ค ำน ำ - ocsc.go.th · ค ำนิยม ในปงบประมาณ พ.ศ. 2559...

512
คำนำ สำนักงำน ก.พ. ได้จัดกำรอบรมหลักสูตร “กำรเสริมสร้ำงคุณลักษณะส่วนบุคคลและ ทักษะกำรทำงำนสำหรับข้ำรำชกำรผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS Capability Development Program)” ในช่วงเดือนพฤศจิกำยน ถึง ธันวำคม 2558 เพื่อพัฒนำข้ำรำชกำรผู้มี ผลสัมฤทธิ์สูงรุ่นใหม่ให้มีควำมพร้อมสำหรับกำรปฏิบัติงำนในบริบทในกำรบริหำรจัดกำร ภำครัฐที่ปรับเปลี่ยนไป สร้ำงบุคลำกรภำครัฐที่มีคุณภำพ และมีศักยภำพรองรับ กำรปฏิบัติงำนในบริบทสำกล หลักสูตรกำรเสริมสร้ำงคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะกำรทำงำนสำหรับข้ำรำชกำร ผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง รุ่นที่ 11 นี้ เป็นกำรสร้ำงควำมรู้ระดับพื้นฐำนตำมกรอบกำรฝึกอบรมและ พัฒนำ (Training and Development Roadmap) ของข้ำรำชกำรผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ซึ่งมีกำรพัฒนำใน 5 Modules ประกอบด้วยกำรเสริมสร้ำงองค์ควำมรู้ คุณลักษณะ ส่วนบุคคล ทักษะกำรคิดวิเครำะห์เพื่อแก้ปัญหำและตัดสินใจ ประสบกำรณ์จำกกำรศึกษำ ดูงำนในสำธำรณรัฐเกำหลี และกำรบูรณำกำรองค์ควำมรู้และประสบกำรณ์เพื่อทำโครงกำร กลุ่มพัฒนำภำครำชกำรไทย นอกจำกนี้ ผู้รับทุนทั้ง 87 ท่ำน ได้บูรณำกำรองค์ควำมรู้และประสบกำรณ์ จำกกำรศึกษำดูงำนและประมวลออกมำได้เป็นบทวิเครำะห์ที่สะท้อนให้เห็นถึงแง่มุมต่ำง ๆ และข้อเสนอเพื่อพัฒนำงำนที่จะก่อให้เกิดกำรพัฒนำ ต่อยอด รวมทั้งประยุกต์ใช้กับ ส่วนรำชกำรต้นสังกัดของผู้รับทุนและประเทศไทยต่อไป สำนักงำน ก.พ. หมายเหตุ : บทความทั้งหมดนี้เขียนขึ้นจากประสบการณ์ของผู้รับทุน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดความรู้และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม เนื้อหาในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ซึ่งไมผูกพันกับหน่วยงานต้นสังกัดและสานักงาน ก.พ. แต่อย่างใด

Upload: others

Post on 03-Aug-2020

8 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ค ำน ำ

    ส ำนักงำน ก.พ. ได้จัดกำรอบรมหลักสูตร “กำรเสริมสร้ำงคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะกำรท ำงำนส ำหรับข้ำรำชกำรผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS Capability Development Program)” ในช่วงเดือนพฤศจิกำยน ถึง ธันวำคม 2558 เพ่ือพัฒนำข้ำรำชกำรผู้ มี ผลสัมฤทธิ์สูงรุ่นใหม่ให้มีควำมพร้อมส ำหรับกำรปฏิบัติงำนในบริบทในกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐที่ปรับเปลี่ยนไป สร้ำงบุคลำกรภำครัฐที่มีคุณภำพ และมีศักยภำพ รองรับ กำรปฏิบัติงำนในบริบทสำกล หลักสูตรกำรเสริมสร้ำงคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะกำรท ำงำนส ำหรับข้ำรำชกำรผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง รุ่นที่ 11 นี้ เป็นกำรสร้ำงควำมรู้ระดับพ้ืนฐำนตำมกรอบกำรฝึกอบรมและพัฒนำ (Training and Development Roadmap) ของข้ำรำชกำรผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ซึ่งมีกำรพัฒนำใน 5 Modules ประกอบด้วยกำรเสริมสร้ำงองค์ควำมรู้ คุณลักษณะ ส่วนบุคคล ทักษะกำรคิดวิเครำะห์เพ่ือแก้ปัญหำและตัดสินใจ ประสบกำรณ์จำกกำรศึกษำ ดูงำนในสำธำรณรัฐเกำหลี และกำรบูรณำกำรองค์ควำมรู้และประสบกำรณ์เพ่ือท ำโครงกำรกลุ่มพัฒนำภำครำชกำรไทย นอกจำกนี้ ผู้ รับทุนทั้ ง 87 ท่ำน ได้บูรณำกำรองค์ควำมรู้และประสบกำรณ์ จำกกำรศึกษำดูงำนและประมวลออกมำได้เป็นบทวิเครำะห์ที่สะท้อนให้เห็นถึงแง่มุมต่ำง ๆ และข้อเสนอเพ่ือพัฒนำงำนที่จะก่อให้เกิดกำรพัฒนำ ต่อยอด รวมทั้งประยุกต์ใช้ กับ ส่วนรำชกำรต้นสังกัดของผู้รับทุนและประเทศไทยต่อไป ส ำนักงำน ก.พ.

    หมายเหตุ: บทความทั้งหมดนี้เขียนข้ึนจากประสบการณ์ของผู้รับทุน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพ่ือถ่ายทอดความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรม เนื้อหาในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ซึ่งไม่ผูกพันกับหน่วยงานต้นสังกัดและส านักงาน ก.พ. แต่อย่างใด

  • ค ำนิยม

    ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา ส านักงาน ก.พ. ได้จัดสรรทุนรัฐบาลเพ่ือฝึกอบรมระยะสั้นให้แก่ข้าราชการผู้มีผลสั มฤทธิ์ สู ง รุ่ น ใหม่จ านวน 87 คน ภายใต้หลั กสู ตร “การเสริมสร้างคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะการท างานส าหรับข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง” ซึ่งข้าราชการผู้เข้าร่วมโครงการได้มีโอกาสเรียนรู้บทเรียน แนวทางการพัฒนาและ การเพ่ิมขีดความสามารถของประเทศเพ่ือก้าวไปสู่ประเทศ แนวหน้าในเวทีระดับโลกผ่านประสบการณ์การศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐเกาหลี และได้ถ่ายทอดบทเรียนประสบการณ์ออกมาเป็นบทความพร้อมข้อ เสนอแนวคิด เ พ่ือ พัฒนา ส่วนราชการและประเทศ ดังปรากฏในหนังสือฉบับนี้ ส านักงาน ก.พ. จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือรวมเล่มบทความนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อท่าน ทั้งเพ่ือเป็นการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ พัฒนาแนวคิดและแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพในราชการเพ่ือพัฒนาหน่วยงาน พัฒนาระบบราชการ หรือพัฒนาประเทศได้ไม่มากก็น้อย

    (ม.ล.พัชรภากร เทวกุล)

    รองเลขาธิการ ก.พ. ปฏิบัติราชการแทนเลขาธิการ ก.พ.

  • สารบัญ หมวดที ่1 การพฒันาทางวทิยาศาสตร ์เทคโนโลย ีนวตักรรมและเศรษฐกจิ สรา้งสรรค ์

    บทความ หน้า

    บทเรียนจากสาธารณรัฐเกาหลี ยุทธศาสตร์ชาติการปฏิรูปการศึกษาไทยกับการก้าวข้ามกบัดักประเทศรายไดป้านกลาง

    นางสาวณัฐนรีย์ สีหะวงษ์ 3

    เกาหลีใต้ ต้นแบบแห่งการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นางสาวสปุรียา กลิน่สุวรรณ 7

    นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของเกาหลีใต้ยุคใหม ่บทเรียนสู่การพัฒนาในบริบทของประเทศไทย

    นางสาวสุพัตรา ศรีภูมิเพชร 11

    นวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงสู่ความส าเร็จของภาครัฐ และ ประเทศไทย

    นางสาวศศิธร ตรีมรรค 18

    นวัตกรรม : กุญแจสูป่ระตูก้าวขา้มกับดกัประเทศรายได้ปานกลาง นางสาวอิสราภรณ์ ชัยนะกุล 23

    นวัตกรรม เคร่ืองมือส าคัญในการพัฒนาประเทศ นางสาวสิรินิภา สธุาธรรม 29

    ศูนย์เศรษฐกิจสร้างสรรค์และนวัตกรรมแห่งคย็องกี: กรณีศึกษาส าหรับการส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแก่ธุรกิจเกิดใหม่และวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของ สาธารณรัฐเกาหล ี

    นายสมรัฐ พันธ์อไุร

    33

    มาตรการทางภาษีสนับสนนุการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี หนึ่งแรงขับเคลื่อนส าคัญเพื่อก้าวย่างที่มัน่คงของประเทศไทย

    นางสาวพรดาว ภัททกวงศ ์41

    ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะบางประการเกี่ยวกบัการเปลี่ยนแปลง ของราชการไทยอนัเกิดจากการฝึกอบรมหลักสูตรการเสริมสร้างคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะการท างานส าหรับข้าราชการ ผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง ประจ าปี 2559

    นางสาวณิชาภัทร นาวาประดิษฐ์

    46

    Creative Industry เพื่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นางสาววนัมาฆ์ วานิชถาวร 52

    สู่วันขา้งหนา้ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม นางสาวจิตราภรณ์ อัมระปาล

    57

  • บทความ หน้า

    เทคโนโลยีด้านการเกษตรกับวิถเีกษตรกรในอนาคต นางสาวสุพรรณิการ์ ปักเคธาติ

    62

    บทความสรุปความรู้จากการฝึกอบรม ณ สาธารณรัฐเกาหลีใต้ และข้อเสนอเรื่อง ศนูยบ์ริการข้อมูลสถิติและนวัตกรรมด้าน การชลประทานแห่งประเทศไทย

    นายชนนิทร์ ทรงชน

    68

    กรอบแนวคิดเชิงนโยบายของการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

    นายชรพล จันทร 74

    ตัวแบบในการพัฒนา: การจัดการเชิงสถาบนัเพื่อส่งเสริมกระบวนการสร้างนวัตกรรม

    นายอัครพล ฮวบเจริญ 79

    บทบาทของเทคโนโลยี และนวตักรรม ในประเทศเกาหลีและ ประเทศไทย

    นายบณุฑริก บริสุทธิ์ 85

    การสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม นางสาวผกาภรณ์ ยอดปลอบ

    91

    แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและไอซีทีของไทยเพื่อเข้าสู่สังคมยุคดจิิทัล นางสาวอรรถวรรณ ไทโยธนิ

    95

    มุมมองจากการอบรมดูงานที่สาธารณรัฐเกาหลีและข้อเสนอแนะ ในการน ามาปรับใช้ในองค์กร

    นายอนชุา ศรีเริงหล้า 102

    การส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรที่ดีและการเรียนรู้การใช้ประโยชน ์จากเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอย่างยัง่ยนื

    นางสาวสิริภัทร สุมนาพันธุ์ 106

    ระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) กับส านักงานประกันสังคม

    นายเทพรัตน์ วงศ์เจริญวนกิจ 111

    สร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยนื นางสาววชิราภา เขียวรอด

    117

    การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในประเทศไทย นางสาวอาภา เนตรประไพ

    122

    หมวดที ่1 การพฒันาทางวทิยาศาสตร ์เทคโนโลย ีนวตักรรมและเศรษฐกจิ สรา้งสรรค ์(ต่อ)

  • หมวดที ่2 โครงการรว่มลงทุนภาครฐั-เอกชน (Public Private Partnership – PPP)

    บทความ หน้า

    เกาหลี : PPP ในไทยไม่ควรรออีกต่อไป นางสาววลัยภรณ์ รัตนพนัธ์

    128

    แนวทางการพัฒนาการให้เอกชนร่วมลงทนุในกิจการของรัฐของประเทศไทย กรณีศึกษาจากประเทศสาธารณรัฐเกาหล ี

    นางสาวสนุิดา สุสนัทัด 133

    กรณีศึกษารูปแบบการลงทุนในโครงการโครงสร้างพืน้ฐานขนาดใหญ่ในสาธารณรัฐเกาหลี: โครงการ Incheon Bridge

    นางสาวสุจิตรา น าทอง 139

    การระดมทุนส าหรับโครงการดา้นโครงสร้างพื้นฐานโดยการเปดิโอกาสให้เอกชนร่วมทนุ

    นางสาวมนทิรา มหินชัย 144

    Public-Private Partnership (PPP) “ประชารัฐ” ที่มากกว่า การร่วมทุน

    นางสาวอรณิชา สวา่งฟ้า 150

    Middle-Income Trap และการพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ฐาน ด้านคมนาคมขนส่งโดยการให้เอกชนร่วมลงทนุในกิจการของรัฐ (PPP)

    นายอภิชัย อิสริยานุกูล

    156

  • หมวดที ่3 การพฒันาทรพัยากรมนษุย์

    บทความ หน้า

    เปิดโลกกวา้งทางความรู้...สู่การต่อยอดทางความคิด..ก าหนดทศิ

    พัฒนาชาตไิทย

    นางสาวรวีรัตน์ ส่งสัมพนัธ์

    161

    การพัฒนาประเทศของสาธารณรัฐเกาหลี: การพัฒนาประเทศ

    ที่เร่ิมต้นจากการพัฒนา “คน”

    นางวัชรวีร์ นิ่มเป๋า

    168

    การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : รากฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจ

    ของเกาหลีใต ้

    นางสาวพอฤดี คลังกรณ ์

    175

    บทเรียนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยนื

    ของเกาหลีใต ้

    นางสาวอาริยา ภู่วฒันกุล

    183

    คนพัฒนา : ประเทศพัฒนา

    นางสาวปรียานชุ ศรีใย 187

    การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภายใต้บริบทของสังคมไทย

    นางสาวปิยะฉัตร หลวงแสง 194

    รายงานผลการเรียนรู้และข้อเสนอการประยุกต์ใช้ในสว่นราชการ

    นางสาวหฤทัย พัฒนพิสุทธิชัย 201

    บทความจากประสบการณ์ศึกษาดูงานที่สาธารณรัฐเกาหล ี

    ผ่านหลักสูตรการเสริมสร้างคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะ

    การท างานส าหรับข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงรุ่นที่ 11

    นายรวีกิติ์ พุฒธินกร

    205

    ถอดรหัสเกาหลีใต้และการประยุกต์ใช้: การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

    ...กลไกขบัเคลื่อนเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมยั่งยนื

    นางผการัตน์ เพ็งสวัสดิ ์

    212

    เกาหลีใต้ : ผู้ชนะสงครามแห่งการพัฒนา

    นางสาวสนินีาฎ มะปรางทอง 218

  • บทความ หน้า

    ทิศทาง และอนาคตของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในประเทศไทย: ถอดบทเรียนจากสาธารณรัฐเกาหลี

    นายชินภพ กูรมะสุวรรณ 223

    ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมมาประยุกต์ใช ้ในงานของสว่นราชการที่สังกัดขอ้เสนอการเปลี่ยนแปลงจาก การศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐเกาหลี

    นางสาวนฤพร บุญญบาล

    229

    ส่องแดนโสม : ทนุมนุษย์กบัการพัฒนาประเทศ นางสาวกฤษณ์วรรณ วรมิศร์

    232

    การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยนื นางสาวสุจิตรา คุ้มโภคา

    237

    หมวดที ่3 การพฒันาทรพัยากรมนษุย์ (ตอ่)

  • หมวดที ่4 ธรรมาภบิาลและการบรหิารจดัการภาครฐั

    บทความ หน้า

    เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบรหิารกิจการบ้านเมืองที่ดี นายพงศกร ดวงเกษม

    244

    การยกระดับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยใช้เครื่องมือรัฐบาล

    อิเล็กทรอกนิกส์ (E-government)

    นายสุวัฒน์ สุขไทย

    250

    ธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความเปน็เลิศ

    นางสาวพัทธป์ิยา จงชาณสิทโธ 260

    การบริหารจัดการภาครัฐอย่างมีธรรมาภิบาลในประเทศไทย

    นายปฏิภาณ ตั้งวิจิตร 267

    การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Government Data) กับ

    การบริหารงานภาครัฐในประเทศไทยภายใต้หลักธรรมาภิบาล

    (Good Governance)

    นางสาวธิติกานต์ องอาจวาณิชย์

    271

    การน านโยบายธรรมาภิบาลไปสู่การปฏบิัติในระบบราชการในบริบท

    ของประเทศไทยและประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

    นายทศพร นิลสนิ

    276

    แนวทางการพัฒนาระบบบริหารธรรมาภิบาลเพื่อสง่เสริมการก ากับ

    ดูแลองค์กรที่ดีของกรมสรรพสามิต

    นางสาวพลอยทราย พรนุเคราะห์

    286

    ประเทศก้าวหน้า ทนัสมัยจากการเปน็รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

    นางสาวสมญชา วนิทพัตร 291

    กรมสรรพสามิต กับความผาสุกของสังคม

    นายสุรเชษฐ์ แก่นชา 296

    การปฏิรูปการปราบปรามคอร์รัปชัน่ในสาธารณรัฐเกาหลี

    นางสาววรกัลยา นาถพรายพนัธุ์ 301

  • หมวดที ่4 ธรรมาภบิาลและการบรหิารจดัการภาครฐั (ตอ่)

    บทความ หน้า

    ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึกอบรมข้าราชการ

    ผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง

    นางสาวทิพสุดา โชติชืน่

    309

    รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) กบัการบริหารจดัการภาครัฐ

    นางสาวสุวลักษณ์ จสูวัสดิ ์

    314

    การส่งเสริมการน าหลักธรรมภิบาลมาใช้ในการให้ความช่วยเหลือ

    ทางกฎหมายส าหรับประชาชน

    นางสาวศิริอร อารมณ์ดี

    319

    มิติใหม่ของส านักงานประกันสงัคม

    นายศรกฤษ อัจฉรานุวฒัน ์324

    “Change everything except your wife and kids”

    Lee Kun-hee, Chairman of Samsung Group; 1993 นายสรทศ ตันติธีรวิทย ์

    328

    รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์กบังานบรกิารตรวจวิเคราะห์ด้านยาเสพตดิ

    ในยุคโลกาภวิัตน์ : วิกฤตหรือโอกาส

    นางสาวศุภกาญจน์ ศรีเพ็ชร์

    336

    การพัฒนางานดา้นควบคุมคุณภาพยาชีววัตถุ

    นางสาวชนิดา กานตป์ระชา

    341

  • หมวดที ่5 ภาพรวมและประเดน็อืน่ ๆ ที่นา่สนใจ

    บทความ หน้า

    ความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐ

    เกาหลี : กรณีศึกษาสถานโีทรทัศน์ MBC

    นางสาวศรมณ เทพแก้ว

    346

    วิวัฒนาการแห่งการพัฒนา กบัการก้าวข้ามกบัดักประเทศ

    รายไดป้านกลาง

    นายธัชไท กีรติพงค์ไพบูลย์

    352

    การก้าวข้ามกบัดักรายไดป้านกลาง: กรณีศึกษาจากสาธารณรัฐเกาหลี

    นางสาวอรฉัตร สังขมณ ี360

    การพัฒนาเชงิพืน้ที่แบบสาธารณรัฐเกาหลีจาก “เมืองแห่งสือ่ดจิิตอล”

    สู่ “เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”

    นายทัศวัตร์ ธันวานนท ์

    367

    รัฐน า-ราษฎร์หนุน...กลยุทธ์สู่ความส าเร็จ

    นางสาวกรกช แก้วไพฑูรย์ 376

    มองประเทศเกาหลีใต้... และมองประเทศไทย

    นางสาวศจีพรรณ สุริยาศศิน 381

    สรุปสาระส าคัญการฝึกอบรมโครงการพัฒนาขา้ราชการผู้ม ี

    ผลสัมฤทธิ์สูง โดยส านักงาน ก.พ. และ Korea Development

    Institute ณ สาธารณรัฐเกาหล ีวันที่ 13-16 ธนัวาคม พ.ศ.2558

    นางสาวอรฉัตร นิยมสุข

    387

    มองย้อนการพัฒนาเศรษฐกิจของสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต)้

    แล้วย้อนมามองตัวเอง

    นางสาวพันธุน์ิวิธ วิทยพันธุ ์

    391

    สูตรความส าเร็จ: Knowledge Management

    นางสาวมาติกา เติมผาต ิ396

    สาธารณรัฐเกาหลี : แบบอยา่งการพัฒนาที่ควรน ามาปรบัใช้

    นายอิชยา อุดมกิจแจ่มเลิศ 400

    ชองเกซอน – กล้าคิด กล้าท า เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่า

    นางสาวสุธิดา คงเพชรสถิต 405

  • หมวดที ่5 ภาพรวมและประเดน็อืน่ ๆ ที่นา่สนใจ (ต่อ)

    บทความ หน้า

    การพัฒนาของสาธารณรัฐเกาหลี...ตน้แบบการพัฒนาประเทศและ

    องค์กร

    นางศศิธร กฤติยาภิชาตกุล

    411

    การฟื้นฟูและใช้ประโยชน์พืน้ทีฝ่ังกลบมูลฝอย

    นางสาวศิริลักษณ์ จันทร์โพธิ์ 416

    ตามรอยเกาหลีใต้ เรียนรู้บทเรียน สู่การประยุกต์ใช้

    นางสาวทวีทรัพย์ ศรีขวัญ 421

    สิ่งที่เรียนรู้และข้อคิดเหน็จากการศึกษาดูงานในประเทศเกาหลใีต้

    เกาหลีใต้...โอกาสในความร่วมมอืและพัฒนา

    นางสาวพิชชานนัท์ แก้วบุญน า

    427

    ทิศทางนโยบายด้านพลงังานสาธารณรัฐเกาหลีและประเทศไทย:

    ความเหมือน ข้อคิดจากประสบการณ์การพัฒนา และโอกาสพฒันา

    ความร่วมมือ

    นางสาวจิตตนินัท์ สุขกิจ

    432

    บทเรียนจากเกาหลีใต้ สู่การพัฒนาในประเทศไทย

    นางสาวกนกวรรณ เส้งประถม 440

    ความส าเร็จด้วยสมองและสองมอื : บทเรียนอนัล้ าค่าจากเกาหลใีต้

    นางสาวปิยะฉัตร พิมจันทึก 444

    บทเรียนการพัฒนาแบบกา้วกระโดดของเศรษฐกิจเกาหลีใต้...

    สู่ต้นแบบการพัฒนาของไทย

    นายอภิมุข สุภัทรประทีป

    448

    มองเกาหลี แลว้ย้อนมองดไูทย

    นายภาคภูมิ ว่องสันตติวานิช 455

    แนวทางการน าองค์ความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม โครงการ HiPPS

    Capability Development Program มาประยกุต์ใช้เพ่ือพฒันาและเปลี่ยนแปลงการท างานของหน่วยงานต้นสงักดั

    นางสาวภาสนิ จนัทรโมลี

    461

  • หมวดที ่5 ภาพรวมและประเดน็อืน่ ๆ ที่นา่สนใจ (ต่อ)

    บทความ หน้า

    กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินกบัอนาคตท้องถิน่ไทย

    นางสาวกุลวตี คนัธโชต ิ467

    การดูงานหน่วยงานในสาธารณรัฐเกาหลี

    นางสาวเอกกมล ลวดลาย 473

    บทความสรุปความรู้และประสบการณ์ หลักสูตรการเสริมสร้าง

    คุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะการท างานส าหรับข้าราชการผู้มี

    ผลสัมฤทธิ์สูง ประจ าปี 2559 ภายใต้โครงการข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) ณ สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวนัที่

    12 - 16 ธนัวาคม 2558

    นางสาวกรรณิกา แท่นค า

    479

    บทเรียนจากพิพิธภัณฑ์ในเกาหลีใต้สู่การพัฒนาพิพิธภัณฑ์และ

    องคค์วามรูป้ระวัติศาสตร์ไทย

    นายธนัวา วงศ์เสงี่ยม

    484

    รายงานทนุรัฐบาลเพื่อฝึกอบรมหลักสูตรการเสริมสร้างคุณลักษณะ

    ส่วนบุคคลและทักษะการท างานส าหรับข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง

    ประจ าปี 2559 Module 4: Experience-based Development

    12 Dec - 16 December 2015 in Seoul, Korea

    นายจิรเดช เนตรศิริ

    489

    เปลี่ยนแปลงตนเอง เปลี่ยนแปลงประเทศ เปลี่ยนแปลงโลก

    นายจักร เจริญศิลป์ชัย 493

  • ผลงานบทความผู้เข้ารับการอบรม หลักสูตรการเสริมสร้างคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะการท างานส าหรับ

    ข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิส์ูง (HiPPS Capability Development Program) ในโครงการพัฒนาข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงรุ่นใหม่

    หลักสูตรการเสริมสร้างคุณลักษณะส่วนบุคคลและทักษะการท างานส าหรับข้าราชการ ผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS Capability Development Program) เป็นหลักสูตรพื้นฐานที่จ าเป็นส าหรับข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูงรุ่นใหม่ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นี้ ได้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 17 – 21, 23 – 25 พฤศจิกายน และ 12 – 18 ธันวาคม 2558 โดยเน้นการพัฒนาภายใต้ 5 Modules ประกอบด้วย

    Module 1 การเสริมสร้างองค์ความรู้ (Knowledge-based development)

    เป็นการบรรยายให้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาประเทศของสาธารณรัฐเกาหลีในด้านต่าง ๆ เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การปฏิรูประบบธรรมาภิบาล เป็นต้น

    Module 2 การเสริมสร้างคุณลักษณะ (Character Building)

    เป็นการอบรมเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ภายใต้หลักสูตร “Proactive Leader Leading to success” และการอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ภาวะผู้น ายุคใหม่ (Characteristics of future leader)”

  • Module 3 การเสริมสร้างทักษะ (Skill-based Development)

    เป็นการเสริมสร้างทักษะในด้านการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้หลักสูตร “Systematic Problem Solving and Decision Making (SPSDM)”

    Module 4 การเสริมสร้างประสบการณ์ (Experience-based Development)

    เป็นการศึกษาดูงานในสาธารณรัฐเกาหลี ในหน่วยงานต่าง ๆ ได้แก่ Digital Media City (DMC), Munhwa Broadcasting Corporation (MBC), Samsung Innovation Museum (SIM), Korea Development Institute (KDI) และ The Incheon Bridge and the Songdo International Business District รวมถึงรับฟังการบรรยายในข้อหัวที่เกี่ยวข้องกับระบบธรรมาภิบาลในสาธารณรัฐเกาหลี และนโยบายด้านการพัฒนาการศึกษา

    Module 5 การเสริมสร้างการบูรณาการ (Project-based Development)

    เป็นการร่วมกันบูรณาการองค์ความรู้และประสบการณ์จากการฝึกอบรมตลอดโครงการ เพื่อน ามาพัฒนาโครงการต้นแบบเพื่อพัฒนาหน่วยงานและภาคราชการไทย โดยน าเสนอต่อคณาจารย์ของ KDI School of Public policy and Management สาธารณรัฐเกาหลี และผู้บริหารของส านักงาน ก.พ. และทางส านักงาน ก.พ. ได้เผยแพร่บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) ของรายงานกลุ่ม 8 โครงการ ที่คิดค้นและพัฒนาโดยผู้รับทุนแก่ผู้บริหารของส่วนราชการต่าง ๆ นอกเหนือจากรายงานกลุ่มแล้ว ผู้รับทุนได้สรุปรวบรวมองค์ความรู้ที่ได้รับและถ่ายทอดบทเรียนประสบการณ์ออกมาเป็นบทความรายบุคคลพร้อมข้อเสนอแนวคิดเพื่อพัฒนาส่วนราชการและประเทศไทย ซึ่งส านักงาน ก.พ. ได้รวบรวมจัดพิมพ์เป็นหนังสือ “ติดปีกความคิด จาก HiPPS รุ่น 11” เล่มนี้ โดยแบ่งหมวดหมู่บทความได้ 5 หมวดหมู่ ได้แก่ หมวดที่ 1 การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ หมวดที่ 2 โครงการร่วมลงทุนภาครัฐ-เอกชน (Public Private Partnership –PPP) หมวดที่ 3 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หมวดที่ 4 ธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการภาครัฐ หมวดที่ 5 ภาพรวมและประเด็นอื่น ๆ ที่น่าสนใจ

  • หมวดที่ 1

    การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์

  • สาธารณรัฐเกาหลี

    2

  • ติดปีกความคิด จาก HiPPS รุ่น 11

    3

    บทเรียนจากสาธารณรฐัเกาหลี ยุทธศาสตร์ชาตกิารปฏิรูปการศึกษาไทย กับการก้าวขา้มกับดกัประเทศรายได้ปานกลาง

    นางสาวณัฐนรีย์ สีหะวงษ์

    นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี

    ในปี พ.ศ. 2503 มีประเทศที่ถูกจัดอันดับให้ เป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางทั้งหมด 101 ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 มี 13 ประเทศที่สามารถก้าวพ้นประเทศที่มีรายได้ปานกลางและยกระดับเป็นประเทศรายได้สูง ไทยได้รับการจัดอันดับเป็นประเทศที่มีรายได้ป า นก ล า ง ใ นปี พ . ศ . 2 5 19 แล ะ ใ น ปี พ.ศ. 2554 ประเทศไทยได้รับการยกระดับขึ้นจากประเทศที่มี รายได้ปานกลางกลุ่ มล่าง (Lower middle income countries) มาเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลางกลุ่มบน (Upper middle income countries) แต่จวบจนปัจจุบัน ไทยยังไม่สามารถก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง (Middle income trap) ได้ ดังนั้น การก้าวข้ามจากกับดักรายได้ปานกลางเพื่อไปสู่ การ เป็ นประ เทศที่ มี ร าย ได้ สู งถื อ ว่ า เป็ น ความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ของประเทศไทย นิ ย าม “กั บดั ก ร าย ได้ ป านกลา ง ” ที่ได้รับการยอมรับในสังคม คือ ปรากฏการณ์ที่ประเทศหนึ่งสามารถยกระดับจากประเทศยากจนเป็นประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างรวดเร็ว แต่หลังจากนั้นไม่สามารถก้าวข้าม เ พื่ อ ย ก ร ะดั บ เ ป็ น ป ระ เท ศร า ย ไ ด้ สู ง ไ ด้ ซึ่งธนาคารโลกได้ก าหนดประเทศที่มีรายได้สูง

    คือประเทศที่มีรายได้ต่อประชากรต่อหัวสูงกว่า 12,746 เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี1 ขณะที่รายได้ ต่อประชากรของไทยต่อหัวอยู่ที่ 5,992 เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี2 มีกรณีศึกษาหลายกรณีที่ประเทศต่างๆ สามารถก้าวพ้นกับดักรายได้ปานกลางผ่านการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ อาทิ ไต้หวัน และญี่ปุ่น ที่เน้นการพัฒนาความช านาญภาคบริการ ในขณะที่สาธารณรัฐเกาหลีเลือกที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเข้มข้น มีการสร้างตราสินค้ าของตนเอง เช่ น ซั มซุ ง (Samsung) รวมถึงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ งานวิจัยและการพัฒนา ดังนั้น ไทยอาจพิจารณาเลือกกรณีศึกษาจากประเทศข้างต้นและน ามาปรับใช้ให้เข้ากับบริบทของประเทศเพื่อก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง ตามที่ ข้ าพ เจ้ า ได้ เข้ า ร่ วมฝึ กอบรม ใ นหลั ก สู ต รก า ร เ ส ริ ม ส ร้ า ง คุณลั กษณ ะ ส่ วนบุคคลและทักษะการท า งานส าหรับข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง รวมทั้งการศึกษา

    1 IMD World Competitiveness Yearbook, 2015 ที่มา http://www.imd.org/wcc/news-wcy-ranking/ 2 IMD World Competitiveness Yearbook, 2015 ที่มา http://www.imd.org/wcc/news-wcy-ranking/

  • สาธารณรัฐเกาหลี

    4

    ดูงาน ณ สาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2558 จากการศึกษาพบว่ าสาธารณรัฐ เกาหลี ได้ รั บผลกระทบจากสงครามเกาหลีระหว่างปี 2493-2496 ท าให้ต้องเผชิญกับปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม อย่างไรก็ดี สาธารณรัฐเกาหลีก็สามารถหลุดพ้นจากการเป็นประเทศที่ยากจนและยกระดับเป็นประเทศที่มีรายได้สูงเพียงในระยะเวลาสั้นๆ และเป็นหนึ่งในกลุ่มประเทศชั้นน าทางเศรษฐกิจของโลก โดยในปี 2557 รายได้ประชากรต่อหัวต่อปีของสาธารณรัฐเกาหลีอยู่ที่ 35,400 เหรียญ3สหรัฐฯ ดังนั้น สาธารณรัฐเกาหลี ถือว่าเป็นกรณีศึกษาที่ดีส าหรับประเทศไทยในการก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลาง ปัจจัยส าคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศของสาธารณรัฐเกาหลีได้แก่ การพัฒนาด้านการศึกษา การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และการสร้างนวัตกรรมของตนเองให้มีคุณภาพ ผ่านความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยมีวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ร่วมกันที่จะพัฒนาก าลังคนของประ เทศ ให้ มี คุ ณภาพ เพื่ อ ย ก ระดั บ ขี ดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความสุขได้อย่างยั่งยืน สาธารณรัฐเกาหลีได้รับอิทธิจากลัทธิขงจื้ อทั้ งด้านสังคม และวัฒนธรรม ท าให้สาธารณรัฐเกาหลีให้ความส าคัญของการศึกษา อีกทั้งผู้มีการศึกษาสูงจะได้รับการยกย่องทางสังคม ความเชื่อดังกล่าวเป็นพื้นฐานแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของเกาหลี ภายหลัง

    3 ที่มา http://www.apecthai.org/index.php

    สงครามโลกครั้งที่ 2 การศึกษาในเกาหลีได้ขยายขอบข่ายไปอย่างโดดเด่น อัตราและขอบข่ ายของการขยายตั วทางการศึกษา ในเกาหลีก้าวไปไกลกว่าประเทศอื่น ๆ โดยมีประชากรที่เป็นนักเรียนนักศึกษามีจ านวนหนึ่งในสี่ของประชากรทั้งประเทศ จ านวนปีเฉลี่ยของการเข้ารับการศึกษาก็มากกว่า 12 ปี สาธารณรัฐเกาหลี ได้เริ่มปฏิรูประบบการศึกษาในทศวรรษที่ 1950-1960 โดยเริ่มจากระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา อย่างเป็นล าดับและค่อยเป็นค่อยไป ท าให้การพัฒนาคุณภาพทรัพยากรมนุษย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ภาครัฐได้อนุญาตให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการก าหนดหลักสูตรระดับอุดมศึกษา เพื่อให้นักศึกษาที่ส า เร็จการศึกษามีทักษะความสามารถเพียงพอต่อ การท างานในภาคเอกชน ในทศวรรษที่ 1970 รัฐบาลเกาหลีใต้ได้ปฏิรูปการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและเทคนิคศึกษาในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เ พื่ อ ต อบ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ภ า ค อุตสาหกรรมหนักและเคมีภัณฑ์ภายในประเทศ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์หลักของประเทศในเวลานั้น ที่ต้องการยกระดับจากอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐานที่ต้องการแรงงานจ านวนมากเป็นอุตสาหกรรมหนัก เคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมไอทีและเทคโนโลยีขั้นสูง จากกรณีศึกษาของเกาหลี ใต้พบว่ายุทธศาสตร์และนโยบายที่ส าคัญของประเทศเป็นผลจากการก าหนดนโยบายที่ชัดเจนและ มีประสิทธิภาพของภาครัฐ ที่มีจุดมุ่งหมายระยะ

  • ติดปีกความคิด จาก HiPPS รุ่น 11

    5

    ยาวที่ต่อเนื่อง และสามารถปฏิบัติได้จริง ดังนั้น ไทยจึงควรก าหนดกรอบยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน โดยเฉพาะในเร่ืองการลงทุนด้านการศึกษา วิจัยและการพัฒนาให้มีความสอดคล้องกับนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เมื่อการศึกษาขยายตัวในด้านปริมาณจนถึงจุดอิ่มตัวในตอนกลางทศวรรษ 1980 รัฐก็หันมาใส่ใจการศึกษาในเชิงคุณภาพเพิ่ม มากข้ึน จนกลายมาเป็นประเด็นถกเถียงที่ชุมชนการศึกษาในเกาหลีให้ความส าคัญมากที่สุด ความห่วงใยในเรื่องคุณภาพการศึกษาจุดประกายให้เกิดการแต่งตั้งคณะกรรมาธิการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งขึ้นตรงต่อประธานาธิบดีขึ้นมาในเดือนกุมภาพันธ์ 1994 คณะกรรมาธิการฯ ได้ ให้ค าแนะน าแก่ประธานาธิบดี เกี่ยวกับประเด็นการศึกษาอย่างกว้างขวาง และได้น าเสนอข้อเสนอว่าด้วยการปฏิรูปในท้ายที่สุด หลังจากได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดีแล้ว ข้อเสนอแนะการปฏิรูปดังกล่าวก็ได้ถูกส่งผ่านไปยังกระทรวงศึกษาธิการเพื่อน าไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรมต่อไป ไทยสามารถเรียนรู้ได้จากกรณีศึกษาของสาธารณรัฐเกาหลีและน ามาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทเศรษฐกิจและสังคมเพื่อก้าวข้ามกับดักปานกลางได้โดยการบูรณาการของหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ประเทศ ไทยควรก าหนดให้ด าเนินการจัดท าแผนแม่บท ในระยะยาว เพื่ อก าหนดเป้าหมาย แผนด า เนิ นกา รที่ ชั ด เ จน รวมถึ ง ส ร้ า งกา ร มี ส่วนร่วมในการวางแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ โดยให้มีการทบทวนกลยุทธ์ให้ตอบสนองต่อ

    สภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่ เปลี่ ยนไป นอกจากนี้ ควรมีการจัดท าแผนงาน แผนงบประมาณ และควรบรรจุแผนการลงทุนด้านการศึกษา วิจัยและการพัฒนาเป็นหนึ่งในวาระแห่งชาติ ปั จ จุ บั น ปั ญ ห า ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ในภาพรวมที่ส าคัญอีกประการหนึ่งคือความขาดการเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และหน่วยงานวิชาการ ส่งผลให้ระบบการศึกษาของประเทศไม่สามารถผลิตบุคคลากรและผลการศึกษาวิจัยได้ตรงกับความต้ อ ง ก า ร ข อ ง ต ล า ด ห รื อ เ อ ก ช น อ า ทิ อุตสาหกรรมอาหาร ที่ปัจจุบันมีการก าหนดนโยบายว่าไทยจะเป็นศูนย์กลางอาหารโลก (Food Hub) แต่จ านวนนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ด้านอาหารเพื่อ เข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาดังกล่าวยังมีจ านวนน้อย ซึ่งไม่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ดังนั้น รัฐบาลควรจะผลักดันนโยบายการผลิตนักศึกษาในสาขาวิชาที่ตอบสนองนโยบายด้านเศรษฐกิจของภาครัฐให้เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ ภาครัฐควรขยายความร่วมมือกับภาคเอกชน โดยอาจพิจารณาให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการก าหนดหลั กสู ตร ในระดับอาชี วศึ กษาและระดับ อุ ดมศึ กษา เพื่ อตอบสนองความต้ องกา ร ของภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรมที่มี ความซั บ ซ้ อนมากขึ้ น โ ดยอาจ เสนอให้ภาคเอกชนร่วมรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาชีพต่างๆ เนื่องจากภาคเอกชนมีทรัพยากรทั้ งด้ าน เงินทุน เครื่ องมือ และบุคลากรที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการ

  • สาธารณรัฐเกาหลี

    6

    ฝึกอาชีพ โดยความร่วมมือดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ต่อภาครัฐและภาคเอกชน คือภาครัฐจะสามารถลดต้นทุนด้านการศึกษาและเพิ่มโอกาสการจ้ า งงานแก่นักศึกษาที่ จบใหม่ ในขณะที่ ภ าค เอกชนจะได้ บุ คลากรที่ มีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่หน่วยงานต้องการ การที่ประเทศไทยจะสามารถพัฒนาการผลิตของทุกภาคส่วนให้ออกมาเป็นสินค้าที่มีคุณภาพได้นั้น จะต้องมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่ อให้ประชากรของประเทศเป็ นแรงงานที่มีคุณภาพและสามารถสร้างสรรค์พัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างมีคุณภาพ โดยเมื่ อพิจารณาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ที่ มุ่ ง สร้างโอกาสทางเศรษฐกิ จบนพื้ น ฐานความรู้ เทคโน โลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้นในฐานะที่เป็นข้าราชการควรที่จะมีบทบาทในการส่งเสริม พัฒนาการศึกษาของประเทศในทุกๆ ด้าน เพื่อให้ประชากรของประเทศมีความพร้อมที่จะเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียนได้อย่างสมบูรณ์และมีศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ในการผลิตสินค้าเนื่องจากในปัจจุบันสินค้าในตลาดโลกนั้นเป็นสินค้า

    ที่ค่อนข้างมีความคล้ายคลึงและสามารถทดแทนกันได้ ซึ่ งในทางเศรษฐศาสตร์คือตลาดที่มี การแข่งขันที่สมบูรณ์ วิธีหนึ่งที่ ในอดีตนิยม ท ากันก็คือการขายตัดราคาเพื่อให้สามารถขายสินค้าได้ในปริมาณมาก อย่างไรก็ตาม วิธีการขายสินค้าตัดราคาไม่ได้ช่วยให้เกิดความยั่งยืนทางธุรกิจเนื่องจากการขายตัดราคาจะท าให้การผลติสินค้ามีมากขึ้นและในที่สุดผู้ผลิตต่างๆก็จะไม่ ส าม า รถที่ จ ะ ยื น อยู่ ไ ด้ บ น เ วที ก า รค้ า แต่การค้าขายที่ยั่งยืนนั้น ผู้ผลิตจะต้องคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ประกอบกับการพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้ เป็นที่ ต้องการของผู้บริ โภค และ มีความแตกต่างจากสินค้าอื่นๆ ซึ่งการที่จะสามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพและมีความแตกต่างได้นั้น ทรัพยากรมนุษย์เป็นสิ่งที่จ าเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นหากประเทศใดเป็นประเทศที่มีทรัพยากรมนุษย์ที่ มีความรู้ความสามารถเหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศ ก็จะประสบความส าเร็จ ดังนั้นหากไทยต้องการก้าวข้ามกับดักรายได้เพื่อก้าวเป็นกลุ่มประเทศชั้นน าของโลก ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม และหน่วยงานวิชาการจะต้องร่วมมือกันในการปฏิรูปนโยบายการศึกษาของไทยให้สามารถแข่งขันในเวทีโลกได้โดยไม่ทิ้งใครไว้เบื้องหลัง

  • ติดปีกความคิด จาก HiPPS รุ่น 11

    7

    เกาหลีใต้ ต้นแบบแห่งการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค ์

    นางสาวสุปรียา กลิ่นสุวรรณ

    นักพัฒนาระบบราชการปฏิบัตกิาร

    ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ

    สาธารณรัฐเกาหลี หรือที่มักเรียกกันว่า เกาหลีใต้ ประเทศที่ UNESCO เคยจัดอันดับให้เป็นหนึ่งในประเทศยากจนเมื่อหลายสิบปีก่อน แต่บัดนี้กลับพลิกฟื้นเจริญก้าวหน้ากลายเป็นประเทศสมาชิกในกลุ่ม G20 กลุ่มประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ได้ ด้วยขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 13 ของโลก มี GDP ต่อหัว 28,000 เหรียญ อยู่ในอันดับที่ 28 ของโลก และก าลังเป็นที่จับตามองจากนานาประเทศถึง การพัฒนาแบบก้าวกระโดดเช่นนี้

    สิ่งที่ท าให้เกาหลีใต้เจริญก้าวหน้าและเป็นที่กล่าวถึงอย่างต่อเนื่องในช่วงทศวรรษ ที่ผ่านมา นั่นคือ การน าแนวคิด “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” มาใช้ ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ตามความหมายของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นแนวคิดการขับเคลื่อนเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการใช้องค์ความรู้ การศึกษา การสร้างสรรค์งาน และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม และเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ ซึ่งแนวคิดนี้เป็นส่วนส าคัญที่ท าให้เกาหลีใต้เจริญก้าวหน้าได้อย่างเร็ว

    จากการฝึกอบรมระยะสั้นและการศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐเกาหลี ภายใต้ โครงการพัฒนาข้าราชการผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) รุ่นที่ 11 ของส านักงาน ก.พ. โดยได้รับความร่วมมือจากสถาบันเพื่อการพัฒนาแห่งเกาหลี (Korea Development Institute: KDI) ท าให้ได้เรียนรู้ว่าเกาหลีใต้ได้น าแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มาใช้หลังเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงินในภูมิภาคเอเชียระหว่าง พ.ศ. 2540-2541 ด้วยภาวะเศรษฐกิจท าให้รัฐบาลริเริ่มนโยบายการแข่งขันที่ใช้ความสามารถในการสร้างสรรค์ มุ่งเน้น การขยายวัฒนธรรมเข้าสู่อุตสาหกรรมทั้งสื่อโทรทัศน์และภาพยนตร์ เพื่อสร้างความรู้สึกที่ดีต่อวัฒนธรรมเกาหลี ท าให้สินค้าและบริการของเกาหลี ใต้ เป็นที่ยอมรับและรู้จักไปทั่ ว โลก เ กิ ด มู ล ค่ า ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ที่ เ รี ย ก กั น ว่ า “อุตสาหกรรมวัฒนธรรม” โดยเกาหลีใต้มี การก าหนดแผนการด า เนินการที่ ชั ด เจน ในกา รส่ ง เ ส ริ มอุ ต ส าหกรรมวัฒนธร รม มีการวางแผนร่วมกันในระดับประเทศเพื่อ ยกระดับเกาหลีใต้ไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ที่ภาครัฐสนับสนุนในเชิงนโยบาย ส่วนภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนให้เกิดผล

  • สาธารณรัฐเกาหลี

    8

    การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของเกาหลีใต้ตามแนวคิดนี้ ประสบความส าเร็จอย่างมาก เห็นได้จากกระแสความนิยมในวัฒนธรรมเกาหลี (Korean Wave) ที่แพร่กระจายไปทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทยที่เกิดกระแสความนิยมเกาหลีอย่างล้นหลาม ซึ่ ง ได้ รับอิทธิพลมาจากการละคร รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ดนตรีและวีดีโอเกม

    สิ่งหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการส่งเสริมสนับสนุนและผลักดันในด้านนี้อย่างจริงจัง เห็นได้จากการไปศึกษาดูงาน ณ เมืองสื่อดิจิตอลอย่าง Digital Media City (DMC) และ The Creative Center for Convergence Culture (CCCC) ที่ตั้งอยู่ในเขต Sangam-dong กรุงโซล โดย DMC เป็นศูนย์รวม ด้ านอุตสาหกรรมบัน เทิ งและสื่ อดิ จิ ตอล เ ป็ น ส่ ว น ส า คั ญ ใ น ก า ร ผ ลั ก ดั น ใ ห้ เ กิ ดอุตสาหกรรมบนพื้ นฐานของความรู้ ผ่ านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย ทรัพยากรมนุษย์ และความสามารถด้านธุรกิจบันเทิง ซึ่งเห็นได้จากความส าเร็จของกระแสความนิยมเกาหลี ซึ่ ง การจะสร้า งกระแสวัฒนธรรม ให้ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ ต้ อ ง อาศั ยสภาพแวดล้ อม ที่เอ้ืออ านวยต่ออุตสาหกรรมนั้น ในการวางแผนและเผยแพร่สื่อที่เข้าถึงคนทั้งโลกได้

    อีกทั้ง การได้เยี่ยมชม สถานีโทรทัศน์ MBC (Munhwa Broadcasting Corporation : MBC) เป็นหนึ่งในสถานีวิทยุโทรทัศน์ที่ใหญ่ที่สุดในเกาหลีใต้ ซึ่ง ค าว่า “Munhwa” ในภาษาเกาหลี หมายถึง วัฒนธรรม MBC มีสถานี

    เครือข่ายโทรทัศน์ส่วนภูมิภาค 17 สถานี และเป็นมัลติมี เดียกรุ๊ปที่มีสื่อที่หลากหลายทั้ งโทรทัศน์ วิทยุ เคเบิ้ลทีวี โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม และทีวีดิจิตอลบนอุปกรณ์พกพาหรือเรียกว่า Mobile TV ซึ่งการเยี่ยมชม MBC ท าให้เห็นว่า ภาคเอกชนเป็นส่วนส าคัญในการสร้างกระแส Korean Wave ให้เกิดขึ้น ด้วยการผลิตผลงานที่แสดงให้เห็นถึงศิลปวัฒนธรรมของเกาหลี อย่างละครย้อนยุคอิงประวัติ ศาสตร์ เรื่ อง แดจังกึม ที่ได้รับความนิยมในหลายประเทศทั่วโลก รวมทั้งยังมีพื้นที่ส าหรับสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับสื่อต่าง ๆ โดยมีกลยุทธ์การน าเสนอผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัย พร้อมกับใช้ศิลปินนักร้องชื่อดังของเกาหลีในการดึงดูดความสนใจ เป็นการให้ความรู้คู่กับความบันเทิง ท าให้สถานีโทรทัศน์กลายเป็นแหล่งเรียนรู้และสถานที่ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้อีกทางหนึ่งด้วย

    อี ก สถ าน ที่ หนึ่ ง ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ในการสนับสนุนให้เกิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ นั่นคือ การได้ไปเยี่ยมชม ศูนย์ Gyeonggi Center for Creative Economy & Innovation (CCEI) ที่ เกิดจากความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน อย่างบริษัท KT บริษัทชั้นน า ด้านโทรคมนาคมของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายในการเป็นศูนย์กลางการพัฒนาโครงการใหม่ๆ เพื่อส่งเสริมนวัตกรรมเชิงธุรกิจ โดยสนับสนุนการเริ่มต้นธุรกิจต่างๆ และความร่วมมือทางธุรกิจเพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดระดับโลก อาทิ ธุรกิจเกี่ ย วกับ เทคโน โลยี เกมและการสื่ อสารโทรคมนาคม เป็นต้น ตลอดจนเป็นองค์กร

  • ติดปีกความคิด จาก HiPPS รุ่น 11

    9

    ที่สร้างสภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อการตั้งธุรกิจ โดยการสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานที่เอ้ืออ านวยต่อการเริ่ มต้นธุ รกิจและธุรกิจ SMEs เช่น การสนับสนุนข้อมูลและให้ค าปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ การให้บริการอุปกรณ์ผลิตเกม การให้บริการเครื่องพิมพ์สามมิติ ในการสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบ การให้บริการห้องทดสอบเกมที่พัฒนาขึ้ นผ่ านอุปกรณ์ ที่ใช้งานจริง การสนับสนุนแหล่งเงินทุน เป็นต้น

    ประเทศไทยมีการส่งออกเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เมื่อเกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกจึงส่งผลกระทบอย่างสูงต่อเศรษฐกิจไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การจะรักษาการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในบริบทการเปลี่ยนแปลงนี้ จึงจ าเป็นต้องหาแนวทางใหม่ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จึงเป็นระบบเศรษฐกิจ ที่เหมาะสมที่สร้างอ านาจการเติบโตใหม่ ๆ ให้ประเทศ ด้วยข้อได้ เปรียบของไทยที่ มีคุ ณลั ก ษณะ และ เ อกลั กษณ์ เ ฉพ า ะด้ า นวัฒนธรรม ด้านศิลปะ ด้านสื่อและด้านการออกแบบ ผสานกับการใช้องค์ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม จะท าให้เกิดสิ่งใหม่ ที่ เพิ่มมูลค่า ซึ่ งความส าคัญของเศรษฐกิจส ร้ า งส รรค์ ต่ อประ เทศ ไทย เห็ น ได้ จ า กอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ตั้งแต่ปี 2545-2552 ได้สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่เศรษฐกิจไทยสูงมาโดยตลอด (ที่มา: ส านักบัญชีประชาชาติ ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ)

    การจะขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้ า งส รรค์ ให้ประสบความส า เ ร็ จ ได้ นั้ น จ าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการในฐานะหน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุนให้เกิดการบูรณาการการท างานภาครัฐ โดยการพัฒนารูปแบบการท างานให้มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันเพื่อรองรับการด าเนินงานนโยบายส าคัญของประเทศและระดมก าลังบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขาเพื่อผลักดันนโยบายไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งเพิ่มบทบาทให้ภาคส่วนอื่นๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคประชาสังคม เข้ามามีส่วนร่วมในการด าเนินการ ด้วยการน าองค์ความรู้และแนวปฏิบัติในการสนับสนุนเศรษฐกิจสร้างสรรค์จากเกาหลีใต้มาเป็นแนวทางในการปรับใช้ได้ ดังนี้

    1. บูรณาการการท างานของหน่วยงาน ใ น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ที่ มี ความเกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน ให้มีนโยบายและกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน สอดรับกับแผนแม่บทในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ อันจะน าไปสู่การปฏิบัติที่เห็นผลเป็นรูปธรรม

    2. ส่งเสริมให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการพั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ท า ง า น สอดประสานกัน ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการสื่อสารและคมนาคม การวิจัยพัฒนา การจัดหาแหล่งเงินทุน การให้ข้อมูล

    3. ใ น ก า ร พั ฒ น า อุ ต ส า หก ร ร ม เ ชิ งสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบและครบวงจร อาจเริ่มต้นจากการสนับสนุนศูนย์ที่ด าเนินงาน

  • สาธารณรัฐเกาหลี

    10

    เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่เดิม ให้พัฒนาต่ อยอด เป็ นศู นย์ บ ริ ก า รร่ วมด้ า นเศรษฐกิจสร้างสรรค์แบบครบวงจร โดยการสร้างสภาพแวดล้อมและจัดหาโครงสร้างพืน้ฐานที่เอื้ออ านวยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสนับสนุนการเริ่มต้นธุรกิจ ตั้งแต่การเป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่ อสร้างนักคิดและนักสร้างสรรค์ การส่งเสริมนักคิดให้น าความคิดสร้างสรรค์ไปต่อยอดโดยการให้ข้อมูล ให้ค าปรึกษาและการฝึกอบรมจากผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ การสนับสนุนการผลิตและพัฒนาสินค้า การวางแผนธุรกิจ การเปิดตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตลอดจนการให้ เงินทุนสนับสนุนจากสถาบันการเงินต่างๆ

    4. ขับเคลื่อนการพัฒนาองค์ความรู้ในสาขาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยร่วมมือกับมหาวิ ทยาลั ยที่ สอนด้ าน เทค โน โลยี และสถาบันการศึกษาต่างๆ ในการให้การศึกษาโดยเน้นการฝึกปฏิบัติ การวิจัยพัฒนา พร้อมทั้งสนับสนุนให้ผู้ประกอบการไทย เช่น ผู้ประกอบ

    SMEs ให้ได้รับการพัฒนาทักษะและองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์สินค้าและบริการรูปแบบใหม่ที่มีจุดเด่น ตลอดจนผสานผู้ประกอบการธุรกิจขนาดใหญ่ให้น าแนวคิดและผลงานการวิจัย เชิ งสร้ างสรรค์ม าต่อยอดสร้ างมูลค่ าทางเศรษฐกิจ สร้างผลิตภัณฑ์และบริการออกสู่ตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศได้

    อย่างไรก็ดี การที่จะท าให้กาขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศไทยประสบความผลส าเร็จได้อย่างเกาหลีใต้ ต้องอาศัยนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจสร้ า งสรรค์ ที่ชัดเจน มีกลไกการขับเคลื่อนไปสู่การปฏิบัติ มีหน่วยงานที่ รับผิดชอบหลัก ควบคู่ ไปกับ �