสารท่ี 1 ระบุความเสี่ยง 18

เอกสารท่ี 2 การประเมินและวิเคราะหความเสี่ยง 19

เอกสารท่ี 3 การกําหนดกิจกรรมควบคุมความเส่ียง 20

เอกสารท่ี 4 แผนการดาํเนินงานการจัดการความเส่ียง 21

เอกสารท่ี 5 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.2) 23

เอกสารท่ี 6 รายงานผลการตดิตามประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.2) 25

Page 5: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

การบริหารความเส่ียงควรเร่ิมตนจากการท่ีผูบริหารตลอดจนบุคลากรในองคกรไดทําความขาใจใหตรงกันตอคํานิยามของความเส่ียง เพื่อใหทุกคนสามารถบงช้ีความเสี่ยงและโอกาสไดในทิศทางเดียวกัน ในการดําเนินงานผูบริหารมักประสบกับเหตุการณท่ีมีความไมแนนอน ตลอดเวลาเหตุการณเหลานั้นอาจมีผลในเชิงลบหรือเชิงบวกตอการบริหารงานขององคกร โดยผลในเชิงลบนั้นถือวาเปนความเส่ียง สวนผลใน เชิงบวกชวยสรางโอกาสใหองคกร ซ่ึงการบริหารความเส่ียงมีความสําคัญดังนี ้

1. สนับสนุนใหองคกรสามารถพิจารณาระดับความเส่ียงท่ีองคกรยอมรับได 2. กําหนดกรอบการดําเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพใหแกองคกร เพื่อใหสามารถบริหารจัดการความ

ไมแนนอนของความเส่ียงได 3. เปนสวนหน่ึงของการกํากับดูแลการดําเนนิงานท่ีดี 4. เปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญในการบริหารงาน 5. สะทอนใหเหน็ภาพรวมของความเส่ียงตางๆ ท่ีสําคัญ 6. สรางฐานขอมูลท่ีมีประโยชนตอการบริหารและปฏิบัติงาน 7. ชวยใหการพฒันาองคกรเปนไปทิศทางเดยีวกัน นอกจากความสําคัญดังกลาวมหาวิทยาลัยตองมีการบริหารความเส่ียงเพือ่ใหองคกรมีการดําเนินงานท่ี

มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สามารถบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายท่ีกําหนด ซ่ึงจะนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืนและเปนการปฏิบัติตามระบบตางๆ ดังนี ้

1. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินวาดวยการกําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ท่ีกําหนดใหหนวยงานของรัฐตองรายงานผลการประเมินความความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในตอคณะกรรมการตรวจเงินแผนดินอยางนอยปละหนึ่งคร้ัง

2. ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในประจําปการศึกษา 2553 องคประกอบท่ี7การบริหาร จัดการ ตัวบงช้ีท่ี 7.4 ซ่ึงเกณฑมาตรฐานดังนี้

2.1 มีการแตงต้ังคณะกรรมการหรือคณะทํางานบริหารความเส่ียงโดยมีผูบริหารระดับสูงและ ตัวแทนท่ีรับผิดชอบพันธกิจหลักของสถาบันรวมเปนคณะกรรมการหรือคณะทํางาน

2.2 มีการวิเคราะหและระบุความเสี่ยงและปจจัยท่ีกอใหเกิดความเส่ียงอยางนอย 3 ดาน ตามบริบทของสถาบัน จากตัวอยางตอไปนี้

2.2.1 ความเส่ียงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานท่ีฯลฯ)

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 6: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

2

2.2.2 ความเส่ียงดานยุทธศาสตรหรือกลยุทธของสถาบัน 2.2.3 ความเส่ียงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ 2.2.4 ความเส่ียงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเส่ียงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การ

บริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพการศึกษา บุคลากรในหนวยงาน ความปลอดภัย เทคโนโลยี/นวัตกรรม ส่ิงแวดลอม

2.2.5 ความเส่ียงดานบุคลากรและความเส่ียงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของ อาจารยและบุคลากร

2.2.6 ความเส่ียงอ่ืน ๆ ตามบริบทของสถาบันและจากเหตุการณภายนอก

3. มีการประเมินโอกาสและผลกระทบของความเส่ียงและจัดลําดับความเส่ียงท่ีไดจากการวิเคราะห ในขอ 2

4. มีการจัดทําแผนบริหารความเส่ียงท่ีมีระดับความเส่ียงสูง และดําเนินการตามแผน 5. มีการติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน และรายงานตอสภาสถาบันเพื่อพิจารณา

อยางนอยปละ 1 คร้ัง 6. มีการนําผลการประเมินและขอเสนอแนะจากสภาสถาบันไปใชในการปรับแผนหรือวิเคราะห

ความเส่ียงในรอบปถัดไป

วัตถุประสงคในการบริหารความเสี่ยง

1. เปนการเตรียมการของมหาวิทยาลัยเพื่อวางแผนปองกันความสูญเสียท่ีจะเกิดข้ึน 2. ลดความกังวลของบุคลากรและผูบริหารที่อาจมีผลใหประสิทธิภาพในการทํางานลดลง 3. เปนการวางแผนเพ่ือรองรับเหตุการณเม่ือเกิดการสูญเสียข้ึน 4. เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการศกึษาท้ังภายในและภายนอก

ความหมายของการบริหารความเสี่ยง

ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสหรือสถานการณท่ีอาจเกิดความผิดพลาดความเสียหายการร่ัวไหลความ สูญเปลาหรือเหตุการณท่ีไมพึงประสงคเปนอุปสรรคตอการทํางานทําใหไมบรรลุถึงความสําเร็จตามเปาหมาย ซ่ึงความเส่ียงมี 2 ลักษณะ คือ ความเส่ียงภายใน (Internal Risk) และความเส่ียงภายนอก (External Risk)

การบริหารความเส่ียง คือ กระบวนการซึ่งทุกคนในองคกรไมวาจะเปนผูบริหารระดับใดหรือบุคลากรในงานสวนไหนตางตองมีสวนรวมในกระบวนการหาและใหขอมูลท่ีเปนประโยชนในการคาดการณ เพื่อการตัดสินใจในการเลือกยุทธศาสตร กําหนดเปาหมาย จัดทําแผนและจัดสรรงบประมาณในการ

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 7: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

3

คาดการณ เพื่อการตัดสินใจในการเลือกยทุธศาสตร กําหนดเปาหมาย จัดทําแผนและจัดสรรงบประมาณ ในการปฏิบัติงาน โดยมุงเปาหมายเพื่อท่ีจะทําใหการปฏิบัติงานสามารถบรรลุวัตถุประสงคท่ีไดต้ังเอาไว หรือลดผลของการเสียหาย (หรือผลกระทบ) ท่ีอาจเกดิข้ึนอันจะมีผลตอความสูญเสียขององคกร

การจัดการความเสี่ยงจึงเปนการบริหารงานภายในขอบเขตท่ีผูท่ีเก่ียวของยอมรับความเส่ียงได เทานั้น มิใชการบริหารความเสี่ยงเพื่อขจัดความเส่ียงในการบริหาร

การบริหารความเส่ียงจึงเปนกระบวนการท่ีมุงสูการตัดสินใจภายใตสภาวะท่ีมีความเสี่ยงตามขอมูล ท่ีไดรับกับการตัดสินใจภายใตภาวะท่ีมีความไมแนนอนของปจจัยท่ีควบคุมได ปจจัยท่ีมีผลตอความเส่ียง

ปจจัยท่ีมีผลตอโอกาสและความรุนแรงของการเกิดความเส่ียงพอจะสรุปไดดังนี ้1. ปจจัยภายในองคกร 1.1 ขนาดขององคกร องคกรขนาดใหญท่ีมีบุคลากร มีงบประมาณ รายรับ รายจาย มีผูเกี่ยวของมากยอมมีความ

เส่ียงตอความเสียหายสูงกวาองคกรขนาดเล็ก 1.2 ความสลับซับซอน

การบริหารกิจการงานท่ีมีความละเอียดออน ยุงยาก สลับซับซอน ยอมมีโอกาสเกิดความเส่ียง ไดมากกวาการบริหารกิจการงานท่ีไมยุงยากซับซอน โดยเฉพาะในเร่ืองระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เร่ืองระบบการควบคุม กํากบัดูแล สาขาเครือขาย

1.3 คุณภาพของระบบควบคุมภายใน ระบบควบคุมภายในท่ีมีคุณภาพยอมลดโอกาสและระดับความรุนแรงของความเส่ียงลงได

และองคกรท่ีมีกฎหมายหรือระเบียบขอบังคับใหองคกรตองมีระบบควบคุมภายในท่ีเขมงวด เพื่อเปนหลัก ประกันความมีธรรมาภิบาล (Good Governance) โอกาสที่จะเกดิความเส่ียงในเร่ืองคุณภาพของระบบ ควบคุมภายในก็จะยิ่งมีมากเทานั้น

1.4 อัตราความเจริญเติบโตขององคกร องคกรท่ีขยายตัวอยางรวดเร็ว หรือมีอัตราความเจริญกาวหนาแบบกาวกระโดดกระบวนการ

ตัดสินใจในการบริหารงานตองแขงกับเวลาโอกาสท่ีจะเสี่ยงตอความผิดพลาดยอมมีสูง 1.5 ความสามารถของฝายบริหาร กิจกรรมใดมีผูบริหารที่หยอนความสามารถ หรือดอยความสามารถโอกาสท่ีจะเกดิความเส่ียงใน 

การบริหารงานก็จะมีมาก

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 8: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

4

1.6 การทุจริตทางการบริหาร

การทุจริตทางการบริหารเปนความเส่ียงท่ีมีอันตรายอยางยิ่ง เพราะเกิดข้ึนไดจากการกระทํา ของผูบริหารที่ขาดความซ่ือตรงตอหนาท่ีและความรับผิดชอบของตน การตรวจสอบทําไดยากกวาปกติทํา ใหมูลคาความเสียหายมีคาสูงยอมสงผลตอความอยูรอดขององคกร

1.7 การเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอมการควบคุม มีการเปล่ียนแปลงสภาพแวดลอมท่ีสงผลกระทบใหเกิดความเส่ียงท่ีสําคัญตอองคกร เช น

การเปล่ียนแปลงระบบงาน การเปล่ียนตัวผูบริหารทําใหนโยบาย ปรัชญา การทํางานเปล่ียนไป การเปล่ียน พนักงานท่ีสําคัญ การเปล่ียนสถานท่ีทํางาน

1.8 พนักงานศีลธรรมเสื่อม การรับพนักงานท่ีไมมีความซ่ือตรง ขาดศีลธรรมไวในองคกร มีความเส่ียงตอความขัดแยง

ความแตกแยก ทําใหขาดความสามัคคีมีการแบงพวก แบงกลุมสูญเสียการควบคุม นํามาซ่ึงความเส่ือม เสียใหกับองคกร

2. ปจจัยภายนอกองคกร 2.1 ความเสี่ยงจากภาครัฐ เชน เสถียรภาพของรัฐบาล การออกกฎหมาย ระเบียบขอบังคับท่ีอาจ

สงผลกระทบตอการดําเนินงาน 2.2 ความเส่ียงจากการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี 2.3 ความเส่ียงจากการผลิตบัณฑติ 2.4 ฯลฯ

ระบบบริหารความเส่ียง

ระบบบริหารความเส่ียง หมายถึง ระบบบริหารปจจัยและควบคุมกิจกรรมการดําเนินงานตางๆ โดยลดมูลเหตุของแตละโอกาสที่จะทําใหเกิดความเสียหาย เพื่อใหระดับของความเส่ียงและผลกระทบท่ีจะ เกิดข้ึนในอนาคตอยู ในระดับท่ีสามารถยอมรับไดประเมินไดควบคุมไดและตรวจสอบไดอยางมีระบบ โดยคํานึงถึงการบรรลุเปาหมายตามภารกิจหลักตามกฎหมายจัดต้ังองคกรและเปาหมายตามแผนปฏิบัติการ ประจําปเปนสําคัญ

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 9: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

5

ประโยชนท่ีไดจากการบริหารความเส่ียง

1. ตระหนกัถึงภยัคุกคามท่ียังมาไมถึง 2. ปรับปรุงระบบงานและการวางแผน 3. ลดการสูญเสียท่ีอาจเกิดข้ึนได 4. สรางโอกาส 5. สรางคุณคาใหการทํางาน 6. สนับสนุนการตัดสินใจของผูบริหาร 7. สรางภาพลักษณท่ีดีใหองคกร 8. ปกปองการปฏิบัติงาน 9. เปนสวนหน่ึงของการบริหารงาน 10. มองเปาหมายในภาพรวม

ประเภทของความเสี่ยง เนื่องจากความเส่ียงมีมากมายหลายเร่ือง หลายแหลงท่ีมา แตความเส่ียงท่ีไดกําหนดไวสําหรับ

สถาบันอุดมศึกษาควรประกอบดวย ความเส่ียงท่ีครอบคลุมดานตางๆ ดังนี้ 1. ความเส่ียงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานท่ี ฯลฯ)

(Resources Risk) คือ ความเส่ียงท่ีเกิดจากการท่ีการเบิกจายงบประมาณไมเปนไปตามแผน งบประมาณถูกตัด งบประมาณท่ีไดรับไมสอดคลองกับสถานการณของภารกิจท่ีเปล่ียนแปลงไปทําใหการจัดสรรไมเพียงพอ รวมระบบเทคโนโลยีและอาคารสถานท่ี

2. ความเส่ียงดานยุทธศาสตรหรือกลยุทธของสถาบัน (Strategic Risk) คือ ความเส่ียงท่ีเกิดจากการกําหนดแผนกลยุทธ แผนดําเนินงานท่ีนําไปปฏิบัติไมเหมาะสมหรือไมสอดคลองกับปจจัยภายในและสภาพแวดลอมภายนอก อันสงผลกระทบตอการบรรลุวิสัยทัศนพันธกิจ หรือสถานะขององคกร แหลงท่ีมาของความเส่ียงดานกลยุทธ สามารถจําแนกได 2 ประเภท คือ ปจจัยความเส่ียงภายนอก ไดแก ภาวการณการแขงขัน การเปล่ียนแปลงนโยบายของรัฐบาล กระแสสังคม การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีปจจัยทางเศรษฐกิจ ปจจัยทางการเมือง สวนปจจัยความเส่ียงภายใน ไดแก ปจจัยภายในท่ีองคกรสามารถควบคุมได แตสงผล กระทบหรือเปนอุปสรรคต อการดําเนินการตามแผนกลยุทธ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ได แก โครงสร างองค กร กระบวนการและวิธีปฏิบัติงาน ความเพียงพอของขอมูลและเทคโนโลยีสําหรับ การใหบริการ เปนตน

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 10: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

6

3. ความเส่ียงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ (Policy and Compliance Risk) คือ ความเส่ียงท่ีเกิดจากการไมสามารถปฏิบัติตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ท่ีเกี่ยวของไดหรือ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับท่ีมีอยูไมเหมาะสมเปนอุปสรรคตอการปฏิบัติงาน

4. ความเส่ียงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเส่ียงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพการศึกษา บุคลากรในหนวยงาน ความปลอดภัย เทคโนโลยี/นวัตกรรม ส่ิงแวดลอม (Operational Risk) คือ ความเส่ียงท่ีเกิดจากการกําหนดการดําเนินการในการปฏิบัติงานของบุคลากร ซ่ึงสงผลตอการปฏิบัติงานตางๆ ขององคกรทําใหไมบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายท่ีกําหนด

5. ความเส่ียงดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารยและบุคลากร (Personnel Risk and Governance Risk) คือ ความเส่ียงท่ีเกิดจาการอาจารยและบุคลากรประพฤติไมเหมาะสมสรางความเสียหายท่ีสงผลตอช่ือเสียงของมหาวิทยาลัยไมวาจะเปนผลจากการดําเนินงานท้ังทางตรงและทางออม สงผลตอภาพพจนและความนาเช่ือถือขององคกร

6. ความเส่ียงอ่ืน ๆ ตามบริบทของสถาบันและจากเหตุการณภายนอก (other Risk) คือ ความเส่ียงท่ีเกิดจากการดําเนินขององคกรท่ีมีผลทําใหเกิดผลกระทบหรือเกิดการเปล่ียนแปลงตอสภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอกองคกร

กระบวนการบริหารความเส่ียง

6

การติดตามผล

5

สรุปผลการดําเนินการ

การจัดการความเส่ียง 4

3

กําหนดกิจกรรมควบคุมความเส่ียง

2

ประเมินและวเิคราะหความเส่ียง

ระบุความเส่ียง 1

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 11: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

7

1. การระบุความเสี่ยง (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี 1 หนา18)

ข้ันตอนการวิเคราะหและระบุความเส่ียงเปนข้ันตอนท่ีสําคัญมาก เปนการทําความเขาใจกับ สาเหตุ

ของการเกิดความเส่ียง ระบุถึงเหตุการณหรือกิจกรรมของกระบวนการปฏิบัติงานท่ีอาจเกิดความ ผิดพลาดความเสียหายและการไมบรรลุวัตถุประสงคท่ีกําหนด รวมท้ังการดูแลปองกันรักษาทรัพยสินของ องคกรวิธีการระบุความเส่ียงขององคกรวิธีหนึ่ง คือการประชุมรวมกันของหนวยงานตางๆในองคกรเพื่อทําการระบุความเสี่ยงรวมกันหรืออาจสงรายละเอียดของขอบเขตงานบริหารความเส่ียงขององคกรใหแตละ หนวยงานประกอบดวยแบบฟอรมการประเมินหนวยงานดานความเส่ียงมาวิเคราะหความเส่ียง การระบุ ความเส่ียงควรประกอบดวยความเส่ียงท่ีครอบคลุมในดานตางๆ ดังนี้

1. ความเส่ียงดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานท่ีฯลฯ)

2. ความเส่ียงดานยุทธศาสตรหรือกลยุทธของสถาบัน 3. ความเส่ียงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ 4. ความเส่ียงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเส่ียงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหาร

งานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพการศึกษา บุคลากรในหนวยงาน ความปลอดภัย เทคโนโลยี/นวัตกรรม ส่ิงแวดลอม

5. ความเส่ียงดานบุคลากรและความเส่ียงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารยและบุคลากร

6. ความเส่ียงอ่ืน ๆ ตามบริบทของสถาบันและจากเหตุการณภายนอก 2. ประเมินและวิเคราะหความเสี่ยง

เปนการประเมินเพื่อวดัความเปนไปไดของโอกาสเกิด (Likelihood Score) และผลกระทบ/ความ

รุนแรง (Impact Score) ของปจจัยเส่ียงท้ัง 6 ดาน โดยนําความเส่ียงท่ีระบุไว แลวท้ังหมดมาพิจารณาเพื่อ จัดลําดับความเส่ียงและการประเมินความเส่ียงมักจะทํา 2 มิติคือ

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 12: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

8

2.1 โอกาส/ความถ่ีท่ีจะเกิด (Probability) หมายถึงความนาจะเปนท่ีจะเกิดเหตุการณท่ีนํามา พิจารณาเกิดข้ึนมากนอยเพยีงใด ซ่ึงจะมีการพิจารณาหาระดับของโอกาสท่ีจะเกดิ ดังนี ้

ระดับ โอกาส ความถ่ี

1 นอยมาก 1 คร้ังในชวง 5ป

2 นอย 1 คร้ังในชวง 2-4 ป

3 ปานกลาง 1 คร้ังในชวง 1 ป

4 มาก 1 คร้ังในชวง 2-6 เดือน

5 สูงมาก 1 คร้ังในชวง 1 เดือน

2.2 ระดับผลกระทบ/ความรุนแรง (Severity/Impact) ระดับความรุนแรงหรือผลกระทบท่ีเกิด จากเหตุการณท่ีเกิดข้ึน หรือคาดคะเนวาจะเกิดเหตุการณนั้น ๆ และเม่ือเกิดข้ึนแลวจะเกิดความรุนแรงหรือ ผลกระทบกับส่ิงตางๆ และความเสียหายท่ีเกิดข้ึนในความเส่ียง ดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยสีารสนเทศ อาคาร สถานท่ีฯลฯ) ดานความเส่ียงดานยุทธศาสตรหรือกลยุทธของสถาบัน ดานความเส่ียงดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ดานความเส่ียงดานการปฏิบัติงาน เชน ความเส่ียงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน ระบบประกันคุณภาพการศึกษา บุคลากรในหนวยงาน ความปลอดภัย เทคโนโลยี/นวัตกรรม ส่ิงแวดลอม ดานความเส่ียงดานบุคลากรและความเส่ียง ดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารยและบุคลากร และดานความเส่ียงอ่ืน ๆ ตามบริบทของสถาบันและจากเหตุการณภายนอก

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 13: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

9

ดานทรัพยากร (การเงิน งบประมาณ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อาคาร สถานท่ีฯลฯ)

ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด

1 ตํ่ามาก ไมเกิน 10,000 บาท

2 ตํ่า 10,001 – 50,000 บาท

3 ปานกลาง 50,001 – 250,000 บาท

4 สูง 250,001 – 10,000,000 บาท

5 สูงมาก มากกวา 10,000,000 บาท

ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด

1 ตํ่ามาก สําเร็จตามแผน 91 - 100 %

2 ตํ่า สําเร็จตามแผน 81 - 90 %

3 ปานกลาง สําเร็จตามแผน 71 - 80 %

4 สูง สําเร็จตามแผน 61 - 70 %

5 สูงมาก สําเร็จตามแผน 1- 60 %

ดานยุทธศาสตรหรือกลยุทธของสถาบัน

ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด

1 ตํ่ามาก สําเร็จตามแผน 91 - 100 %

2 ตํ่า สําเร็จตามแผน 81 - 90 %

3 ปานกลาง สําเร็จตามแผน 71 - 80 %

4 สูง สําเร็จตามแผน 61 - 70 %

5 สูงมาก สําเร็จตามแผน 1- 60 %

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 14: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

10

ดานนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ

ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด

1 ตํ่ามาก การไมปฏิบัติตามกฎ ระเบียบขอบังคับท่ีไม มีนัยสําคัญ

2 ตํ่า การละเมิดขอกฎหมายท่ีไมมีนัยสําคัญ

3 ปานกลาง การฝาฝนกฎขอกฎหมายท่ีสําคัญ ท่ีมีการสอบสวนหรือรายงาน ไปยังหนวยงาน

ท่ีเกี่ยวของ รวมท้ังการดําเนนิคดีและ/หรือเรียกรองคาเสียหายหากเปนไปได

4 สูง การละเมิดขอกฎหมายท่ีสําคัญ

5 สูงมาก การฟองรองดาํเนินคดแีละ เรียกรองคาเสียหายท่ีสําคัญ ซ่ึงเปนคดีท่ีสําคัญมาก

รวมถึงการฟองรองท่ีเกิดจากการรวมตัวกันของผูท่ีไดรับความเสียหาย

ดานการปฏิบัติงาน เชน ความเสี่ยงของกระบวนการบริหารหลักสูตร การบริหารงานวิจัย ระบบงาน

ระบบประกันคุณภาพการศึกษา บุคลากรในหนวยงาน ความปลอดภัย เทคโนโลยี/นวัตกรรม ส่ิงแวดลอม

ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด

1 ตํ่ามาก สําเร็จตามแผน 91 - 100 %

2 ตํ่า สําเร็จตามแผน 81 - 90 %

3 ปานกลาง สําเร็จตามแผน 71 - 80 %

4 สูง สําเร็จตามแผน 61 - 70 %

5 สูงมาก สําเร็จตามแผน 1- 60 %

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 15: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

11

ดานบุคลากรและความเสี่ยงดานธรรมาภิบาล โดยเฉพาะจรรยาบรรณของอาจารยและบุคลากร

ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด

1 ตามาก มีผลกระทบเล็กนอยและในระยะเวลาส้ันๆ นอยกวา 1 สัปดาห

2 ตา มีผลกระทบนอยและในระยะเวลาส้ันๆ ระหวาง 1 สัปดาห – 1 เดือน

3 ปานกลาง มีผลกระทบปานกลางและในระยะเวลาส้ันๆ ระหวาง 1-6 เดือน

4 สูง มีผลกระทบอยางมากและในระยะเวลาส้ันๆ /ปานกลาง ระหวาง 6-12 เดือน

5 สูงมาก มีผลกระทบอยางมากและในระยะเวลานาน มากกวา 1 ป

ดานอ่ืน ๆ ตามบริบทของสถาบันและจากเหตุการณภายนอก

ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด

1 ตามาก มีผลกระทบเล็กนอยสามารถแกไขหรือควบคุมได

2 ตา มีผลกระทบนอยตองใชเวลาในการแกไขในระยะเวลาไมเกิน 1 สัปดาห

3 ปานกลาง มีผลกระทบปานกลางตองใชเวลาในการแกไข ระหวาง 1 สัปดาห – 1 เดือน

4 สูง มีผลกระทบ รุนแรง ตองใชเวลาในการแกไขระหวาง 1 – 6 เดือน

5 สูงมาก

มีผลกระทบรุนแรงมาก ตองใชทรัพยากรและเวลานานในการแกไข มากกวา 6 เดือน

2.3 การพิจารณาความเส่ียง (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี 2 หนา 19)

หลังจากประเมินความเปนไปไดของโอกาสท่ีเกิด (Likelihood Score) และผลกระทบ/ความ

รุนแรง (Impact Score) ของปจจัยเส่ียงตางๆ โดยนําความเส่ียงท่ีระบุไวแลวท้ังหมดมาพิจารณาความเส่ียง ดังนี ้

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 16: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

12

ความเสี่ยงท่ียอมรับได ความเสี่ยงท่ียอมรับไมได

5 5 10 15 20 25

S1

4 4 8 12 16 F1

20

O1 P1

โอกาสท่ีจะเกิด 3 3 6 9 12 15 ความเสี่ยงท่ียอมรับไมได

2 2 4 6 8 10

1 1 2 3 4 5 ความเสี่ยงท่ียอมรับได

1 2 3 4 5

ความรุนแรง

มีคาระหวาง 20 - 25 (สูงมาก)

มีคาระหวาง 10 ‐ 19 (สูง)

มีคาระหวาง 1 - 9 (ตา)

2.4 จัดลําดับความเส่ียง (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี2 หนา 19)

ระดับความเส่ียงท่ีเกิดจากความสัมพันธระหวางระดับความรุนแรงกับระดับโอกาสท่ีจะเกดิซ่ึง

มีตัวเลขระดับของความเส่ียงอยูท่ี 3 ระดับ โดยแตละระดบัจะมีความหมายของความเส่ียงและการปฏิบัติ

เพื่อใชในการบริหารความเส่ียงต อไปดังตาราง

3 ระดับความเส่ียงสูงมาก มีคาระหวาง20 -25 ความเส่ียงยอมรับไมได

2 ระดับความเส่ียงสูง มีคาระหวาง10 - 19 ความเส่ียงสูง

1 ระดับตาหรือปานกลาง มีคาระหวาง 1 - 9 ความเส่ียงท่ียอมรับได

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 17: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

13

ตารางแสดงระดับความเส่ียง (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี 2 หนา 19)

ระดับ ความเสี่ยง การปฏิบัติและเวลาท่ีใช 3 ความเส่ียงท่ียอมรับไมได งานจะเร่ิมหรือทําตอไปไมไดจนกวาจะลดความเส่ียงลงถาไม

สามารถลดความเส่ียงลงไดถึงแมจะใชความพยายามอยางเต็มท่ีแลวก็ตามจะตองหยุดทํางานนั้น

2 ความเส่ียงสูง ตองลดความเส่ียงกอนท่ีจะเร่ิมทํางานได ตองจัดสรรทรัพยากรและมาตรการใหเพียงพอเพื่อลดความเส่ียงนัน้เม่ือความเส่ียงเกี่ยวของกับงานท่ีกําลังทําอยูจะตองทําการแกไขอยางเรงดวน

1 ความเส่ียงยอมรับได ไมตองมีการควบคุมเพิ่มเติม การพิจารณาความเส่ียงอาจจะทําเม่ือเห็นวาคุมคาหรือการปรับปรุงไมตองเสียคาใชจายเพิ่มข้ึน การติดตามตรวจสอบยังคงตองทําเพื่อใหแนใจวาการควบคุมยังคงมีอยู

เม่ือหนวยงานมีผลสรุปจํานวนกิจกรรมความเส่ียงในแตละระดับแลว หนวยงานจะตองทําการ ควบคุมกิจกรรมท่ีมีความเส่ียงสูงระดับ 3 ระดับ 2 ถือวามีนัยสําคัญใหวางแผนการควบคุมและนําเสนอ ตอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาในภาพรวมตอไป สําหรับกิจกรรมท่ีมีความเส่ียงท่ีระดับ 1 เม่ือพิจารณาจาก ระดับความเส่ียงแลวเห็นวาหนวยงานสามารถดําเนินการไดดวยตนเองจึงไมตองรายงาน แตความเส่ียงใน ระดับ 3 และ 2 หนวยงานจะตองจัดทําแผนดําเนินการควบคุมอยางเปนทางการและตองรายงานผลการ ดําเนินการตอคณะกรรมการบริหารความเส่ียง

3. กิจกรรมควบคุมความเส่ียง (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี 3 หนา 20)

กิจกรรมควบคุมความเส่ียง เปนกระบวนการปฏิบัติงานท่ีทุกคนทุกระดับในองคกรรวมกัน กําหนดข้ึน เพื่อสรางความม่ันใจในการดําเนินการอยางสมเหตุสมผล ในการบรรลุวัตถุประสงคขององคกร หรือหนวยงาน ซ่ึงกิจกรรมควบคุมความเส่ียงมีการประเมินดังนี ้

3.1 การดําเนินการควบคุมเพื่อปองกันเปนการกําหนดกิจกรรมท่ีนํามาใชในควบคุมความเส่ียง 3.2 การควบคุมท่ีมีอยูแลวเปนกจิกรรมท่ีจะนํามาใชในควบคุมความเส่ียง ท่ีมีอยูและยังไมมีหรือ

มีแตยังไมสมบูรณ โดยใชเคร่ืองหมาย √ หมายถึง มีอยูแลว X หมายถึง ไมมี และ O หมายถึง มีแตไม

สมบูรณ

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 18: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

14

3.3 ผลของการควบคุมท่ีมีอยูแลวเปนท่ีทํากิจกรรมในการควบคุมความเส่ียง โดยใชเคร่ืองหมาย

√ หมายถึง ไดผลตามความคาดหมาย X หมายถึง ไมไดผลตามความคาดหมาย O หมายถึง ไดผลแตยังไม สมบูรณ

4. การจัดการความเสี่ยง (Risk management) (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี 4 หนา 21-22)

เม่ือความเส่ียงไดรับการประเมินและบงช้ีตามระดับความสําคัญแลวตองมีการประเมินวิธีการ จัดการความเส่ียงท่ีสามารถนําไปปฏิบัติไดเพื่อใหการบริหารความเส่ียงมีประสิทธิผล ผูประเมินตองเลือก วิธีการจัดการความเส่ียงอยางใดอยางหน่ึงหรือหลายวิธีรวมกัน เพื่อลดระดับโอกาสท่ีจะเกิดข้ึนและความ รุนแรง (ผลกระทบ) ของเหตุการณใหอยูในชวงท่ีองคกรสามารถยอมรับได (Risk Tolerance) หลักการ ตอบสนองความเส่ียงมี4ประการ (4T) คือ

4.1 การยอมรับ (Take) ความเส่ียงท่ีเหลืออยูในปจจุบันอยูภายในระดับท่ีตองการและยอมรับได แลวโดยไมตองมีการดําเนินการเพิ่มเติมเพื่อลดโอกาสหรือความรุนแรงท่ีอาจเกิดข้ึนไดอีก

4.2 การลดหรือควบคุม (Treat) การดําเนินการเพ่ิมเติมเพื่อลดโอกาสที่อาจเกิดข้ึนหรือความ รุนแรงของความเส่ียงใหอยูในระดับท่ียอมรับได

4.3 การถายโอนหรือกระจาย (Transfer) การโอนหรือการกระจายความรับผิดชอบกับผูอ่ืนใน การจัดการความเส่ียง

4.4 การหยุดหรือการหลีกเล่ียง (Terminate) การหยุดหรือการดําเนินการเพ่ือหลีกเล่ียงเหตุการณ ท่ีกอใหเกิดความเส่ียงผูบริหารควรจัดการลดระดับความเส่ียงตามหลักการตอบสนองขางตนและดําเนินการ ประเมินความเส่ียงอีกคร้ังหลังจากท่ีไดมีการจัดการความเส่ียงในชวงเวลาท่ีเหมาะสมเพื่อดูวาการบริหาร ความเส่ียงมีประสิทธิผลหรือไม

5. สรุปผลการดําเนินกิจกรรมในการจัดการความเสี่ยง (แบบรายงาน ปย.2) (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี 5 หนา 23 - 24)

สรุปผลกิจกรรมท่ีใชในการจัดการความเส่ียงประกอบดวย ความเส่ียงท่ีเกิดข้ึน การควบคุม ระดับ ความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง กิจกรรมท่ีควบคุม ระยะเวลาการดําเนินงาน เพื่อใหแตละหนวยงาน ดําเนินการจัดการความเส่ียงตามกิจกรรมและระยะเวลาท่ีกําหนดไว

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 19: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

15

6. การติดตามผลและการรายงาน (Risk monitoring) (แบบติดตาม ปย.2) (ดูท่ีภาคผนวก เอกสารท่ี 6 หนา 25-26)

การติดตามผลเพ่ือใหเกิดความมั่นใจวาความเส่ียงไดมีการควบคุมและจัดการอยางมีประสิทธิผลจึงตองมีการติดตามผลประกอบดวย ความเส่ียง กิจกรรมท่ีควบคุม ผลลัพธของการทํากิจกรรม ระยะเวลาการ ดําเนินงาน ความคืบหนปญหาและอุปสรรค ซ่ึงมีการติดตามผลดังนี้

6.1 หนวยงานท่ีมีความเส่ียงติดตามประเมินวิเคราะหและบริหารความเส่ียงอยางสมาเสมอ ระบบ การควบคุมภายในท่ีวางไวเพียงพอเหมาะสมมีประสิทธิภาพมีการปฏิบัติงานจริงและมีประสิทธิผลสามารถ ปองกันหรือลดความเส่ียงท่ีอาจเกิดข้ึน

6.2 มีการตรวจสอบเพ่ือแนะนําใหปรับปรุงขอบกพรองใหเหมาะสมกับเวลา 6.3 มีการรายงานผลการบริหารความเส่ียงตอคณะกรรมการบริหารความเส่ียง

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 20: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

16

เอกสารอางอิง คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยนเรศวร. 2552. คูมือการบริหารความเส่ียง. เขาถึงไดท่ี

http://www.osun.org สํานักงานคณะกรรมการพฒันาระบบราชการ. 2552. การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ

คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา สถาบันพัฒนาครูคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2551. แผนบริหารความเสี่ยง. เขาไดท่ี

http://www.nidtep.go.th/website/files/risk.doc สํานักงานปลัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย. 2551. แผนบริหารความเส่ียง.

เขาถึงไดท่ี http://blog.m-society.go.th/media/users/audit/Riskplan.doc สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 2554. คูมือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากดั ภาพพิมพ. พิมพคร้ังท่ี 3 กุมภาพนัธ 2554.

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 21: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

17

ภาคผนวก

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 22: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

18

เอกสารที่ 1

ระบุความเสีย่ง

หนวยงาน .................................................................................................................................................................................................................................................

ความเสี่ยง (ภารกิจหลัก/กิจกรรมของหนวยงาน) ปจจัยเสี่ยง

หมายเหตุ S1 มีคาระหวาง 20 - 25 (สูงมาก) , F มีคาระหวาง 10 ‐ 19 (สูง) และ O , P มีคาระหวาง 1 - 9

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 23: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

19

เอกสารที่ 2

การประเมินและวิเคราะหความเสี่ยง

หนวยงาน .................................................................................................................................................................................................................................................

ความเสี่ยง รายละเอียดความสูญเสีย โอกาสที่จะเกิด ผลกระทบ/ คะแนนความเสี่ยง

(ภารกิจหลัก/กิจกรรมของหนวยงาน) (ปจจัยเสี่ยง)

(1) ความรุนแรง (ระดับความเสี่ยง) ลําดับความเสี่ยง

(2) (1) x (2)

หมายเหตุ 1. เลือกกิจกรรมทีม่ีความเสีย่งสูง (อยูในระดับ 2 หรือ 3) ตองนํามาจัดการความเสี่ยงตอไป

2. ระดับความเสี่ยง 3 มีคาระหวาง 20 - 25 (ความเสี่ยงที่ยอมรับไมได) , 2 มีคาระหวาง 10 ‐ 19 (ความเสี่ยงสูง) และ 1 มีคาระหวาง 1 - 9 (ความเสี่ยงยอมรับได)

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 24: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

20

เอกสารที่ 3

การกําหนดกิจกรรมควบคุมความเสี่ยง หนวยงาน …………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………

ลําดับ ความเสี่ยง (ภารกิจหลัก/กิจกรรม

ของหนวยงาน) (1)

การควบคุมที่ควรจะมี

(2)

การควบคุมที่มีอยูแลว

(3)

การควบคุมที่มี อยูแลวไดผลหรือไม

(4)

วิธีจัดการความเสี่ยง

(5)

หมายเหตุ

(6)

...... ยอมรับ

.…. ควบคุม ..... ถายโอน ...... หลีกเลี่ยง

หมายเหตุ ชอง 3 √ หมายถึง มี, O หมายถึง มีแตไมสมบูรณ , X หมายถึง ไมมี

ชอง 4 √ หมายถึง ไดผลตามที่คาดหมาย , O หมายถึง ไดผลบางแตไมสมบูรณ , X หมายถึง ไมไดผลตามที่คาดหมาย

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 25: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

21

เอกสารที่ 4

แผนการดําเนินงานการจัดการความเสี่ยง

หนวยงาน ...............................................................................................................................................................................................................................................

กระบวนการปฏิบัตงิาน/ ระดับ การจัดการ ความเสี่ยงที่ยงัมีอยู กิจกรรมการควบคุม กําหนดเสร็จ / โครงการ/กิจกรรม/ดานของงานที่ การควบคุมที่มีอยู ความ ความเสี่ยง (ปจจัยเสี่ยง) (แผนการปรับปรุงการควบคมุ) ผูรับผิดชอบ

ประเมินและวัตถุประสงคของ เสี่ยง

การควบคุม (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7)

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 26: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

22

ชื่อผูรายงาน........................................................................... ชื่อหัวหนาสวนงาน............................................................... ตําแหนง............................................................... วันที่................ เดือน..................พ.ศ. ................

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 27: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

23

เอกสารที่ 5

แบบ ปย.2

ชื่อสวนงานยอย ................................................ (คณะ / วิทยาเขต / วิทยาลัย / สํานัก / สวน)

รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน

สําหรับปสิ้นสุดวันที่...30…. เดือน.......กันยายน..... พ.ศ. ....25xx........

กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/ การควบคุมที่มีอยู การประเมินผล ความเสี่ยงที่ยงัมีอยู การปรับปรุงการควบคุม กําหนดเสร็จ/ หมายเหต ุ

กิจกรรม/ดานของงานที่ประเมินและ การควบคุม ผูรับผิดชอบ

วัตถุประสงคของการควบคุม

(เอกสารที่4 ชอง1) (เอกสารที่4 ชอง2) (เอกสารที่3 ชองที่4) (เอกสารที่ 4ชอง 5) (เอกสารที่4 ชอง 6) (เอกสารที่4

ชอง7)

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 28: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

24

ชื่อผูรายงาน...........................................................................

ชื่อหัวหนาสวนงาน...............................................................

ตําแหนง............................................................... วันที่................ เดือน..................พ.ศ. ..............

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 29: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

25

เอกสารที่ 6

แบบติดตาม ปย.2

ชื่อสวนงานยอย ...............................................(คณะ / วิทยาเขต / วิทยาลัย / สํานัก / สวน)

รายงานผลการติดตามประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน

สําหรับปสิ้นสุดวันที่...30…. เดือน.......กันยายน..... พ.ศ. ....25xx........

รอบระยะเวลา 6 เดือน เริ่ม ...................................ถึง..............................................

กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/ การประเมินผล ความเสี่ยงที่ การปรับปรุงการ กําหนดเสร็จ/ ผลการดําเนนิการ

ปญหาและอุปสรรค

กิจกรรม/ดานของงานที่ประเมิน การควบคุม ยังมีอยู ควบคุม ผูรับผดิชอบ

และวัตถุประสงคของการควบคุม

...... ดําเนนิการแลวเสร็จตามกําหนด ....... ดําเนินการแลว ลาชากวากําหนด ....... ยังไมดาํเนินการ ........ อยูระหวางดําเนินการ

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 30: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

26

ชื่อผูรายงาน...........................................................................

ชื่อหัวหนาสวนงาน............................................................... ตําแหนง...............................................................

วันที่................ เดือน..................พ.ศ. ................

การบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ จังหวัดปทุมธานี

Page 31: คู่มือ การบริหารความเสี่ยง · การบริหารความเส ี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงควรเร

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

1 ม. 20 ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 13180โทรศัพท์ 0 2529 0674-7 ต่อ 113 , 248โทรสาร 0 2529 2580

www.vru.ac.th

valaya alongkorn rajabhat univercity under the royal patronage