0 เฉลย pre-pat5 วิชาความถน ัดทางว...

27
0 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพครู มีนา (ทาง INTERNET)

Upload: others

Post on 30-Aug-2019

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

0 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

Page 2: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 1

เฉลยขอสอบ PRE-GAT & PAT’มีนา PAT5 : วิชาความถนัดทางวิชาชพีคร ู รหัสวิชา 75

1. b. 2. a. 3. b. 4. d. 5. b. 6. a. 7. c. 8. c. 9. d. 10. c. 11. d. 12. c. 13. a. 14. c. 15. b. 16. a. 17. d. 18. c. 19. d. 20. a. 21. b. 22. d. 23. d. 24. a. 25. b. 26. a. 27. d. 28. b. 29. a. 30. a. 31. c. 32. c. 33. d. 34. a. 35. d. 36. d. 37. a. 38. a. 39. c. 40. b. 41. d. 42. c. 43. b. 44. a. 45. a. 46. c. 47. a. 48. c. 49. b. 50. d. 51. d. 52. d. 53. c. 54. b. 55. c. 56. d. 57. d. 58. a. 59. c. 60. b. 61. c. 62. a. 63. d. 64. b. 65. d. 66. a. 67. c. 68. a. 69. a. 70. d. 71. d. 72. a. 73. a. 74. c. 75. a. 76. c. 77. b. 78. c. 79. d. 80. a. 81. a. 82. b. 83. d. 84. c. 85. a. 86. d. 87. d. 88. c. 89. a. 90. a. 91. b. 92. a. 93. c. 94. b. 95. c. 96. b. 97. c. 98. d. 99. d. 100. a. 101. a. 102. b. 103. a. 104. b. 105. d. 106. b. 107. c. 108. c. 109. d. 110. d. 111. d. 112. d. 113. c. 114. b. 115. c. 116. d. 117. a. 118. b. 119. c. 120. a. 121. c. 122. d. 123. a. 124. b. 125. a. 126. a. 127. c. 128. d. 129. c. 130. d. 131. c. 132. b. 133. c. 134. a. 135. a. 136. c. 137. a. 138. c. 139. b. 140. a. 141. d. 142. a. 143. b. 144. d. 145. c. 146. c. 147. d. 148. a. 149. d. 150. d. 1. เฉลย b. การจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษาไปยังสวนภูมิภาค แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 1 (พ.ศ. 2504-2509) มีนโยบายดานการศึกษาดังนี้ 1. เรงขยายการศึกษาภาคบังคับเพ่ือการศึกษาสําหรับประชาชน 2. มีการเรงขยายการอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาเพ่ือผลิตกําลังคนระดับกลางและระดับสูง 3. มีการจัดต้ังสถาบันอุดมศึกษายังสวนภูมิภาค คือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยขอนแกน

และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 2. เฉลย a. บางชวงมีผูสําเร็จการศึกษาออกมาแลววางงาน การจัดการศึกษาโดยเนนนโยบายสอนทางดานการพัฒนาเศรษฐกิจเปนหลัก โดยท่ีการเปลี่ยนแปลง

ทางเศรษฐกิจปรับเปล่ียนอยางรวดเร็วกวาระบบการศึกษา ทําใหเกิดปญหาผูสําเร็จการศึกษามีความสามารถไมตรงกับตลาดแรงงาน เกิดภาวะวางงาน และทําใหมุงเนนพัฒนาคนในแงผูตาม เลียนแบบจดจํามากกวาการคิดวิเคราะหและการแกปญหา เปนการศึกษาแปลกแยกจากสังคมและสิ่งแวดลอม เนนดานปริมาณมากกวาคุณภาพ

Page 3: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

2 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

3. เฉลย b. เพ่ือกระตุนใหมลรัฐตางๆ ไปปฏิรูปการศึกษาภายในแตละรัฐ ประเทศที่เปนผูนําในเวทีโลกลวนใหความสําคัญกับการศึกษาวา เปนปจจัยหลักท่ีจะพัฒนาคนในชาติ

ใหมีคุณภาพมากที่สุด สหรัฐอเมริกา ไดออกกฎหมายเพ่ือปฏิรูปการศึกษาในชื่อวา “Goal 2000 : Educate America Act”

เพ่ือกระตุนใหมลรัฐตางๆ ไปปฏิรูปการศึกษาภายในแตละรัฐ 4. เฉลย d. การตอบสนองความสามารถในการแขงขันของการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย การจัดอันดับความสามารถดานการศึกษา ประเมินจากเกณฑชี้วัด ดังนี้ 1. การลงทุนการศึกษา 2. อัตราสวนนักเรียนตอครูระดับชั้นประถมศึกษา และอัตราสวนนักเรียนตอครูชั้นประถมศึกษา 3. อัตราการเขาเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา 4. อัตราสวนนักเรียนตอครูระดับชั้นมัธยมศึกษาและอัตราสวนนักเรียนตอครูชั้นมัธยมศึกษา 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประเมินจากเกณฑชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. การตอบสนองความสามารถในการแขงขันของระบบการศึกษา 2. การตอบสนองความสามารถในการแขงขันของการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย 3. ความรูความเขาใจเก่ียวกับเศรษฐกิจ 5. เฉลย b. การคุกคามการลาอาณานิคมของประเทศตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เสด็จกลับจากประพาสทวีปยุโรป พ.ศ. 2440 ทรงเห็นความ

เจริญกาวหนาทางการศึกษาของชาติยุโรป จึงโปรดใหจัดทําโครงการการศึกษาฉบับแรก ใน พ.ศ. 2441 นับเปนจุดเริ่มตนของการจัดการศึกษาไทยที่วางรูปแบบเปนหลักฐานอยางเปนระบบ และท่ีสําคัญท่ีสุดคือแรงผลักดันจากการลาอาณานิคมของประเทศตะวันตก ทําใหตองเรงเตรียมคนไทยในการพัฒนาประเทศใหทันสมัย

6. เฉลย a. กระแสโลกาภิวัตน ประเทศไทยตองปฏิรูปการศึกษาครั้งลาสุด มีท้ังปจจัยภายนอกระบบการศึกษาและปจจัยท่ีเกิดจากตัว

ระบบการศึกษาเอง สําหรับปจจัยท่ีมาจากภายนอกระบบการศึกษา คือ กระแสโลกาภิวัตน ซ่ึงมีผลกระทบทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทย

7. เฉลย c. อันดับท่ี 48 การจัดอันดับขีดความสามารถในการแขงขันระดับนานาชาติดานการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2547 ไทยอยู

อันดับท่ี 48 จาก 60 ประเทศ ซ่ึงตํ่ากวาสิงคโปร มาเลเซีย ญ่ีปุน และเกาหลีใต เพราะประเทศเพื่อนบานเหลานี้ตางปฏิรูปการศึกษาเพ่ือเตรียมประเทศใหการศึกษาเปนฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจ

8. เฉลย c. มหาวิทยาลัยมหิดล การจัดอันดับมหาวิทยาลัยในภูมิภาคอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดลไดรับการจัดอันดับใหเปนอันดับท่ี 1

ของภูมิภาคอาเซียน โดยใชเกณฑจากมาตรฐาน สัดสวนงานจากการวิจัยอยางตอเนื่องของคณาจารย การเขียนบทความ การผลิตนักศึกษา บัณฑิตท่ีจบการศึกษามีงานทํา ระบบการสื่อสารสนเทศ และเทคโนโลยี และอาคารสถานท่ีเหมาะสมพอเพียง ฯลฯ สวนจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อยูในอันดับท่ี 30 ของภูมิภาคอาเซียน

Page 4: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 3

9. เฉลย d. ถูกทุกขอ สาระสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาท่ีระบุไวในพระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. 2542 ไดแก 1. การจัดการศึกษาใหยึดหลักของการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 2. สิทธิและโอกาสทางการศึกษา 3. ปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ 4. เปดโอกาสใหสถาบันตางๆ จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได 5. การปฏิรูปครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา 6. การปฏิรูปการบริหารและการจัดการศึกษา 7. การปฏิรูประบบทรัพยากรและการลงทุนเพ่ือการศึกษา 8. ขยายการศึกษาภาคบังคับจาก 6 ป เปน 9 ป 10. เฉลย c. การแกปญหาและการอนุรักษสภาพแวดลอมทางธรรมชาติใหอยูในภาวะที่สมดุล การพัฒนาท่ีมุงเนนทางวัตถุ การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอย การใชเทคโนโลยีอยางไร

ขอบเขต จนทําลายสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ กอใหเกิดภัยธรรมชาติมากมาย และปญหาของโลกที่สูงขึ้นท่ีเห็นกันทุกวันนี้ ซ่ึงปญหาเหลานี้จะทําใหสังคมโลกในอนาคตขาดแคลนอยางรุนแรง

11. เฉลย d. เปนสวนหนึ่งของระบบทุนนิยม กระแสการครอบงําของวัฒนธรรมตะวันตกยังทําใหเกิดการขยายตัวของ “ลัทธิบริโภคนิยม”

(Consumerism) ซ่ึงเปนการแสวงหาความมั่นคงเพ่ือการบริโภค โดยลัทธิบริโภคนิยมเปนการบริโภคทางดานวัตถุส่ิงของเปนหลัก และละเลยการพัฒนาคุณภาพจิตใจและปญญา

12. เฉลย c. สงครามในประเทศจากความขัดแยงทางการเมืองท่ีมีอุดมการณตางกัน “วิกฤติการณท่ีสาม” ในสมัยรัตนโกสินทรตามแนวความคิดของนายแพทยประเวศ วะสี ใหแงคิด

เก่ียวกับประเทศไทยเรื่องความขัดแยงทางการเมืองของคนไทยกันเอง ซ่ึงปจจุบันนี้พลเมืองไทยมีแนวความคิดรับรูขาวสาร เขาใจระบบการเมืองการปกครองและตองการมีสวนรวม จึงแสดงออกทางความคิดอยางเต็มท่ี

13. เฉลย a. การไหว การไหว เปนวัฒนธรรมที่นับไดวาเปนเอกลักษณของคนไทยอยางมาก และไดถูกจัดใหเปนวัฒนธรรม

ไทยท่ีคนไทยอยากใหอนุรักษไวมากท่ีสุด 14. เฉลย c. การยึดถือแนวพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง วิกฤติเศรษฐกิจท่ีเกิดขึ้นในประเทศไทยขณะนี้ ซ่ึงเรียกวาเปนสภาวะเศรษฐกิจตกต่ํานั้นประเทศไทยจะ

ปรับตัวและสามารถผานวิกฤติการณไดดวยการยึดถือแนวพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง การสามัคคี และพรอมใจกันตอสูอุปสรรคตางๆ รวมท้ังการประหยัด ลดการใชพลังงาน จึงจะสามารถผานพนไปไดดวยดี

15. เฉลย b. Slow Food เปนคําท่ีชาวตะวันตกใหเรียกอาหารจากซีกโลกตะวันออกท่ีมุงเนนความพิถีพิถันและมีกระบวนการปรุงอาหารหลายขั้นตอน แตใหคุณคาทางโภชนาการสูงและดีตอสุขภาพ

Slow Food หมายถึง วัฒนธรรมการกินท่ีละเมียดละไม ไมเพียงใสใจสุขภาพตัวเองรวมไปถึงท่ีมาของอาหารและวัตถุดิบตางๆ ดวย เชน ปลอดสารเคมี สดใหม ไมทําลายส่ิงแวดลอม ไมกดขี่คาแรง หรือมีสวนในการทําลายวัฒนธรรมการผลิตแบบทองถ่ิน ฯลฯ เพราะการกินไมใชแคการเอาอาหารเขาปาก แตยังเชื่อมโยงกบัทรัพยากรของโลก ตลอดจนวัฒนธรรมการผลิตอาหารแบบทองถ่ินหรือชุมชน กระท่ังอํานาจของผูบริโภค

Page 5: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

4 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

ความเปนมาของขบวนการสโลวฟูด กอต้ังขึ้นในป พ.ศ. 2529 (1986) เมื่อรานแมคโดนัลดเปดสาขาใหมท่ีบริเวณสแปนิชสเตป ในกรุงโรม ซ่ึงเปนสถานท่ีท่ีทุกคนรูจักกันดีในยุโรปวา เปนศูนยรวมของผูคน ศิลปน คนทองถ่ิน นักทองเท่ียว เพ่ือพบปะแลกเปลี่ยนสรางสรรคความรู และสรางแรงบันดาลใจซ่ึงกันและกัน ทําใหผูคนในทองถ่ินเกิดการตอตาน ซ่ึงในจํานวนนั้นมี คารโล เปตรินี่ นักเขียนดานอาหารการครัวชื่อดังของอิตาลีรวมอยูดวย คารโล เปตรินี่ จึงกอต้ังกลุมสโลวฟูดขึ้น และกลายเปนขบวนการสโลวฟูดท่ีขยายออกไปอยางกวางขวาง ในเวลาตอมา

16. เฉลย a. สหภาพสากลไปรษณีย ประเทศไทยไดรับเลือกใหเปนท่ีต้ังสํานักงานประจําภูมิภาคเอเชียและแปซิฟกของสหภาพสากล

ไปรษณีย เพ่ือรวมมือระหวางประเทศในการพัฒนาและปรับปรุงการใชประโยชนจากกิจการโทรคมนาคม 17. เฉลย d. การกล่ันกรองขอมูลท่ีไมพึงประสงคโดยผูใช ปญหาจริยธรรมและปญหาสังคมจะเกิดขึ้นพรอมกับความกาวหนาทางเทคโนโลยี การส่ือสารและ

โทรคมนาคมเสมอ และปญหาท่ีพบคือการใชส่ือในทางที่ผิด สามารถพบในขาวไดบอยครั้ง ซ่ึงจะมีวิธีการปองกันและเยียวยาในระดับบุคคลและประเทศ ดังนี้

1. การคุมครองขอมูลสวนบุคคล 2. การเขารหัสลับขอมูล 3. การปองกันการเผยแพรเนื้อหาท่ีไมเหมาะสม 4. การกล่ันกรองขอมูลท่ีไมพึงประสงคโดยผูใช 18. เฉลย c. ระบบการตรวจคนเขาเมืองมีขอจํากัดท่ีจะจางบุคลากรท่ีเชี่ยวชาญระดับสูงจากตางประเทศ การพัฒนาบุคลากรทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศไทยที่กําลังเผชิญอยูใน

ปจจุบัน ไดแก 1. ความสามารถในการผลิตคุณภาพของระบบการศึกษาในปจจุบันยังไมเพียงพอ 2. สถาบันและหลักสูตรการฝกอบรมบุคลากรมีขอจํากัด 3. จํานวนบุคลากรท่ีมีความเชี่ยวชาญดานมัลติมีเดียมีขอจํากัด 19. เฉลย d. การปฏิรูปกระบวนการผลิตและพัฒนาอยางเปนองครวม การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย ตองจัดการเรียนรูตลอดชีวิต

ตองมีมุมมองแบบองครวม (Comprehensive View) คือ ครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรูทุกดาน โดยมีเปาหมาย 4 ประการ คือ

1. มีมุมมองอยางเปนระบบในเรื่องของ Demand และ Supply หมายถึง โอกาสเมื่อเรียนจบจะมีงานทํา เปนท่ีตองการของตลอดแรงงานหรือไม

2. มีผูเรียนเปนศูนยกลาง สนองตอบความตองการของผูเรียน 3. มีแรงจูงใจท่ีจะเรียน เปนพ้ืนฐานท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรูท่ีมีความตอเนื่องตลอดชีวิต 4. มีวัตถุประสงคของนโยบายการศึกษาท่ีหลากหลาย เชน การพัฒนาบุคลิกภาพ การพัฒนาความรู

วัตถุประสงคทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

Page 6: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 5

20. เฉลย a. เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เปนปญญาวิธีในการแกไขปญหาเมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าในป พ.ศ. 2540 ของ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ท่ีทรงใชเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักปรัชญาในการดําเนินชีวิต เพ่ือพัฒนาประเทศสูสังคมแหงความรู คือ เสริมสรางคุณภาพคนใหมีจิตสํานึกในคุณธรรม มีความซ่ือสัตย อดทน มีความเพียร และพัฒนาความรูและปญญาอยางตอเนื่อง

21. เฉลย b. การปฏิรูปการเรียนรู การปฏิรูปการศึกษา การปรับตัวของระบบการศึกษาไทย หัวใจสําคัญ คือ การปฏิรูปการเรียนรู การ

เรียนรูจะตองเปนกระบวนการพัฒนาใหผูเรียนมีความสามารถในการเรียนรู การเขาถึงแหลงเรียนรู การนําความรูมาประยุกตใช หากสามารถพัฒนาศักยภาพไปจนถึงการสรางองคความรูและถายทอดความรูได เปนท่ีแนนอนวาจะสามารถนําประเทศไปสูการผลิตในอุตสาหกรรมภาคตางๆ การสรางงาน หรือบริการดวยฐานะความรูได

22. เฉลย d. การปรับตัวของระบบการศึกษาไทย ดูคําอธิบายขอ 21 23. เฉลย d. พ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 4 ระบุหนาท่ีของชนชาวไทย ดังนี้ พิทักษรักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ปองกันประเทศ ไปเลือกต้ัง รับราชการทหาร ชวย

ปองกันและบรรเทาภัยพิบัติสาธารณะ เสียภาษีอากร ชวยเหลือราชการ พิทักษปองกันสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติ และภูมิปญญาทองถ่ิน อนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

24. เฉลย a. ดานการยุติธรรม พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา ในวโรกาสที่ทรงไดรับการทูลเกลาถวายรางวัลเกียรติยศ

สูงสุด จากสหประชาชาติ สืบเนื่องจากการประชุมคณะกรรมาธิการวาดวยการปองกันอาชญากรรม และความยุติธรรมทางอาญา สมัยท่ี 18 ท่ีพระองคทรงโปรดใหนําโครงการจัดทํามาตรฐานผูตองขังหญิง ท่ีตอยอดมาจากโครงการกําลังใจในพระราชดําริ ซ่ึงสงผลใหการปฏิบัติตอผูตองขังหญิงในเรือนจําท่ัวโลกมีการพัฒนา และยกระดับใหเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม รวมท้ังยังทรงรับเปนองคทูตสานสันถวไมตรีรณรงคตอตานความรุนแรงตอผูหญิงและการทรงงานดานกระบวนการยุติธรรม

25. เฉลย b. อุตสาหกรรมการทองเท่ียว ผลกระทบที่ประเทศไทยไดรับจากการแพรระบาดของไขหวัดใหญ สายพันธุใหม 2009 ไดแก

อุตสาหกรรมการทองเท่ียว เพราะประเทศไทยตองอาศัยรายไดจากภาคการทองเท่ียวมากกวาอุตสาหกรรมอื่นๆ เมื่อเกิดโรคระบาดเชนนี้ทําใหจํานวนนักทองเท่ียวลดลงกวาเดิม

26. เฉลย a. A/H1N1 เชื้อไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 เกิดจากเชื้อ A/H1N1 ซ่ึงเกิดจากการแพรระบาดของไวรัสท่ี

เรียกวา เอ เอช วัน เอ็น วัน เริ่มแรกระบาดในประเทศเม็กซิโก อาการเริ่มแรก คือ มีอาการปวดศีรษะ ไอ มีน้ํามูก

Page 7: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

6 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

27. เฉลย d. กฎหมาย “เรด โนติส” หรือ “หมายแดง” เปนคําศัพททางกฎหมาย หมายถึง เปนบุคคลซ่ึงเปนท่ีตองการตัวมา

ดําเนินการตามกฎหมาย “เรด โนติส” ไมใชการออกหมายจับไปทั่วโลก แตเปนการแจงเปนกรณีพิเศษใหผูท่ีไดรับแจงทราบวาบุคคลภายใตเรด โนติส เปนท่ีตองการตัวเพ่ือการดําเนินคดี เปนบุคคลท่ีตองการตัวของกระบวนการยุติธรรมระดับชาติ หรือเปนผูกระทําผิดในความตองการของศาลอาชญากรระหวางประเทศ ซ่ึงอินเตอรโพล (ตํารวจสากล) มีหนาท่ีใหความชวยเหลือกับกองกําลังตํารวจชาตินั้นๆ ในการบงชี้สถานท่ีพํานักของบุคคลผูนั้น เพ่ือนําไปสูการจับกุมและสงตัวในฐานะผูรายขามแดนตอไป การดําเนินการ “เรด โนติส” จะสงเปนจดหมายเวียนไปยังประเทศทั่วโลก โดยมีคําขอประกอบไปดวยวาบุคคลท่ีอยูในหมายดังกลาวนี้ จะตองถูกจับกุมและอยูในขายตองถูกสงตัวในฐานะผูรายขามแดน

“เรด โนติส” มีอยู 2 ชนิด 1. ออกตามหมายจับของบุคคลใดบุคคลหนึ่งซ่ึงเปนท่ีตองการตัวเพ่ือนําเขาสูกระบวนการยุติธรรม 2. ออกตามคําพิพากษาของศาลเพ่ือนําตัวบุคคลดังกลาวมารับโทษตามคําพิพากษา 28. เฉลย b. กรมการคาภายใน แผนกกํากับสินคา การท่ีผูบริโภคมีปญหาจากการซ้ือสินคาพบวาสินคาไมติดปายราคาโดยเจตนา กรณีเชนนี้ผูบริโภค

สามารถรองเรียนไดท่ีหนวยงาน กรมการคาภายใน แผนกกํากับสินคา ศูนยรองเรียนราคาสินคา หรือสายดวน 0-2507-5522

29. เฉลย a. คุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลใหพนจากการลวงละเมิด ท้ังโดยเจาหนาท่ีของรัฐและโดยบุคคลอื่น และตองอํานวยความยุติธรรมแกประชาชนอยางเทาเทียมกัน

30. เฉลย a. บุคคลท่ีประกอบคุณงามความดี ชวยเหลือทางราชการ บุคคลหรือหนวยงานทางราชการ ท่ีชวยเหลือทางราชการประเภทตางๆ 6 ประเภท ไดแก 1. ประเภทรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม 2. ประเภทการเพิ่มผลผลิต 3. ประเภทการบริหารความปลอดภัย 4. ประเภทการบริหารงานใหมีคุณภาพ 5. ประเภทการจัดการพลังงาน 6. ประเภทบริหารอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม 31. เฉลย c. ดานการตางประเทศใหเปนท่ียอมรับของสังคมโลก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550-2554) เปาหมายหลัก คือ 1. การพัฒนาคุณภาพคน 2. การพัฒนาชุมชนและแกปญหาความยากจน 3. ดานเศรษฐกิจ ปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหมีความสมดุลและยั่งยืน โดยใหสัดสวนภาคเศรษฐกิจใน

ประเทศตอภาคการคาระหวางประเทศเพ่ิมขึ้นเปนรอยละ 75 ภายในป พ.ศ. 2554 4. การสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 5. เปาหมายดานธรรมาภิบาล มุงใหธรรมาภิบาลของประเทศดีขึ้น มีคะแนนภาพลักษณของความ

โปรงใสอยูท่ี 5.0 ภายในป พ.ศ. 2554

Page 8: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 7

32. เฉลย c. การติดโรคเอดส ประเทศไทยในแงความเปนอยูและสุขภาพอนามัย ปญหา คือ การติดเชื้อเอชไอวีอยูในอันดับคอนขางสูง 33. เฉลย d. ระดับความยากจนเกินกําลังแกไข ในแงความเปนอยูและสุขภาพอนามัยประเทศไทยมีระดับการกินดีอยูดีคอนขางสูง มีคุณภาพชีวิตท่ีดี

ระดับความยากจนยังไมมากเกินกําลังแกไข และเปนประเทศที่ประชากรมีความสุขสบายดีพอควร 34. เฉลย a. ญ่ีปุน สถานะดานสุขภาพอนามัยดูจากอัตราการตายของทารกจากจํานวนทารกที่คลอดและยังมีชีวิตอยู 1000 คน

จํานวน 208 ประเทศ ญ่ีปุนดีท่ีสุด ตายเพียง 3.3 คน ขณะท่ีไทยอยูลําดับท่ี 96 ตายถึง 21.83 คน 35. เฉลย d. มีการคนพบสิ่งมีชีวิตสายพันธุใหมๆ อยางตอเนื่องเพราะเปนบริเวณที่เปรียบเสมือนแอมะซอนใตทะเล องคการกองทุนสัตวปาโลกสากล (WWF) แถลงการณเก่ียวกับ “Coral Triangle” หรือสามเหล่ียม

ปะการัง ซ่ึงต้ังอยูตามแนวชายฝง ปะการัง และทองทะเลในประเทศอินโดนีเซีย ติมอรตะวันออก มาเลเซีย ฟลิปปนส ปาปวนิวกินี และหมูเกาะโซโลมอนเปนแหลงอาหารที่สําคัญของประชากร 100 ลานคน ขณะนี้กําลังจะสูญหายไปจากแผนที่โลกแลวเพราะสภาวะโลกรอน เปนหายนะท่ีจะเกิดขึ้นเพราะเปนแหลงอาหารของโลกที่สําคัญอีกแหงหนึ่ง จึงใหทุกฝายใหความรวมมือในการแกไขปญหาการปลอยแกสเรือนกระจก

36. เฉลย d. สภาวะท่ีโลกถูกยอใหเล็กลงดวยการติดตอคาขาย ถายโอนดวยขอมูลขาวสาร “หมูบานโลก” (Global Village) ตามความคิดของมารแซล แมคลูฮัน (Marshall Mcluhan) คือ

สภาวะท่ีโลกถูกยอใหเล็กลง การลงทุน ตลอดจนการถายโอนขอมูลขาวสาร คานิยม ความคิดและวัฒนธรรมตางๆ เปนไปอยางรวดเร็ว

37. เฉลย a. อัลวิน ทอฟฟเลอร อัลวิน ทอฟฟเลอร (Alvin Toffler) เขียนหนังสือ “คล่ืนลูกท่ีสาม” (The Third Wave) โดยวิเคราะห

สถานการณในอดีต ปจจุบัน และอนาคต โดยเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของอารยธรรมโลกเหมือนคล่ืนสามลูก ซ่ึงซอนทับกัน ประกอบดวย คล่ืนลูกท่ีหนึ่ง (สังคมเกษตรกรรม) คล่ืนลูกท่ีสอง (สังคมอุตสาหกรรม) และคล่ืน ลูกท่ีสาม (สังคมแหงเทคโนโลยี)

38. เฉลย a. การทําลายปาของชาวเขา เพ่ือปลูกฝน และทําไรเล่ือนลอย เมื่อหลายสิบปกอน ในการเสด็จฯ แปรพระราชฐานไปประทับแรม ณ พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน

จังหวัดเชียงใหม ต้ังแต พ.ศ. 2507 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ไดเสด็จฯ ไปทรงเยี่ยมราษฎรชาวเขาทั่วทุกดอยในเขตจังหวัดภาคเหนือ โดยไดทอดพระเนตรเห็นการทําลายปาตามยอดเขา เพ่ือปลูกฝนและทําไรเล่ือนลอย ซ่ึงถือเปนการทําลายตนน้าํลําธาร บอเกิดของแมน้าํสายสําคัญ ในฐานะพระมหากษัตริยนักพัฒนา พระบาทสมเด็จ-พระเจาอยูหัวฯ ทรงเล็งเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้น และทรงพยายามแกไขอยางเรงดวน ทรงมีพระราชดําริวา ถาจะใหชาวเขาเลิกปลูกฝน ก็ตองหาพืชอื่นท่ีขายไดราคาดีกวา และเหมาะสมกับสภาพภูมิประเทศ เพ่ือใหชาวเขาปลูกทดแทน จึงจะสามารถเลิกปลูกฝนได จากท่ีไดทอดพระเนตรถึงสภาพความเปนจริง และทรงเขาพระราชหฤทัยในความทุกขยากของราษฎร จึงไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหต้ังโครงการหลวงขึ้นเปนโครงการสวนพระองค เมื่อป 2512 ดวยพระราชทรัพยสวนพระองค ประกอบกับเงินท่ีไดรับการสนับสนุนจากราษฎร รัฐบาลไทย และรัฐบาลตางประเทศ เพ่ือรวมกันพัฒนาเศรษฐกิจชาวเขาใหหางไกลจากฝน โดยทรงมอบหมายให “หมอมเจาภีศเดช รชัน”ี เปนผูรับสนองพระราชประสงค ทําหนาท่ีผูอํานวยการโครงการหลวง พระบรมราชานุเคราะหชาวเขา

Page 9: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

8 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

39. เฉลย c. การแตงกายแบบไทย การแตงกายของไทยโดยเฉพาะในยุครัตนโกสินทรซ่ึงมีอายุยาวนานมากกวา 200 ปนั้น ไดมีวิวัฒนาการ

มาเปนลําดับ แตละยุคสมัยลวนมีรูปแบบการแตงกายท่ีเปนของตนเองซึ่งไมอาจสรุปไดวา แบบใดยุคใดจะดีกวา หรือดีท่ีสุด เพราะวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรม ลวนตองมีการปรับเปลี่ยนบูรณาการไปตามสิ่งแวดลอมของสังคมแลวแตสมาชิกของสังคมจะคัดสรรส่ิงท่ีพอเหมาะพอควรสําหรับตน พอควรแกโอกาส สถานท่ีและกาลเทศะ

40. เฉลย b. Plato หลักการของเพลโต นักปรัชญาชาวกรีก ท่ีกลาววา “รัฐมีความสําคัญเหนืออื่น การท่ีจะทําใหรัฐมั่นคง

อันดับแรกตองใหการศึกษาแกประชาชนเสียกอน” ควรศึกษาวิชากายบริหาร ดนตรี เพลง ศิลปะ วรรณคดีหรือ ส่ิงท่ีดีงาม

41. เฉลย d. ระดับน้ําสูงขึ้น สตอมเสิรท (Storm Surge) มีชื่อเรียกอีกอยางวา Tidal Surge หรือ คล่ืนพายุซัดฝงท่ีอยูสูงกวา

ระดับน้ําทะเลเพียงแค 1 เมตร สตอมเสิรท เปนคล่ืนยักษท่ีถาโถมเขาซัดชายฝงมีลักษณะที่เหมือนกับคล่ืนยักษ สึนามิ จะตางกันก็เพียง สึนามิ คือ แรงกระเพื่อมของคล่ืนยักษท่ีเกิดจากแผนดินไหว ในขณะที่สตอมเสิรทเกิดขึ้นพรอมกับพายุแลวเคล่ือนเขาซัดฝงอยางรุนแรง เปนปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นพรอมกับพายุหมุนท่ีมีลมรุนแรง สามารถสรางความเสียหายใหกับบริเวณที่เกิดไดอยางรุนแรง

42. เฉลย c. ระบอบประชาธิปไตย อารยะขัดขืน หรือ Civil Disobedience กําลังเปนคํายอดฮิต ใชแพรหลายในแวดวงสื่อมวลชนท้ัง

โทรทัศน หนังสือพิมพ ซ่ึงเปนคําท่ีมาจากบทความของ เฮนรี่ เดวิด ธอโร นักเขียนชาวอเมริกัน ในบทความชื่อ ดื้อแพง ซ่ึงแนวคิดท่ีผลักดันบทความนี้ คือ การพ่ึงตนเอง คือ การตอสูกับรัฐบาลนั้น ประชาชนไมจําเปนตองตอสูทางกําลัง แตใชวิธีไมสนับสนุนรัฐบาลของตนในกรณีไมเห็นดวย และถูกนํามาใชในปจจุบัน คือ อารยะขัดขืน

43. เฉลย b. การลงแขก ฝดขาว ตําขาว ประเพณีการลงแขก ฝดขาว ตําขาว เปนวัฒนธรรมพื้นบานท่ีถือเปนสวัสดิการสังคมไทยแบบดั้งเดิม

เปนประเพณีท่ีสืบทอดมาชานาน การลงแขก คือ การรวมแรงรวมใจกันทํา เปนการแสดงความเอื้ออาทรกันในสังคมไทย สมัยกอนไมมีเครื่องทุนแรงตองใชกําลังแรงงานตนเอง จึงชวยกันตําขาว เมื่อมีแกลบติดมากับขาวตองชวยกันฝดขาวเอาแกลบออก

44. เฉลย a. นําขาวดังกลาวไปสอนในหองเรียน “โรคชิคุนกุนยา” ติดตอกันไดโดยมียุงลายเปนพาหะนําโรคที่สําคัญ เมื่อยุงลายเพศเมียกัดและดูดเลือด

ผูปวยท่ีอยูในระยะไขสูง ซ่ึงเปนระยะที่มีไวรัสอยูในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเขาสูกระเพาะยุงและเพ่ิมจํานวนมากขึ้น แลวเดินทางเขาสูตอมน้ําลาย เมื่อยุงท่ีมีเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาไปกัดคนอื่นก็จะปลอยเชื้อไปยังคนท่ีถูกยุงกัด ทําใหคนนั้นเกิดอาการของโรคได

ระยะการฟกตัว โดยท่ัวไปจะมีการฟกตัวประมาณ 1-12 วัน แตท่ีพบบอยประมาณ 2-3 วัน ระยะติดตอ คือ ระยะไขสูงประมาณวันท่ี 2-4 ซ่ึงเปนระยะที่มีไวรัสอยูในกระแสเลือดมาก สําหรับอาการของผูปวยนั้น ผูปวยจะมีอาการไขสูงอยางฉับพลันรวมกับอาการอยางใดอยางหนึ่ง เชน มีผื่นแดงขึ้นตามรางกาย ปวดกลามเนื้อ ปวดกระดูกหรือขอ ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา หรือมีเลือดออกตามผิวหนัง และอาจมีอาการคันรวมดวย พบตาแดง แตไมคอยพบจุดเลือดออกในตาขาว

อาการของโรคชิคุนกุนยา จะคลายโรคไขเลือดออกหรือหัดเยอรมัน แตไมพบผูปวยท่ีมีอาการรุนแรงถึงขั้นช็อกหรือเลือดออกมาก โรคชิคุนกุนยาพบมากในฤดูฝน และทุกกลุมอายุ ซ่ึงตางจากโรคไขเลือดออกและ หัดเยอรมันท่ีมักพบในผูอายุนอยกวา 15 ป

Page 10: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 9

45. เฉลย a. ยุงลาย ดูคําอธิบายขอ 44 46. เฉลย c. ภาคใต การนํารกเด็กคลุกพริกไทยตํากับเกลือ ใสรกลงในหมอดินดวยผาขาวแลวนําไปฝงใตตนไมชนิดตางๆ

เพ่ือเอาเคล็ดในเรื่องความฉลาดเฉียบแหลม หรือเชื่อวาเด็กจะเปนใหญเปนโตในอนาคต ความเชื่อดังกลาวเปนความเชื่อของชาวไทยในสังคมภาคใต

47. เฉลย a. การส่ือสารท่ัวไปที่อาศัยคํา จํานวนเลข เครื่องหมายการเขียนวรรคตอน วัจนภาษา (Verbal Language) คือ ภาษาถอยคํา ไดแก คําพูดหรือตัวอักษรท่ีกําหนดใชรวมกันในสังคม

ซ่ึงหมายรวมทั้งเสียงและลายลักษณอักษร ภาษาถอยคําเปนภาษาท่ีมนุษยสรางขึ้นอยางมีระบบ มีหลักเกณฑทางภาษาหรือไวยากรณ ซ่ึงคนในสังคมตองเรียนรูและใชภาษาในการฟง พูด อาน เขียนและคิด การใชวัจนภาษาในการส่ือสารตองคํานึงถึงความชัดเจนถูกตองตามหลักภาษา และความเหมาะสมกับลักษณะการสื่อสาร ลักษณะงาน ส่ือ ผูรับสาร และเปาหมาย

48. เฉลย c. เปนการใหบริการขาวสารขอมูลแนวใหมในระบบอินเทอรเน็ต ท่ีไดรับความนิยมมาก เนื่องจากใชงานงาย คอยบริการขอมูลท้ังท่ีเปนขอความเสียง ภาพนิ่ง และภาพเคล่ือนไหว

ความหมายของอินเทอรเน็ต (Internet) คือ เครือขายของคอมพิวเตอรขนาดใหญ ท่ีเชื่อมโยงเครือขายคอมพิวเตอรท่ัวโลกเขาดวยกัน เรียกอีกอยางหนึ่งวา ไซเบอรสเปช (Cyberspace) คําเต็มของอินเทอรเน็ต คือ อินเทอรเน็ตเวิรกกิง (Internetworking) ตอมานิยมเรียกส้ันๆ วา อินเทอรเน็ต เพ่ือใชในการสืบคนขอมูล (Gopher, Archie, World Wide Web) คือการใชเครือขายอินเทอรเน็ตในการคนหาขาวสารท่ีมีอยูมากมาย แลวชวยจัดเรียงขอมูลขาวสารตามหัวขออยางมีระบบ เปนเมนู ทําใหเราหาขอมูลไดงายและสะดวกขึ้น

49. เฉลย b. สันติภาพภายใตอํานาจโรมัน จักรวรรดิโรมันภายใตระบบพรินซิเพท นับต้ังแตการเถลิงอํานาจของออกุสตุส จนถึง มารคุส ออเรลิอุส

นั้นไดครอบครองดินแดนขนาดใหญ ภาระในการปองกันพรมแดนอันยาวเหยียดตกอยูกับกองทัพท่ีไดรับการฝกอยางดี การคมนาคมภายในนั้นมีถนนท่ีดีเย่ียมซ่ึงเชื่อมโรมเขากับแควนตางๆ เสนทางการคาทางทะเลก็ไดรับ ความคุมครองจากกองทัพเรือโรมัน ระยะเวลา 2 ศตวรรษแหงสันติภาพและความเจริญรุงเรืองต้ังแตสมัยออกุสตุสจนถึง มารคุส ออเรลิอุส ไดรับสมญาวา PAX ROMANA หรือ สันติภาพโรมัน

50. เฉลย d. ใหประชาชนไดรับและเกิดแนวคิดเปนอันหนึ่งอันเดียวกับรัฐบาล โครงการจัดระบบสารสนเทศ อบต. หรือโครงการอินเทอรเน็ตตําบล เปนโครงการหนึ่งท่ีต้ังขึ้นมาสมัย

อดีตนายกฯ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสนับสนุนการทํางานขององคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ซ่ึงทําหนาท่ีหลักในการเผยแพรขอมูลเก่ียวกับศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงใน อบต.

แหลงขอมูลของ อบต. ดังกลาวนั้นมีเปาประสงควาประชาชนจะตองไดรับประโยชนมากมาย ยกตัวอยางเชน ประชาชนจะตองไดรับขาวสารท่ีสงตรงจาก อบต. มากขึ้น ประชาชนจะตองไดเรียนรูมากขึ้น ประชาชนสามารถตรวจสอบสิทธิและการใชสิทธิเลือกต้ัง ประชาชนสามารถใชพ้ืนท่ีในหนาเว็บไซตของ อบต.ในการโฆษณาสินคา บริการ และแหลงทองเท่ียว เปนตน

Page 11: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

10 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

51. เฉลย d. เพ่ือใหนักเรียนเกิดการเรียนรูและปรับตัว กิจกรรมเสริมหลักสูตรการเรียนการสอนเปนกิจกรรมที่วาดวยการศึกษา จะสมบูรณไดเมื่อมีกิจกรรม

เสริม เชน กีฬา และนันทนาการ ศิลปะการแสดง ท่ีจัดโดยชมรมหรือสังคมตางๆ เพ่ือสนองความสนใจของนักเรียนท่ีหลากหลาย กิจกรรมเสริมเหลานี้จะไดรับการสนับสนุนโดยการจัดใหมีคาย ทัศนศึกษา และโครงการชวยเหลือชุมชนตางๆ เพ่ือใหนักเรียนเกิดการเรียนรูและปรับตัวอยูรวมกับเพ่ือนๆ ไดอยางมีความสุข

52. เฉลย d. การชี้แนะชวยเหลือการทํางานใหแกนักเรียน วิธีสอน คือ วิธีการท่ีครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรวมทั้งใชเทคนิคการสอน เนื้อหาวิชา และส่ือการ

สอน เพ่ือใหบรรลุถึงจุดประสงคของการสอน เทคนิคการสอนมีหลายวิธี เชน วิธีสอนแบบอุปนัย วิธีสอนแบบสาธิต วิธีสอนแบบแบงกลุม เปนตน วิธีการตางๆ เหลานี้จะทําใหผูเรียนเกิดความคิด มีสวนรวมกับกิจกรรมการเรียนการสอน ถาสอนแบบชี้แนะนักเรียนจะไมมีสวนรวม

53. เฉลย c. ครูนําตนไมมาปะติดกับกระดาษและเขียนสวนประกอบกํากับ กรณีครูตองการท่ีจะสอนเรื่อง “สวนประกอบของพืช” ครูนําตนไมมาปะติดกับกระดาษเขียนสวนประกอบ

กํากับ เพราะการสอนเรื่องตนไม จะตองประกอบดวยราก ตน ใบ ดอก ฯลฯ จึงจะเกิดผังความคิดเรื่องตนไมไดชัดเจน

54. เฉลย b. ความรูความสามารถ กรณีครูสุดาตองการเชิญวิทยากรในทองถ่ินมาใหความรูนักเรียนควรคํานึงถึงคุณสมบัติ ดังนี้ 1. เปนผูท่ีไมหยุดท่ีจะเรียนรู สนใจและใฝหาความรูตลอดเวลา 2. เปนผูท่ีนําภูมิปญญาท้ังของตนเองและที่มีอยูในทองถ่ินมาผนวกประสานเขากับวิทยาการสมัยใหม

ไดเปนอยางดี 3. เปนนักวิจัยทองถ่ิน งานท่ีทํามีการทําอยางเปนระบบ ขั้นตอน บันทึกและผลักดันใหเกิดการมีสวน

รวมในการทํางานของคนในทองถ่ิน 4. เปนผูนําในการเผยแพรหลักและแนวคิดในการทํางานกับชุมชน ซ่ึงขยายผลและเปนท่ีรูจักกันดีใน

หนวยงานของสถาบันการศึกษา 5. เปนนักสารสนเทศ กลาวโดยสรุป คือ ตองเปนผูมีความรูความสามารถ 55. เฉลย c. จัดเกมตางๆ ทางคณิตศาสตรไวใหเลน วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาท่ีทําใหนักเรียนชอบการเรียนคณิตศาสตรยากมาก กรณีนักเรียนระดับชั้น

ประถมศึกษาปท่ี 6 ไมชอบวิชาคณิตศาสตร ผูสอนควรจัดเกมตางๆ ทางคณิตศาสตรไวใหเลน เพ่ือเพ่ิมความสนุกสนาน ไมเครียดกับการนั่งคิดเลขอยางเดียว

56. เฉลย d. ครูสมชายสนใจรับฟงความรูสึกนึกคิดของเด็ก การสงเสริมความเปนประชาธิปไตยดวยการสนใจรับฟงความรูสึกนึกคิดของเด็ก แมจะเปนเสียงเพียง

คนเดียวก็ตองรับฟง เพ่ือฝกใหเปนผูฟงและยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น ซ่ึงถือเปนหลักของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

Page 12: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 11

57. เฉลย d. ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนใหม กรณีครูอรทัยสอนวิชาวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 และต้ังจุดประสงคการออกขอสอบไว

ในแตละขอ ถานักเรียนไมผานเกณฑท่ีกําหนดไวในจุดประสงคแตละขอ ครูอรทัยจะดําเนินการดวยการปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนใหม

58. เฉลย a. มุสาวาทา เบญจศีล (ศีล ๕) ศีล แปลวา ปกติ หมายถึง การประพฤติทางกาย วาจา ใหเปนปกติ การสํารวมกาย

วาจาใหเรียบรอย ใหต้ังมั่นในความดี ประกอบดวย 1. ปาณาติปาตา เวรมณี คือ การงดเวนการฆาสัตว ในทางปฏิบัติ คือ ไมเบียดเบียนสัตวอื่น 2. อทินฺนาทานา เวรมณี คือ การงดเวนเอาของคนอื่นมาเปนของตน ในทางปฏิบัติ คือ ไมเบียดเบียน

ทรัพยผูอื่น 3. กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี คือ การงดเวนการประพฤติผิดในกาม ในทางปฏิบัติ คือ การดําเนิน

ชีวิตไมลวงละเมิดคูครองผูอื่น 4. มุสาวาทา เวรมณี คือ การงดเวนการพูดเท็จ ในทางปฏิบัติ คือ การไมเบียดเบียนผูอื่นดวยการ

กลาววาจาเท็จหลอกลวง (การหนีเรียนถือวาเปนการเบียดเบียนตนเองและพูดเท็จกับผูปกครอง) 5. สุราเมรยมชฺชปมาทฏานา เวรมณี ในทางปฏิบัติ คือ งดเวนจากสุราและของมึนเมา ในทางปฏิบัติ

เพ่ือไมใหประมาทและทําใหตัวเองเดือดรอน 59. เฉลย c. ในสถานศึกษายอมมีคนดีและไมดีเปนเรื่องธรรมดา ในสถานศึกษายอมมีคนดีและไมดีเปนเรื่องธรรมดา หากพบการกระทําดังกลาวครูทุกคนควรตองให

ความสําคัญและดูแลถาเห็นความผิดปกติตองรีบแกไข ท้ังนี้การสอบคัดเลือกบุคคลเขามารับตําแหนงครูหรืออาจารยในสถานศึกษาควรพิจารณาดูจากประสบการณการทํางาน ประวัติสวนตัว บุคลิกภาพ ทัศนคติในการเปนครู ฯลฯ เปนการปองกันอันดับแรก

60. เฉลย b. ครูจิตราใหนักเรียนทองประวัติพระพุทธเจาทุกวันกอนสอนวิชาพระพุทธศาสนา การสอนในระบบวัฒนธรรมเถรวาทไทย คือ การสอนในระบบการทองจําไมลงมือปฏิบัติ 61. เฉลย c. จอหน ดิวอี้ (John Dewey) จอหน ดิวอี้ ( John Dewey ) เปนนักปรัชญาพิพัฒนนิยม (Progressivism) การเรียนการสอนตาม

แนวทางของปรัชญาพิพัฒนนิยม เนนการฝกการกระทํา (Learning by doing) เพ่ือใหเกิดประสบการณโดยตรง การเรียนรูจากการฝกปฏิบัติจริงตองใชกระบวนการแกปญหา ดังนั้น การเรียนการสอนในลัทธินี้จึงใชการสอนแบบแกปญหา (Problem Solving) โดยนําหลักการแกปญหาทางวิทยาศาสตรมาใชและตองเนนใหเด็กมีความสามารถในการแกปญหา เนื่องจากความรูเกิดจากการปฏิบัติจริง ถาส่ิงใดยังไมถูกใชสําหรับกระทํา ส่ิงนั้นเปนเพียงขอมูลไมใชความรู แมแตในการสอนศีลธรรมก็ตองเนนการทดลอง

62. เฉลย a. การท่ีจะมีชีวิตอยูอยางชาญฉลาดนั้นจะตองอาศัยการเขาใจความหมายของประสบการณ เด็กจึงควรจะไดเรียนรูในส่ิงท่ีเหมาะกับวัยของนักเรียน

การท่ีจะมีชีวิตอยูอยางชาญฉลาดนั้นจะตองอาศัยการเขาใจความหมายของประสบการณ เด็กจึงควรจะไดเรียนรูในส่ิงท่ีเหมาะกับวัยของเขา โรงเรียนควรจะเปนแบบจําลองของสังคม ท่ีจะชวยใหเด็กมีประสบการณทางสังคมเสมือนหนึ่งการดําเนินชีวิตจริง ในลักษณะเชนนี้โรงเรียนจึงมีสภาพเปนสังคมยอยในสังคมใหญ เปน

Page 13: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

12 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

แหลงจัดประสบการณใหผูเรียนมีประสบการณ เพ่ือใหสามารถดํารงตนอยูในสังคมได เด็กควรจะเรียนรูในส่ิงท่ีเหมาะสมกับวัยของเขา ส่ิงท่ีโรงเรียนจัดใหเด็กไดเรียนรูจึงควรเปนส่ิงท่ีชวยใหเด็กไดรับประสบการณ ซ่ึงเขาอาจประสบในอนาคตเมื่อเติบโตเปนผูใหญ เพราะเขาควรจะสามารถเขาใจปญหาของชีวิต และสังคมท่ีปรากฏอยูในปจจุบัน และหาทางปรับตัวเขากับภาวะที่เปนจริงเหลานั้น

63. เฉลย d. การจัดการดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายขององคกร หนาท่ีของครู คือ เขาใจคุณภาพของผูเรียน การพัฒนาผูเรียน การประเมินและรายงานผลผูเรียน การ

จัดการในหองเรียน คือ พฤติกรรมของครูในการสงเสริมใหเด็กเกิดการเรียนรู ครูตองตระหนักถึงปญหาและสถานการณในหองเรียน ควรวางแผนที่ดีเพ่ือเปนการปองกันปญหา เพ่ือใหครูเขาใจนักเรียน ท่ีสําคัญตองมีกฎระเบียบในหองเรียน การจัดการดําเนินงานเพ่ือใหบรรลุเปาหมายขององคกร เปนหนาท่ีของผูบริหาร

64. เฉลย b. เสนผมบังภูเขา เสนผมบังภูเขา หมายถึง เปนเรื่องท่ีทําใหตองเสียเวลาคิดคนหรือแกไขเกือบตาย แตแทจริงแลวเปน

เรื่องท่ีมีปญหาอยูนิดเดียว ซ่ึงมองขามไปเลยทําใหเปนเรื่องใหญ หรืออีกทางหนึ่ง หมายความวา เอาเรื่องเล็กนอยมาบังหนาเสีย เพ่ือหลอกใหอีกฝายเขาใจเขวไป จนไมทันคิดวาจะเปนเรื่องใหญท่ีเสียการ

65. เฉลย d. สอนใหเขาใจขนบธรรมเนียมประเพณี การสืบทอดวัฒนธรรม หมายถึง ครูตองมีหนาท่ีรับผิดชอบเก่ียวกับการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม

จากคนรุนหนึ่งใหตกทอดไปสูคนอีกรุนหนึ่ง หรือ รุนตอๆ ไป ซ่ึงมีวิธีการท่ีครูจะกระทําได 2 แนวใหญๆ ดวยกัน คือ 1. การปฏิบัติตามวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามอยางถูกตองเปนประจํา กลาวคือ ครู

ทุกคนจะตองศึกษาใหเขาใจในขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของชาติอยางถองแทเสียกอน ตอจากนั้นจึงปฏิบัติตามใหถูกตองและเหมาะสม เพ่ือใหศิษยและประชาชนทั่วไปยึดถือเปนแบบอยาง เชน

- การแตงกายใหเหมาะสมตามโอกาสตางๆ - การแสดงความเคารพและกิริยามารยาทแบบไทยๆ - การจัดงานมงคลสมรส 2. การอบรมส่ังสอนนักเรียนใหเขาใจในวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงามของไทยอยางถูกตอง และ

ในขณะเดียวกันก็กระตุนสงเสริมใหนักเรียนไดประพฤติปฏิบัติตามใหถูกตอง ตามแบบฉบับอันดีงามท่ีบรรพบุรุษไดยึดถือปฏิบัติสืบตอกันมา

66. เฉลย a. วิตกกังวล นายจุรินทร ลักษณวิศิษฎ อดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เผยผลสํารวจเด็กไทยไมภาคภูมิใจ

ในความเปนไทย มีเพียงรอยละ 38 เทานั้นท่ีรูสึกภาคภูมิใจในความเปนไทย ผลสํารวจพบวา เด็กรูสึกเปนคนดีรอยละ 63 และมีความสุขกับการเรียนรอยละ 51 แตท่ีนาเปนหวง คือ เด็กไทยมีความรูสึกภูมิใจในความเปนไทยตํ่าท่ีสุด โดยมีเด็กไทยเพียงรอยละ 38 เทานั้นท่ีรูสึกภูมิใจในความเปนไทย สําหรับแบบสอบถามความรูสึกนั้นนักวิจัยไดกล่ันกรองแนวทางคําถาม เพ่ือประเมินพฤติกรรมดานความเปนคนด ี และมีความสุขกับการเรียนดานละ 30 คําถาม สวนเรื่องความภูมิใจในความเปนไทยนั้น มีคําถามหลักอยู 2 คําถาม ไดแก ภูมิใจหรือไมท่ีเกิดเปนคนไทย และรูเรื่องเก่ียวกับประวัติศาสตรชาติไทยหรือไม ท้ังนี้ กระทรวงศึกษาธิการจะตองเรงดําเนินการสรางความภูมิใจ ใหเกิดขึ้นแกเด็กไทยใหมากขึ้น โดยองคกรหลักไดกําหนดทิศทางเพ่ือปฏิบัติตามแผนพัฒนาการศึกษาดังกลาวไวแลว

Page 14: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 13

67. เฉลย c. จัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตรอยางนอย 1 ชั่วโมงในสัปดาห การสรางความภาคภูมิใจในความเปนไทย ขณะนี้ไดขอยุติวา จะมีการสอนวิชาประวัติศาสตร 1 ชั่วโมง

เปนอยางนอยใน 1 สัปดาห ซ่ึงจะชวยใหเด็กรูและเขาใจประวัติศาสตรชาติไทย และสนองพระราชเสาวนียของสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถอีกดวย

รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการเรงใชแผนพัฒนาคุณภาพผูเรียน 4 ดาน โดยต้ังเปาปการศึกษา 2553 คะแนนเฉล่ียวิชาหลัก วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาไทย ตองเพ่ิมขึ้นไมนอยกวา รอยละ 2 ขณะท่ีภาษาอังกฤษตองเพ่ิมไมนอยกวา รอยละ 5 ควบคูกับการสรางเด็กไทย ดี มีสุข และภาคภูมิใจในความเปนไทย

68. เฉลย a. การสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ “การสอนโดยเนนท่ีผูเรียนเปนสําคัญ จะชวยพัฒนาผูเรียนในทุกดาน ท้ังดานรางกาย อารมณ สังคม

สติปญญา ท้ังดานความรู ทักษะ และเจตคติ (ลักษณะนิสัย) และท้ังดาน IQ (Intelligence Quotient) และดาน EQ (Emotional Quotient) ซ่ึงจะนําไปสูความเปนคนเกง คนดี และมีความสุข” ตามเปาหมายการจัดการศึกษาในปจจุบัน

69. เฉลย a. การจัดกิจกรรมการสอนโดยครูตองมีความอดทนและรับผิดชอบสูง การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูใหมจากการเอาวิชาเปนตัวต้ังไปสูการเอาคนและสถานการณจริงเปนตัว

ต้ัง เรียนจากประสบการณและกิจกรรม จากการฝกหัด จากการต้ังคําถามและจากการแสวงหาคําตอบ ซ่ึงจะทําใหสนุก ฝกปญญาใหกลาแข็ง ทํางานเปน ฝกคุณลักษณะอื่นๆ เชน ความอดทน ความรับผิดชอบ การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน การรวมกลุม การจัดการ การรูจักตน หมายถึง “การสอนโดยเนนท่ีผูเรียนเปนสําคัญ จะชวยพัฒนาผูเรียนในทุกดาน ท้ังดานรางกาย อารมณ สังคม สติปญญา ท้ังดานความรู ทักษะ และเจตคติ (ลักษณะนิสัย) และท้ังดาน IQ (Intelligence Quotient) และดาน EQ (Emotional Quotient) ซ่ึงจะนําไปสูความเปน คนเกง คนดี และมีความสุข” ตามเปาหมายการจัดการศึกษาในปจจุบัน

70. เฉลย d. คําถามท่ีมีคําตอบชัดเจนคําตอบเดียว การถาม คือ ยุทธศาสตรการสอนท่ีสําคัญ กอใหเกิดการเรียนรู ชวยพัฒนากระบวนการคดิ การตีความ

การไตรตรอง การถายทอดความรู ความคิด ความเขาใจ และสามารถนําไปสูการเปลี่ยนแปลง และปรับปรุงการเรียนรู การคิดและการสอน

การต้ังคําถามท่ีมีคําตอบเดียวชัดเจนไมชวยใหนักเรียนเกิดความคิดประเมินคุณคา ขาดการพัฒนาดานความคิดและอารมณ

71. เฉลย d. ปลูกฝงความมุงหวัง โรงเรียนในฐานะเปนตัวแทนในกระบวนการอบรมขัดเกลาทางสังคมมักถายทอดส่ิงตอไปนี้ใหกับเด็ก

คือ ความรู ทักษะ ทัศนคติท่ีจําเปนในการมีชีวิตอยูรวมกับคนอื่น แตไมไดสอนการปลูกฝงความมุงหวังใหกับเด็ก 72. เฉลย a. วงกวาง การขัดเกลาทางสังคมโดยตรง คือ การส่ังสอนและฝกอบรมโดยพอแม และครูอาจารย ทําใหเด็ก

ปฏิบัติตามท่ีสังคมคาดหวัง บรรทัดฐานทางสังคมหรือปทัสถาน (Norms) หมายถึง มาตรฐานท่ีคนสวนใหญในกลุมยึดถือเปน

แนวทางในการปฏิบัติ ไดแก กฎ ระเบียบ แบบแผนความประพฤติตางๆ ประเภทของบรรทัดฐานทางสังคม แบงเปน 3 ประเภท คือ

Page 15: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

14 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

1. วิถีประชา หรือ วิถีชาวบาน (Folkways) 2. กฎศีลธรรม หรือ จารีต (Morals) 3. กฎหมาย (Laws) 73. เฉลย a. ครูไมสามารถจัดหลักสูตรการเรียนการสอนใหผูเรียนคิดเปน แกปญหาเปน ปญหาดอยคุณภาพการจัดการศึกษาไทยที่เผชิญ คือ ไมสามารถจัดการเรียนการสอนใหนักเรียน

คิดเปน แกปญหาเปน จนกระทั่งป พ.ศ. 2545 ไดจัดกิจกรรมการศึกษานอกโรงเรียน จะเนนการนําปรัชญา “คิดเปน” การพ่ึงพาตนเองและแนวคิดการศึกษาตลอดชีวิตมาใชเปนหลักการในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน เพ่ือนําไปสูสังคมแหงการเรียนรู แสดงใหเห็นวาปรัชญา “คิดเปน” จะยังคงบูรณาการเขาไปในโปรแกรม การจัดการศึกษานอกโรงเรียน โดยเนนใหผูเรียนรูจักการแกปญหา การพัฒนาศักยภาพการเรียนรูและการรักศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูเรียน กระบวนการเรียนการสอนจะยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง หลักสูตรมีความยืดหยุน

74. เฉลย c. การลอกเลียนและการเรียนรูรูปแบบการจัดการศึกษาของประเทศที่พัฒนาแลว ประวัติศาสตรการศึกษาไทย พ.ศ. 2414 เปนปเริ่มตนจัดการศึกษาระบบโรงเรียนแบบตะวันตก

ทางการบริหารก็ควรถือ พ.ศ. 2430 เปนปเริ่มตน “นํารอง” ระบบบริหารราชการแบบใหม เพราะเปนปท่ีรัชกาลท่ี 5 มีพระบรมราชโองการแตงต้ังพระเจานองยาเธอกรมหมื่นดํารงราชานุภาพ (พระยศขณะนั้น) เปนอธิบดีกรมศึกษาธิการ

พ.ศ. 2435 รัชกาลท่ี 5 โปรดฯ ใหมีการบริหารราชการดวยระบบกระทรวง ระบบราชการจึงขยายโครงสรางครั้งใหญ โดยมีการศึกษาระบบโรงเรียนผลิตขาราชการ นับแตนั้น โรงเรียนกลายเปนแหลงเรียนรูแหลงเดียวแทนวัง-วัด-บาน รวมท้ังเปนแหลงชวยเล่ือนฐานะทางสังคมของคนในสังคม

พ.ศ. 2475 คณะราษฎรกําหนดในรัฐธรรมนูญใหรัฐจัดการศึกษาภาคบังคับ ในระดับสูงก็เปด “ตลาดวิชา” เรียกวา มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตรและการเมือง เปนการเปดประตูการศึกษาระบบโรงเรียนใหกวางขึ้น ผูสําเร็จการศึกษาระดับสูงเขาถึงแหลงทรัพยากรภาคการเมืองและราชการไดมากกวาสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย ระบบราชการจึงถูกยึดครองโดยชนชั้นกลางที่ผานการศึกษาระบบโรงเรียน

หลังสงครามโลกครั้งท่ีสอง สหรัฐอเมริกาชวยเหลือรัฐบาลไทยเพื่อใชไทยเปนพันธมิตรตอตานลัทธิคอมมิวนิสต แหลงทุนจากสหรัฐ ใหทุนคนไทยไปศึกษาตอสหรัฐอเมริการะลอกใหญ มีการเปดสถาบันการศึกษา เชน คณะรัฐประศาสนศาสตรในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ตอมาแยกเปน NIDA) และสนับสนุนใหเปดมหาวิทยาลัยเพ่ิมในทุกภูมิภาค

75. เฉลย a. ครูสมัยใหมสอนนักเรียนโดยแยกเนื้อหา ครูสมัยเกาสอนโดยวิธีการบูรณาการเนื้อหา

ครูสมัยใหม ครูสมัยเกา สอนนักเรียนโดยวิธีบูรณาการเนื้อหาวิชา สอนแยกเนื้อหาวิชา แสดงบทบาทในฐานะผูแนะนํา (Guide) ประสบการณทางการศึกษา

มีบทบาทในฐานะตัวแทนของเนื้อหาวิชา (Knowledge)

กระตือรือรนในบทบาทความรูสึกของนักเรียน ละเลยเฉยเมยตอบทบาทของนักเรียน ใหนักเรียนมีสวนรวมในการวางแผนของหลักสูตร นักเรียนไมมีสวนรวมแมแตจะพูดเก่ียวกับหลักสูตร ใชเทคนิคการคนพบดวยตนเองของนักเรียนเปนกิจกรรมหลัก

ใชเทคนิคการเรียนโดยการทองจําเปนหลัก

มีการเสริมแรงหรือใหรางวัลมากกวาการลงโทษ มีการใชแรงจูงใจภายใน

มุงเนนการใหรางวัลภายนอก เชน เกรด แรงจูงใจภายนอก

Page 16: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 15

76. เฉลย c. ครูชมพรใหเด็กชายปกรณเรียนเสริมและใหการบานยากกวาเพ่ือนๆ การจัดการสอนโดยยึดผูเรียนเปนศูนยกลางที่พบวานักเรียนเรียนเกงมาก กรณีเชนนี้ตองใหเรียนเสริมดวยการใหการบานท่ียากกวาเพ่ือนๆ เพ่ือใหนักเรียนท่ีมีสติปญญาเปนเลิศไมเกิดความเบ่ือหนายตอการเรียน

77. เฉลย b. นักเรียนกลัวผูปกครองมากกวาครู กรณีเด็กนักเรียนท่ีโรงเรียนมีพฤติกรรมไมสนใจเรียน ติดเกม การจะเสริมสรางลักษณะนิสัยของเด็ก

ผูปกครองมีบทบาทสําคัญในการชวย เพราะนักเรียนมีความใกลชิดกับผูปกครอง ท้ังนี้ตองขอความรวมมือกับผูปกครองในการใกลชิดกับนักเรียน การต้ังเครื่องคอมพิวเตอรควรไวท่ีหองรวม กําหนดเง่ือนไขการเลน พาเด็กไปทํากิจกรรมอื่นแทน

78. เฉลย c. นักเรียนท่ีมีความรูยอมไมอดตาย นักเรียนท่ีมีความรูยอมไมอดตายเพราะสามารถหางานทําได ขณะท่ีเปนนักเรียนตองขยันเรียน ขยัน

ศึกษา อานหนังสือ ทําการบาน แบงเวลาเรียนเลนใหถูกตอง เมื่อเวลาทดสอบจริงก็สามารถทําขอสอบได และสําหรับคนท่ีทํางานอยางขยันขันแข็งตลอดเวลา ความขยันเปนปจจัยจําเปนจริงๆ สําหรับความสําเร็จของงานและชีวิต แตความสําเร็จจะเกิดขึ้นไดตองขยัน จะไมอดตาย

79. เฉลย d. สังคมมีสภาพชีวิตท่ีตํ่าลงเนื่องจากมีความขัดแยง ชิงดีชิงเดน เอาเปรียบกันและกัน ปจจุบันสังคมมีสภาพชีวิตท่ีตํ่าลงเนื่องจากความขัดแยง การชิงดีชิงเดน และการเอารัดเอาเปรียบ

ระหวางบุคคล และกลุมบุคคลมีมากขึ้น การรับรูขาวสารและความเคลื่อนไหวตางๆ ไดรวดเร็วและกวางขวาง ความกาวหนาในทางวัตถุและในทางวิทยาศาสตร กลับทําใหคนไทยทุกวันนี้โดยสวนรวมมีสภาพชีวิตท่ีเลวลง

80. เฉลย a. วัตถุเจริญ แตสภาพจิตใจเสื่อมลง ความเจริญกาวหนาทางดานวัตถุย่ิงเจริญ แตกลับทําใหสภาพสังคมเลวลง ท้ังนี้เนื่องจากขาดศีลธรรม

จรรยาบรรณ ตองการความสะดวกสบาย 81. เฉลย a. ใหการศึกษา การศึกษาจะชวยใหมนุษยรูเทาทันธรรมชาติท่ีแทจริงของโลกและชีวิต ดวยการฝกทักษะกระบวนการ

ชีวิตสามารถอยูในสังคมได 82. เฉลย b. ไพลินมีโอกาสร่ํารวยได

จากโจทย เรื่องนี้เปนการใหเหตุผล มีเง่ือนไข คือ “โอกาส” เพราะฉะนั้นตัวเลือก a., c. และ d. เปนการระบุชัดเจน จึงไมถูกตอง สวนตัวเลือก b. ไพลินมีโอกาสร่ํารวยได จึงเปนคําตอบที่ถูกตองเพียงขอเดียว

83. เฉลย d. ปญหาการลักลอบเขาเมือง ปญหาการลักลอบเขาเมืองตามแนวชายแดน ทําใหปริมาณคนลักลอบเขาเมืองมากขึ้น ปญหาท่ีตามมา

คือการแพรระบาดของโรคใหมๆ ท่ีประเทศไทยไมเคยมี นับเปนปญหาของชาติอยางมากท่ีตองหาทางปองกันแกไข 84. เฉลย c. ชาวบานรวมมือกันผลิตขาวซอมมือตลอดป ขาวซอมมือ มีลักษณะและคุณคาทางโภชนาการเชนเดียวกับขาวกลอง บางคนเรียกวา ขาวกลอง เปน

เรื่องของขาวซอมมือ ไมไดขัดสีขาวที่ขายตามทองตลาดทั่วไป a., b. และ d. เปนการเตรียมหรือฝก

Page 17: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

16 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

85. เฉลย a. ซึง ซออู พิณ ซึง เปนเครื่องดนตรีประเภทดีด มี 4 สาย แตแบงออกเปน 2 เสน เสนละ 2 สาย มีลักษณะคลาย

กระจับป แตมีขนาดเล็กกวา ซออู เปนเครื่องสายใชสี พิณ เปนเครื่องดนตรีประเภทสายดีดท่ีมีมานาน นานจนไมอาจทราบไดวา ใครเปนผูประดิษฐคิดคน

เปนคนแรก เครื่องดนตรีท่ีมีหลักการเชนเดียวกันนี ้พบในหลายๆ ประเทศ 86. เฉลย d. ค., ง., ก. และ ข. ความเจริญรุงเรืองของประเทศ มาจากประชาชนไดรับการศึกษาดีและมีคุณภาพ การศึกษาสําเร็จได

เพราะครู ดังนั้นจึงตองเรงพัฒนาการศึกษา 87. เฉลย d. ขโมย พฤติกรรมการลักขโมยของเด็ก ตองพิจารณาวา พฤติกรรมการลักขโมยเกิดจากเด็กถูกผูใหญบังคับ

และชักจูงหรือไม หากเปนเชนนั้นจะตองแกไขท่ีผูใหญ เพราะเด็กอาจไมมีนิสัยลักขโมย แตหากเกิดจากการกระทําดวยตนเอง จะตองแกไขดวยการพัฒนาทางดานจิตใจ ซ่ึงสาเหตุอาจเกิดจากเด็กคนนั้นไมไดรับส่ิงของที่ตองการ ของเลน หรือขนมท่ีอยากได โดยจะสงผลตอพฤติกรรมเมื่อเติบโตเปนผูใหญ และสาเหตุพฤติกรรมอีกประการหนึ่ง อาจเกิดจากความตองการแกแคนผูใหญ ทําใหคนสูญเสียรูสึกเจ็บปวด ดังนั้นตองสอนใหเด็กรูจักวา เมื่อสูญเสียส่ิงของรูสึกอยางไรบาง เพ่ือท่ีจะไดทราบความรูสึกผูอื่น โดยท้ังหมดนี้จะตองไดรับการดูแลจากผูปกครองอยางใกลชิด

88. เฉลย c. ครูนราภรณคิดวาเด็กทุกคนจะตองมีความรูเทากัน “จิตสํานึกและวิญญาณครู” จุดเริ่มตนนาจะอยูท่ีการสรางศรัทธาใหกลับมาสูอาชีพของครูใหไดมากท่ีสุด

สังคมไทยมีความคาดหวังในตัวครูสูงทุกๆ ดาน ครูในปจจุบันมีคุณสมบัติลดหยอนไปจากความคาดหวัง หรือเปล่ียนแปลงไปจากที่คาดหวังไปบาง แตก็มีคุณสมบัติบางดานสูงกวาท่ีสังคมคาดหวังไวอยางแนนอน แตบางดานก็ตองปรับปรุงใหมีประสิทธิภาพเพ่ิมขึ้น

89. เฉลย a. ส่ิงเรา ความพรอม วุฒิภาวะ กิจกรรม พัฒนาการทางศิลปะกับการเรียนการสอน ในระดับชั้นประถมศึกษาดวยการสรางบรรยากาศในหองเรียน

ใหเปนกันเอง มีความเขาใจเด็ก สรางบรรยากาศที่อบอุน วิธีการสอนศิลปะเพ่ือสรางหรือกระตุนเราจินตนาการในการแสดงออก กลาคิดดวยการกระตุนความพรอมใหเกิดส่ิงเรา คือ อยากเรียน ท้ังนี้ตองดูกิจกรรมท่ีเหมาะสม กับวุฒิภาวะ

90. เฉลย a. ลําดับเรื่องท่ีเรียนไปแลวไดดี การแสดงพฤติกรรมของเด็กนักเรียนท่ีสามารถสังเกตความพรอมการพัฒนาทางดานสติปญญา ดวย

การลําดับเรื่องท่ีเรียนไปแลวไดดี เชน เมื่อเรียนไปแลวสามารถลําดับเรื่องท่ีเรียนไปแลวได การเรียนการสอนจะใหนักเรียนลําดับเหตุการณได ควรจัดกิจกรรมเลานิทานเปนกิจกรรมที่มีความเหมาะสมเอื้ออํานวยตอการพัฒนาเด็ก และชวยสรางบรรยากาศการเรียนรูท่ีดีใหกับเด็ก และเปนกิจกรรมที่ชวยเสริมสรางจินตนาการดานสติปญญา

Page 18: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 17

91. เฉลย b. ปฏิบัติไปตามขั้นตอน ครูใหม คือ ครูท่ีพ่ึงจะบรรจุเขารับราชการในสถานศึกษา ประสบการณคอนขางนอย การถายทอด

อาจจะยังไมชํานาญเหมือนครูท่ีบรรจุเขาทํางานนานๆ จนเกิดทักษะเพราะฉะนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ตองปฏิรูปกระบวนการเรียนรูใหมจากการเอาวิชาเปนตัวต้ังไปสูการเอาคนและสถานการณจริงเปนตัวต้ัง เรียนจากประสบการณและกิจกรรม จากการฝกหัดจากการต้ังคําถามและจากการแสวงหาคําตอบซ่ึงจะทําใหสนุก ฝกปญญาใหกลาแข็ง ทํางานเปน ฝกคุณลักษณะอื่นๆ เชน ความอดทน ความรับผิดชอบ การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน การรวมกลุม การจัดการ การรูจักตน

92. เฉลย a. การสอนแบบสาธิต วิธีการสอนวิชาดนตรีและการละคร ใหแสดงพฤติกรรมออกมาดวยการสอนแบบสาธิต (Demonstration)

เปนกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเปนการแสดงการกระทําใหแกผูเรียน โดยผูสอนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปนผูสาธิตหรือผูแสดง การสอนท่ีมีการอธิบายประกอบการแสดง (Live Display) โดยอาศัยเครื่องมือจริงหรือ Model

93. เฉลย c. ตรวจสอบความรูพ้ืนฐาน การวัดและประเมินผลกอนเรียนเพ่ือใหทราบสภาพผูเรียนกอนเรียนวามีความรูพ้ืนฐานในกลุมสาระ

การเรียนรูท่ีจะขึ้นบทเรียนมีความรูอยูในระดับใด เพ่ือจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหถูกตองตามระดับความรูตามศักยภาพ

94. เฉลย b. ครูจํานงสอนใหเกิดความคิด มโนมติ หลักการและทฤษฎีใดๆ ก็ตามลวนมีความรูพ้ืนฐานหรือมโนมติพ้ืนฐาน สําหรับมโนมติ

หลักการหรือทฤษฎีนั้น (Prerequisite Concept) ดังนั้นกอนการใชส่ือการเรียนการสอนเพ่ือถายทอดมโนมติหลักการหรือทฤษฎีควรทดสอบ หรือทบทวนมโนมติพ้ืนฐานกอนเสมอ ไดแก

1. จัดลําดับส่ือใหเปนระบบตอเนื่องจากมโนมติยอยไปสูมโนมติหลัก 2. ใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการกระทํากิจกรรมอาจเปนขณะใชส่ือหรือหลังการใชส่ือก็ได 3. จัดระบบสื่อใหสอดคลองกับกระบวนการของการสืบเสาะหาความรู 4. เปดโอกาสใหผูเรียนไดเลือกและใชส่ือการเรียนการสอนตามความคิดเห็นของตนเองในโอกาสที่

เห็นสมควร 5. หลังจากการใชส่ือแลว ควรจัดกิจกรรมประเมินผลหรือทดสอบความเขาใจของผูเรียนทุกครั้งเพ่ือ

จะไดจัดส่ือเสริมสําหรับผูเรียนบางคน 95. เฉลย c. ใหเด็กอภิปรายและชวยกันสรุป การท่ีครูจะสอนเรื่องการใชเวลาวางใหเปนประโยชนกับนักเรียนควรใชวิธีใหเด็กอภิปรายและชวยกันสรุป 96. เฉลย b. เจตคติเปนส่ิงท่ีเปล่ียนแปลงไมได เจตคติ คือ ความรูสึกของบุคคลท่ีมีตอส่ิงใดๆ ซ่ึงแสดงออกมาเปนพฤติกรรมในลักษณะชอบ ไมชอบ

อาจเห็นดวย ไมเห็นดวย พอใจ ไมพอใจ ตอส่ิงใดๆ ในลักษณะเฉพาะตัวตามทิศทางของทัศนคติท่ีมีอยูเปนตัวกําหนดแนวทางของบุคคลในการที่จะมีปฏิกิริยาตอบสนอง และสามารถเปล่ียนแปลงได

Page 19: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

18 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

97. เฉลย c. ไมทํา เพราะจะทําใหเกิดความไมยุติธรรมแกนักเรียนท่ีจะสอบคัดเลือกปหนา กรณีท่ีครูตองไปคุมสอบคัดเลือกเขาเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ตองไมนําขอสอบวิชาท่ีตนสอนไปติว

เนื่องจากจรรยาบรรณครูตองไมแสวงหาประโยชนอันเปนอามิสสินจางจากศิษย ในการปฏิบัติหนาท่ีตามปกติ และไมใชใหศิษยกระทําการใดๆ อันเปนการหาผลประโยชนใหแกตนโดยมิชอบ ไดแก การไมกระทําการใดๆ ท่ีจะไดมาซ่ึงผลตอบแทนเกินสิทธิท่ีมี พึงไดจากการปฏิบัติหนาท่ีในความรับผิดชอบตามปกติ

98. เฉลย d. นักเรียนท่ียายโรงเรียนกลางปทําใหไมมีเพ่ือน นักเรียนท่ียายโรงเรียนกลางปทําใหไมมีเพ่ือนควรใหความชวยเหลืออันดับแรก ซ่ึงตองสรางกลุม

สัมพันธใหเพ่ือนดวยการแนะนําเพ่ือนใหเปนท่ีรูจัก และหากลุมเพ่ือนใหคอยชวยเหลือ 99. เฉลย d. เพ่ือใหเปล่ียนแปลงในทางที่ตองการ การลงโทษนักเรียนเปนวิธีการเพ่ือใหเปล่ียนแปลงในทางที่ตองการใหรู ถูกผิด เปนวิธีการปรับ

พฤติกรรมนักเรียนโดยใชการวางเงื่อนไข หรือกําหนดเง่ือนไขขึ้นมา การลงโทษมีจุดประสงคเพ่ือลดหรือยุติพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค ครูควรเปนผูเยือกเย็น และพูดใหเหตุผลแกเด็กวาส่ิงไหนควรไมควร

100. เฉลย a. ชี้แจงใหนักเรียนทราบวาท้ังสองคนเปนเพ่ือนกันควรจะรักใครปรองดองกัน เมื่อเด็กนักเรียนมีเรื่องทะเลาะกันครูตองหาขอยุติดวยการชี้แจงใหนักเรียนทราบวาท้ังสองคนเปน

เพ่ือนกันควรจะรักใครปรองดองกัน หางานให 2 คนชวยกันทํา 101. เฉลย a. รวมกลุมครูเสนอความตองการใหผูบริหารทราบและขอใหโรงเรียนจัดฝกอบรมให กรณีท่ีครูตองการสรางบทเรียนชวยสอนดานคอมพิวเตอร ในโรงเรียนครูควรจะรวมกลุมครูเสนอ

ความตองการใหผูบริหารทราบ และขอใหโรงเรียนจัดฝกอบรมใหความรูเรื่องโปรแกรมที่ตองนํามาใช และใหเพ่ือนครูท่ีสอนเร่ืองอื่นๆ ไดเรียนรูดวย และนําไปพัฒนาในกลุมสาระของตนเองตอไป เนื่องจากบทบาทของคอมพิวเตอรสามารถใหนักเรียนศึกษาท่ีบานดวยตนเองได

102. เฉลย b. นักพัฒนา บทบาทของครูในปจจุบันเปรียบเหมือนนักพัฒนา เพราะปจจุบันส่ือมัลติมีเดียเขามามีบทบาทใน

การศึกษามากขึ้น บทบาทของครูจําตองพัฒนาใหทันสมัย สามารถใชส่ืออุปกรณได พัฒนานวัตกรรมใหมๆ เพ่ือใชในการเรียนการสอน

103. เฉลย a. เห็นดวย เพราะการลงโทษเปนการฝกใหเกิดระเบียบวินัย เด็กทุกคนยอมมีความดื้อรั้น เมื่อกระทําความผิดตองลงโทษ เพราะการลงโทษเปนการฝกใหเกิด

ระเบียบวินัย 104. เฉลย b. กลับมาอธิบายนักเรียนในหองใหมอีกครั้ง และกลาวขอบคุณกลุมนักเรียนท่ีมาบอก กรณีครูสอนวิชาฟสิกส ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 นักเรียนกลุมหนึ่งมาแยงครูวาสอนผิด และครูก็ทราบวา

ไดสอนผิดไปจริง ดังนั้นครูตองกลับมาสอนใหมอีกครั้งในคาบเรียนตอไป และขอบคุณนักเรียนท่ีมาบอกครู ซ่ึงเปนการแสดงน้ําใจท่ีจะทําใหเกิดความศรัทธากับนักเรียน

105. เฉลย d. เขาไปตักเตือนแลวรายงานใหครูประจําชั้นชวยดูแลตอไป กรณีครูวิภาจะตองเขาไปตักเตือนทันทีท้ังท่ีไมไดสอนก็ตาม เพราะเปนหนาท่ีของครูท่ีตองปฏิบัติไมวา

กรณีเชนใดก็ตาม

Page 20: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 19

106. เฉลย b. ตกลง เพราะเปนการสรางชื่อเสียงใหโรงเรียน กรณีนักเรียนมาขออนุญาตหยุดเรียน เพ่ือไปซอมกีฬาท่ีตองไปเปนตัวแทนแขงขันระดับจังหวัดใน

สัปดาหหนา กรณีนี้ครูควรตกลงเพราะเปนการสรางชื่อเสียงใหโรงเรียน และใหตามงานในชั่วโมงเรียนท่ีขาดไปใหเรียบรอยทุกวิชา

107. เฉลย c. เมตตากรุณา เมตตากรุณา ความปรารถนาใหเปนสุขและชวยใหพนทุกข สองประการนี้ท่ีเปนหนึ่ง เปนเหตุเปนผล

ของกันและกัน เพราะมีความปรารถนาใหเปนสุขเปนเหตุ จึงยังใหเกิดผล คือ การชวยใหพนจากทุกข เหตุและผลคูนี้มิไดเกิดแตอะไรอื่น เกิดแตส่ิงย่ิงใหญท่ีสุด มีความสําคัญท่ีสุด คือ ใจ ท่ีพระพุทธศาสนาแสดงไวชัดเจนวา ใจเปนใหญ ใจเปนประธาน ทุกส่ิงสําเร็จดวยใจ ผูมีเมตตากรุณา คือ ผูมีน้ําใจ หากผูใดไมมีน้ําใจยอมไมมีเมตตา ไมมีกรุณา คือ ไมมีความปรารถนาดีตอผูใด ครูจึงเปรียบเปนผูท่ีมีเมตตากรุณา เนื่องจากเปนผูใหความรูแกนักเรียนดวยความจริงใจ และปรารถนาดีโดยไมรูสึกเหน็ดเหนื่อย

108. เฉลย c. นักเรียนท่ีไมทําการบาน การแกปญหานักเรียนไมทําการบานแบงเปน 2 กรณี คือ 1. หากคุณเปนผูปกครองนักเรียน คุณลองสละเวลาอันมีคาของคุณบาง คอยสอนการบานลูก หากไม

มีใหคอยเปนกําลังใจก็ยังดี คุณควรแสดงใหลูกคุณเห็นวาตัวลูกคุณนั้นมีความหมายกับคุณมาก พยายามปลูกฝงต้ังแตลูกอายุยังนอย

2. ในกรณีท่ีคุณเปนครูผูสอนควรจัดภาระงานใหเหมาะสมกับเขา โดยเริ่มจากงายๆ ไปกอนเหมือนกับการทบทวนในชั้นเรียนอีกรอบ อยาใหแบบฝกหัดท่ียาก พอวันรุงขึ้นนักเรียนทําการบานมาสงครูแลวถูกหมด เขาก็จะเกิดกําลังใจวาตัวเองทําได จากนั้นครูคอยใหแบบฝกหัดหรือการบานท่ียากขึ้นไปทีละขั้น

109. เฉลย d. ทบทวนการสอนของตนเอง กรณีท่ีครูพบวา นักเรียนทําแบบฝกหัดคณิตศาสตรผิดเปนจํานวนมาก และเปนประจํา ครูควรทบทวน

การสอนของตนเอง หรือเปลี่ยนวิธีสอน ดูเนื้อหาวายากกวาระดับสติปญญาของนักเรียนหรือไม 110. เฉลย d. หามปรามการลอเลียนของเพ่ือนๆ และแนะนําใหผูปกครองชวยดูแลเรื่องการบาน กรณีนักเรียนทําการบานเหมือนเพ่ือนๆ ในชั้นเรียนไมได เมื่อทําการสอบจึงไดคะแนนคอนขางตํ่า จึงถูก

ลอเลียนจากเพ่ือนๆ เปนประจํา ครูแกปญหาในชั้นเรียนดวยการหามปรามการลอเลียนของเพ่ือนๆ และแนะนําใหผูปกครองชวยดูแลการบาน

111. เฉลย d. ขอบคุณนักเรียนคนนั้น และหาขอเท็จจริงเพ่ือวากลาวตักเตือนคนท่ีลอกการบานเพ่ือน กรณีมีนักเรียนมาฟองวาเพ่ือนๆ ลอกการบานในตอนเชากอนเขาแถวเคารพธงชาติเปนประจํา ครูควร

ปฏิบัติ คือ กลาวขอบคุณนักเรียนคนนั้น และหาขอเท็จจริงเพ่ือวากลาวตักเตือนคนท่ีลอกการบานเพ่ือน 112. เฉลย d. ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมใหทุกคนเขาใจ กรณีท่ีครูกําลังสอนหนังสือนักเรียนอยูในหองเรียน มีนักเรียนบางคนไมเขาใจเรื่องท่ีกําลังเรียนอยู

ครูควรจะปฏิบัติดวยการอธิบายเพ่ิมเติมใหทุกคนเขาใจ 113. เฉลย c. พูดแตส่ิงท่ีดีๆ เพ่ือใหเพ่ือนสบายใจ กรณีครูคนหนึ่งเปนคนท่ีเพ่ือนใหความไววางใจและชอบมาปรึกษาปญหาเปนประจํา วันหนึ่งเพ่ือนครู

มาปรึกษา ก็ควรจะแนะนํา พูดแตส่ิงท่ีดีๆ เพ่ือใหเพ่ือนสบายใจ การใหคําปรึกษาแนะนําควรฟงดวยทาทางท่ีเปนมิตรเก็บความลับของเพ่ือนครู

Page 21: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

20 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 114. เฉลย b. ต้ังใจจริง มีน้ําใจ ครู หมายถึง ผูอบรมสั่งสอน ผูถายทอดความรู ผูสรางสรรคภูมิปญญา และพัฒนาทรัพยากรมนุษย

เพ่ือนําไปสูความเจริญรุงเรืองของสังคมและประเทศชาติ คุณสมบัติในการกาวสูอาชีพครู 1. ตองมีใจรักท่ีจะประกอบอาชีพครู มีมนุษยสัมพันธท่ีดีตอบุคคลท่ัวไป 2. ตองมีความอดทน มีเมตตากรุณา มีเหตุผล มีเวลาเอาใจใสอบรมสั่งสอนนักเรียน เปนผูท่ีมีความ

ประพฤติดีอยูในกรอบศีลธรรมจรรยา 3. ตองเปนผูท่ีใฝรูใฝเรียน มีความคิดสรางสรรคและตองรูจักหลักจิตวิทยาเด็ก 4. ตองเปนครูท่ีดีมากกวาครูท่ีเกง แตถาเปนครูท่ีดีดวยและครูท่ีเกงดวยนี่ดีท่ีสุด 115. เฉลย c. รายงานเหตุการณใหอาจารยฝายปกครองไดรับทราบเพ่ือชวยแกไขปญหา กรณีท่ีครูพบวานักเรียนทะเลาะวิวาทกันในโรงเรียน ส่ิงท่ีตองกระทํา คือ รายงานเหตุการณใหอาจารย

ฝายปกครองไดรับทราบเพื่อชวยแกไขปญหา ดวยการอบรมรวมหนาแถวท้ังหมดใหเกิดความรักสามัคคีกัน 116. เฉลย d. ทางการแพทยยอมทําศัลยกรรมแปลงเพศชายใหเปนหญิง หากทางการแพทยยอมทําศัลยกรรมแปลงเพศชายใหเปนหญิง ย่ิงเปนการสงเสริมการปฏิบัติตนของ

บุรุษท่ีมีใจเปนหญิงใหมีทางเลือกมากขึ้น 117. เฉลย a. การเรียนรูท่ีเนนการพัฒนาศักยภาพท่ีแตกตางของบุคคล การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพหุปญญาควรเนนการพัฒนาเด็กโดยองครวม โดยการบูรณาการการ

พัฒนาผูเรียนกับหลักสูตร ใหผูเรียนไดพัฒนาท้ังดานรางกาย อารมณ สังคม และจิตใจ และพัฒนาพหุปญญาในทุกดานไปพรอมๆ กัน การจัดการเรียนรูท่ีเนนการพัฒนาศักยภาพท่ีแตกตางของบุคคล

118. เฉลย b. การเขาคายลูกเสือ ยุวกาชาด การจัดกิจกรรมระบบการศึกษาตามอัธยาศัย มีกรอบหลักสูตรมุงสนองตอผูเรียนเปนสําคัญ การศึกษา

ตามอัธยาศัยมีวิธีการเรียนรูท่ีหลากหลาย ไมมีแบบแผนแนนอน บางกิจกรรมมีวุฒิการศึกษา บางกิจกรรมมีเกียรติบัตร การศึกษาตามอัธยาศัยไมมีวุฒิบัตร บางกิจกรรมมีเกียรติบัตรตามความตองการและความสนใจของผูเรียน กิจกรรมการเรียนรูเกิดขึ้นตามกรอบหลักสูตร เนนปฏิบัติมากกวาทฤษฎี

119. เฉลย c. เห็นดวย เพราะทําใหนักเรียนฝกการตัดสินใจและปฏิบัติในส่ิงท่ีสนใจไดมากขึ้น 120. เฉลย a. เพ่ือใหการรับรองประสิทธิภาพของสถานศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา คือ การดําเนินกิจกรรมและภารกิจตางๆ ท้ังดานวิชาการและการบริการ/

การจัดการ เพ่ือสรางความมั่นใจใหผูรับบริการทางการศึกษา ท้ังผูรับบริการโดยตรง คือ ผูเรียน ผูปกครอง และผูรับบริการทางออม คือ สถานประกอบการ ประชาชน และสังคมโดยรวม การดําเนินงานของสถานศึกษาจะมีประสิทธิภาพ และทําใหผูเรียนมีคุณภาพหรือคุณลักษณะที่พึงประสงคตามมาตรฐานการศึกษาท่ีไดกําหนดไว การประกันคุณภาพมีแนวคิดอยูบนพ้ืนฐานของการ “ปองกัน” ไมใหเกิดการทํางานท่ีไมมีประสิทธิภาพและผลผลิตท่ีไมมีคุณภาพ

Page 22: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 21

121. เฉลย c. หยุดสอนและทําความเขาใจกับนักเรียนท้ังหองอีกครั้งวาควรปฏิบัติตนเชนไรในเวลาเรียน กรณีนักเรียนในหองเรียนชอบพูดคุยกันเปนประจํา ท้ังท่ีไดตักเตือนไปแลว แตนักเรียนยังมีพฤติกรรม

เชนนี้อีก ครูควรจะปฏิบัติดวยการหยุดสอน และทําความเขาใจกับนักเรียนท้ังหองอีกครั้งวาควรปฏิบัติตนเชนไรในเวลาเรียน

122. เฉลย d. การจัดการเรียนจะตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล การจัดการเรียนจะตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล เนื่องจากศักยภาพมนุษยไมเทากัน 123. เฉลย a. มีกิจกรรมเนนผูเรียนเปนสําคัญ การจัดการเรียนการสอนตองมีคุณภาพดวยการมีกิจกรรมการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ จะชวยพัฒนา

ผูเรียนในทุกดาน ท้ังดานรางกาย อารมณ สังคม สติปญญา ท้ังดานความรู ทักษะและเจตคติ (ลักษณะนิสัย) และท้ังดาน IQ (Intelligence Quotient) และดาน EQ (Emotional Quotient) ซ่ึงจะนําไปสูความเปนคนเกง คนด ีและมีความสุข

124. เฉลย b. ทักษะทางอารมณ กรณีท่ีถูกนินทา คนเราสามารถอดทนตอคํานินทาของคนอื่นไดโดยไมตอบโตแสดงถึงอีคิว (Emotional

Quotient) มีชื่อเรียกหลายแบบ เชน ความฉลาดทางอารมณ เชาวอารมณ หรือวุฒิภาวะทางอารมณ เหตุผลท่ีสําคัญอาจเปนเพราะวา ไอคิว (IQ) หรือ ระดับสติปญญาเพียงอยางเดียวไมสามารถตอบคําถามในเรื่องการทําใหบุคคลประสบความสําเร็จ หรือมีความสุขในชีวิตได

หลักสําคัญในการพัฒนาอีคิว คือ การพัฒนาใหรับรูและเขาใจอารมณความรูสึกของตนเอง สามารถจัดการกับอารมณไดอยางเหมาะสม รับรูและเขาใจอารมณความรูสึกของผูอื่น สามารถรักษาสัมพันธภาพที่ดีตอกันไวได

125. เฉลย a. ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเอง หลักการศึกษาดานผูเรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาประกอบดวย 1. ถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด 2. กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและตาม

ศักยภาพ 3. จัดแหลงเรียนรูท่ีหลากหลายไวสําหรับผูเรียน 126. เฉลย a. กิจกรรมสภานักเรียน กรณีท่ีตองการปลูกฝงความเปนประชาธิปไตยใหกับนักเรียนของตนเอง ครูควรจะเลือกกิจกรรมที่เปน

การวางรากฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตยสําหรับนักเรียน เชน กิจกรรมสภานักเรียน กิจกรรมสภานักเรียน คือ จําลองรัฐสภาของระบบการเมืองการปกครองมาใช โดยใหเลือกตัวแทนหอง

ท่ีโรงเรียนมาประชุมกัน สัปดาหละ 1 ครั้ง หรือเดือนละ 1 ครั้ง มีประธานเสนอความคิดเห็น ความตองการท่ีสามารถทําได นําเรื่องท่ีประชุมมาถายทอดใหเพ่ือนในหองฟงทุกครั้งท่ีมีการประชุม หรือนําความเสนอจากหองมาเสนอท่ีประชุม

127. เฉลย c. ระดับความพรอมของนักเรียน วิธีสอน หรือ กิจกรรมการเรียนรูแบบใดนั้นขึ้นอยูกับระดับความพรอมของนักเรียน ตามระดับอายุ

พัฒนาการดานอารมณ สังคม แตละชวงวัย

Page 23: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

22 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

128. เฉลย d. เปนไปตามกฎกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ อาศัยตามความ มาตรา 5 และ มาตรา 37 วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติ

การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กับ มาตรา 8 มาตรา 33 วรรคสอง และ มาตรา 76 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงการศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ โดยคําแนะนําของคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ปฏิบัติหนาท่ีสภาการศึกษา จึงกําหนดเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเพ่ือการบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จํานวน 175 เขต เชน เขตพื้นท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ประกอบดวยทองท่ี เขตราชเทวี เขตพญาไท เขตบางซ่ือ เขตดุสิต เขตสัมพันธวงศ เขตปทุมวัน เขตพระนคร เขตปอมปราบศัตรูพาย เขตบางรัก เขตวัฒนา เขตสาทร เขตพระโขนง เขตบางนา เขตคลองเตย เขตบางคอแหลม เขตยานนาวา และเขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ใหสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ต้ังอยูท่ี เขตราชเทวี เปนตน

129. เฉลย c. ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา ผูสนับสนุนการศึกษา มาตรา 4 ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กําหนดบุคลากรทางการศึกษา

หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้งผูสนับสนุนการศึกษา ซ่ึงเปนผูทําหนาท่ีใหบริการ หรือปฏิบัติงานเก่ียวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตางๆ

130. เฉลย d. ครูอรทัยพาไปนอกราชอาณาจักร มาตรการในการพานักเรียน นักศึกษาไปนอกสถานศึกษาและเดินทางไกล เขาคายพักแรม ลูกเสือ

เนตรนารี และยุวกาชาด การจัดกิจกรรมไปทัศนศึกษา เปนระเบียบปฏิบัติท่ีเครงครัดเรื่องความปลอดภัย 131. เฉลย c. ไตสวนหาผูกระทําผิดแลวลงโทษ เพ่ือไมใหเปนเย่ียงอยาง การยกพวกไปตีกับนักเรียนอีกโรงเรียน ท่ีหนาหางสรรพสินคาสรางความเดือดรอน จนตองปดประตูหาง

ไมใหมีการเขา-ออก เปนเหตุการณท่ีเกิดขึ้นแลวควรจะมีการไตสวนหาผูกระทําผิดแลวลงโทษ เพ่ือไมใหเปนเย่ียงอยางและใหผูบริหารมาประชุมหาขอยุติปญหา จัดกิจกรรมรวมกัน

132. เฉลย b. เพ่ือใหราชการสามารถทําหนาท่ีของตนเองไดอยางครบถวนสมบูรณ การปฏิรูประบบราชการเปนส่ิงท่ีเหมาะสมและสําคัญย่ิงในยุคปจจุบัน ท่ีตองการคนที่มีคุณภาพ

มาทํางานอยางมีประสิทธิภาพ เพราะนอกจากขาราชการจะรับเงินเดือนจากภาษีประชาชนแลว การแขงขันระดับประเทศยิ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น ถาขาราชการยังคงทํางานแบบเดิม ก็จะทําใหประเทศไทยยิ่งถอยหลังไป และเกิดชองวางระหวางวิธีทํางานของภาคเอกชนกับภาครัฐมากขึ้นตามลําดับ ดังนั้นการประกันคุณภาพงานของหนวยงานราชการจึงเปนเรื่องท่ีหัวหนาหนวยงานราชการตองใหความสําคัญเปนอยางมาก เพ่ือใหสังคมไทยและประชาชนคนไทยดํารงอยูไดอยางสงบสุขและย่ังยืน

133. เฉลย c. การเปลี่ยนรูปแบบของระบบราชการในทุกดาน ต้ังแตบทบาทหนาท่ี โครงสราง ระบบงาน ระบบบริหาร วิธีการทํางาน ระเบียบ กฎหมาย และวัฒนธรรมคานิยม

การปฏิรูปราชการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงระบบราชการ ดังนี้ - การปฏิรูปบทบาทหนาท่ีและโครงสรางอํานาจ - การปฏิรูปโครงสรางองคกร - การปฏิรูประบบและวิธีการทํางาน - การปฏิรูประบบการเงินและงบประมาณ - การปฏิรูประบบบริหารงานบุคคล - การปฏิรูปวัฒนธรรมและคานิยมของขาราชการ

Page 24: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 23

134. เฉลย a. การสรางศรัทธา “จิตสํานึกและวิญญาณครู” จุดเริ่มตนนาจะอยูท่ีการสรางศรัทธา ครูในอดีตมีจํานวนมากที่มีลักษณะ

ครูอาชีพ เปนครูดวยใจรัก เปนครูดวยจิตและวิญญาณ มีความหวงใยตอศิษยดุจลูกของตนเอง ครูท่ีแทจริงนั้นตองเปนผูทําแตความดี คือ ตองขยันและอุตสาหะพากเพียร ตองเอ้ือเฟอเผื่อแผและเสียสละ ตองหนักแนนอดทน และอดกลั้น สํารวมระวังความประพฤติปฏิบัติของตนใหอยูในระเบียบแบบแผนที่ดีงาม รวมท้ังตองซ่ือสัตย รักษาความจริงใจ วางใจเปนกลาง ไมปลอยไปตามอํานาจอคติ

135. เฉลย a. หวงใย ครูท่ีมีความเชื่อมั่นวาตนเองสามารถสรางภาพลักษณของครูท่ีดีได นั่นคือ ครูท่ีศรัทธาตออาชีพครู

รักษาเกียรติและศักดิ์ศรีแหงความเปนครูท่ีเปนวิชาชีพชั้นสูง เห็นคุณคาของวิถีชีวิตท่ีเปนครู ครูจะตองถายทอดพันธุกรรมแหงความดีไปยังผูเรียนดวยจิตสํานึกและวิญญาณของความเปนครูอยาง

แทจริง การสรางจิตสํานึกและวิญญาณครู ทําอยางไรจึงจะเหมาะสมกับสถานการณ เนื่องจากในระยะเวลาที่ผานมา อาชีพครูคอนขางไดรับการดูถูกดูแคลนจากสังคมเปนอยางมากจนนาวิตก ดวยสาเหตุหลายประการ เชน คนดีคนเกงไมเรียนครู คณาจารยท่ีสอนยอหยอนในการปฏิบัติหนาท่ี ภาระงานของครูมีมาก แรงจูงใจคอนขางตํ่า ระบบการพัฒนาไมมีประสิทธิภาพ

136. เฉลย c. จัดใหมีชุดนักเรียนและอุปกรณการเรียนฟรีใหทันปการศึกษา 2551 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 49 ไดบัญญัติวา “บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันใน

การรับการศึกษาไมนอยกวาสิบสองป ท่ีรัฐจะตองจัดใหอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย” มีวัตถุประสงค ดังนี้

1. เพ่ือใหนักเรียนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาโดยไมเสียคาใชจาย สําหรับรายการหนังสือเรียน อุปกรณการเรียน เครื่องแบบนักเรียน และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนท่ีภาครัฐใหการสนับสนุน

2. เพ่ือใหทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษาฟรี 15 ป โดยสนับสนุนตําราวิชาหลักใหแกทุกสถานศึกษา 3. จัดใหมีชุดนักเรียนและอุปกรณการเรียนฟรีใหทันปการศึกษา 2552 4. ใหความเสมอภาคกันทางการศึกษาแกประชาชนในกลุมผูดอยโอกาส ท้ังยากไร หรือทุพพลภาพ 137. เฉลย a. ความลมเหลวของระบบการศึกษา การจัดการศึกษาโดยครอบครัว เปนแนวความคิดใหมท่ีเกิดขึ้นอันเปนผลมาจากความลมเหลวของ

ระบบการศึกษา และแรงผลักดันจากพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 กอใหเกิดกระแสการจัดการสอนใหแกบุตรหลานภายในครอบครัว โดยไมใหความสําคัญกับการศึกษาในโรงเรียนตามรูปแบบที่จัดต้ังขึ้นต้ังแตยุคการปฏิรูประบบราชการในสมัยรัชกาลท่ี 5 การศึกษาโดยครอบครัวนั้นเปนทางเลือกท่ีมุงเนนใหผูเขารับการศึกษาสามารถดํารงชีวิตดวยความพอดีและพ่ึงพาตนเองได อันจะนําไปสูการพัฒนาอยางย่ังยืนอยางแทจริง โดยในประเทศไทยนั้นไดรับอิทธิพลจากแนวคิดของตางประเทศ เชน โรงเรียนซัมเมอรฮิลล โรงเรียนศาสนาของนิกายเซเวนเดย แอดเวนติสท โรงเรียนวอลดอรฟ เปนตน

Page 25: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

24 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

138. เฉลย c. การจัดการศึกษาโดยครอบครัว การจัดการศึกษาโดยครอบครัว เปนการจัดการศึกษาท่ีอยูในวงจํากัด ตองการครอบครัวท่ีพรอมและมี

องคความรูเพียงพอท่ีจะบริหารจัดการ จัดรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสําหรับนักเรียนในแตละวัย การศึกษารูปแบบนี้ยังไมมีความสมบูรณในตัวเอง ในขณะเดียวกันก็ยังมีปญหาในการดําเนินงานเปนอันมาก เชน

1. ผูปกครองจะตองเปนบุคคลท่ีมีความรูในเรื่องของการศึกษา และความรูอื่นๆ ท่ีเก่ียวของในระดับสูงกวาคนปกติท่ัวไป

2. ผูปกครองจะตองเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตอยางมากในการเตรียมเงินเพ่ือสนับสนุนการจัดการศึกษา 3. นักเรียนท่ีทําการศึกษาท่ีบาน ขาดการสังสรรคกับเพ่ือนในวัยเดียวกัน 4. การศึกษาในระบบครอบครัว ไมสามารถเทียบมาตรฐานกับการศึกษาในระบบโรงเรียนได ทําให

เกิดปญหาในการทํางาน หรือการเขารับราชการทหาร ในฐานะที่นักเรียนผูนั้นเปนสวนหนึ่งของสังคม และจะกอใหเกิดความยุงยากแกนักเรียนผูนั้นในภายหลัง

139. เฉลย b. ทางเลือกใหม การจัดการศึกษาโดยครอบครัว เปนสิทธิโดยพ้ืนฐานตามธรรมชาติและวัฒนธรรมของบิดา มารดา

และครอบครัว เพ่ือจัดกระบวนการเรียนรู ฝกอบรม ใหบุตรหลานหรือบุคคลท่ีอยูในความดูแลสามารถเรียนรูและพัฒนาตนไดตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ควรจะเปนการศึกษาอีกทางเลือกหนึ่งท่ีคูขนาน เชื่อมโยง และสนับสนุนตอการศึกษาระบบโรงเรียน ยังไมควรแยกออกเปนเอกเทศอยางเด็ดขาด เพราะครอบครัวเกือบท้ังหมดยังขาดความพรอม รัฐบาลยังไมมีแนวทางที่ชัดเจนในการบริหารจัดการ และท่ีสําคัญ ก็คือ นักเรียนยังจําเปนตองมีสังคมและมีการสังสรรคสัมพันธกับเพ่ือนรวมรุนตามธรรมชาติของมนุษยท่ีเปนสัตวสังคม

140. เฉลย a. การศึกษาเปนการสรางความเจริญใหแกประเทศชาติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงสนพระราชหฤทัยและใหความสําคัญเก่ียวกับงานดานการศึกษา

ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงเปนเรื่องของการพัฒนาคนโดยตรง จากขอความเปนพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร เมื่อวันท่ี 12 ธันวาคม 2510 งานดานการศึกษาเปนงานสําคัญท่ีสุดอยางหนึ่งของชาติ เพราะความเจริญและความเส่ือมของชาตินั้น ขึ้นอยูกับการศึกษาของชาติเปนขอใหญเพราะการศึกษาสามารถทําใหพลเมืองในประเทศพัฒนา

141. เฉลย d. พัฒนาระบบการเรียนการสอนดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี องคการยูเนสโกไดประกาศปฏิญญา (Declaration) วาดวยการศึกษาดานจริยธรรม เพ่ือใหมีการใช

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางย่ังยืน และไดเริ่มจัดต้ังคณะกรรมการโลกวาดวยจริยธรรม องคความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีขึ้น โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการเรียน การสอนดานจริยธรรมในสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีในสถาบันการศึกษาทุกระดับ ท้ังนี้ รูปแบบที่ใชในการเรียนการสอนในอดีตมี 2 รูปแบบ ไดแก

1. การสอนแบบลัทธินิยม (Indoctrination) ซ่ึงเปนการเรียนการสอนแบบสรางความเชื่อ ปุจฉาและวิปสสนา (Catechisation)

2. การสอนแบบอดทนและเปนกลาง (Toleration and Neutrality) เนนการอดทนและความเปนกลางในความเชื่อสวนตัว โดยการสรางการแจกแจงคุณคา (Value Clarification) ของนักเรียนนักศึกษาโดยท่ีผูสอนไมไดบอกวาผิดหรือถูก

Page 26: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET) 25

การเรียนการสอนแบบใหมท่ีถูกนํามาเสนอในท่ีประชุมครั้งนี้คือ การเรียนในรูปแบบพินิจวิเคราะห (Deliberation) โดยเปนการเรียนการสอนท่ีเปดโอกาสใหผูเรียนไดพิจารณาและวิเคราะหความเปนเหตุเปนผลของความเชื่อ เปนการเพ่ิมปรัชญาในการตัดสินใจ ซ่ึงเปนระบบที่ไมงายในการปฏิบัติ ท้ังนี้ขอจํากัดของการเรียนการสอนแบบนี้ไดแก

1. การมีคําถามท่ีมีคําตอบ 2. การมีคําถามท่ีไมมีใครใหคําตอบไดอยางถูกตองและชาญฉลาด 3. ขีดความสามารถในการรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นท่ีแตกตางจากตนเอง 142. เฉลย a. เสียงสะทอนจากครู ครูวิตกกังวล เรื่อง การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ในขณะที่ครูอีกสวนหนึ่งยังเชื่อ

วาการสอบเขามหาวิทยาลัยได เปนตัวบงชี้คุณภาพโรงเรียน ครูสวนนี้จะจัดการเรียนการสอนแบบบรรยายเพื่อเรงบรรจุเนื้อหาใหศิษย ซ่ึงเปนวิธีเดียวกันกับการสอนในสถาบันกวดวิชาชื่อดังท้ังหลายนั่นเอง แตเทคนิคการพูด บอกเลา หรือการอธิบาย อาจจะไมเราใจเทาเรียนกับส่ือวิดีโอ

กระท่ังวันนี้ครูสับสนเรื่องนี้ย่ิงขึ้น เนื่องจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) กลาวถึงการซ้ือลิขสิทธิ์วิดีโอการสอนของสถาบันกวดวิชา และเชื่อมโยงไปถึงการพัฒนาเทคนิคการสอนของครูในชั้นเรียนปกติวามีแนวคิดจะใหครูจากสถาบันกวดวิชามาแนะนําเทคนิคในการสอนใหกับครูในชั้นเรียนปกติ เพ่ือใหเด็กไดเขาใจงายขึ้น เมื่อการสอนกวดวิชาซ่ึงใชวิธีบรรยายผานวิดีโอและไมใชแนวจัดการศึกษาตาม พ.ร.บ. การศึกษาฯ อยางชัดเจนนั้น กําลังจะถูกนํามาใชสอนนักเรียน และใชพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูในชั้นเรียนปกติโดย กระทรวงศึกษาธิการเอง

143. เฉลย b. วิตกกังวล คําอธิบายดูขอ 142 144. เฉลย d. มีกิจกรรมสัมพันธดึงพอแมเขาโรงเรียน ปญหาเด็กมีความหางเหินกับพอแม เพราะครอบครัวสวนใหญตองทํางานเพ่ือแขงขันกับสภาวะ

เศรษฐกิจท่ีตกตํ่าโรงเรียนจึงควรจัดกิจกรรมสัมพันธดึง พอ แม เขาโรงเรียน เชน ทํากิจกรรมทําขนม จากนั้นใหนักเรียนเชิญพอหรือแมมารวมกิจกรรม ถาไมมานักเรียนจะถูกหักคะแนน ในท่ีสุดนักเรียนก็ตองรบเราพอ หรือ แม มารวมกิจกรรม การกระทําเชนนี้จะเปนการแกปญหาความสัมพันธระหวางครอบครัวได เมื่อเด็กมีการทํากิจกรรมรวมกันกับพอแมจะไดเรียนรู และเขาใจถึงบทบาทที่ถูกตองของตนเองทั้ง 2 ฝาย

145. เฉลย c. หองสําหรับสอนนิสัยท่ีดีดวยความกตัญูรูคุณ พระอาจารยกิตติ กิตติญาโณ ชมรมพุทธศาสตรสากล ในอุปถัมภสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย

เมตตาใหหลักในการแกปญหาเยาวชนผานหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาวา ตองเริ่มจากเรื่องใกลตัว คือ นิสัย หรือพฤติกรรมเคยชิน ท่ีเราทําซํ้าๆ ทําเปนประจํา ซ่ึงเกิดจากการยํ้าคิด ยํ้าพูด ยํ้าทํา ผานการใชปจจัย 4 โดยฝกจาก 5 หองแหงชีวิต คือ หองท่ีทุกคนใชต้ังแตเกิดจนตาย ไดแก หองนอน หองน้ํา หองครัว หองแตงตัว หองทํางาน ซ่ึงถาสรางนิสัยท่ีดีใหเกิดจาก 5 หองนี้ได ก็จะเปนโรงเรียนบมเพาะนิสัยท่ีดี เพราะหองเหลานี้ลวนมีประโยชนหากทราบถึงวัตถุประสงคท่ีแทจริง เชน หองนอนไมใชแคเอาไวนอนแตเอาไวใชสอนนิสัยท่ีดี เชน การกราบเทาพอแมกอนนอน สอนความกตัญู หรือการสวดมนตกอนนอน สอนเรื่องความเห็นท่ีถูกตอง

Page 27: 0 เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถน ัดทางว ิชาชีพครู’มีนา ทาง INTERNET) · บัณฑิตแนะแนว เฉลย

26 บัณฑิตแนะแนว เฉลย PRE-PAT5 วิชาความถนัดทางวิชาชีพคร’ูมีนา (ทาง INTERNET)

146. เฉลย c. การศึกษากอนระดับอุดมศึกษา การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 4 การศึกษาขั้น

พ้ืนฐาน หมายความวา การศึกษากอนระดับอุดมศึกษา “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความวา การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหวางการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใหสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

147. เฉลย d. ทักษะชีวิต การอบรมเด็กนักเรียนเสมอ เรื่องท่ีนักเรียนตองหมั่นฝกฝนตนเองเปนส่ิงสําคัญท่ีสุด คือ เรื่องการฝก

ทักษะชีวิต เพ่ือใหสามารถมีชีวิตอยูในสังคมรวมกับคนอื่นไดดี และมีความสุข ปรับตัวไดกับทุกสถานการณ 148. เฉลย a. นักเรียนไดสะสมขอสอบเพ่ือบอกรุนนองตอไป ทุกครั้งท่ีมีการสอบกลางภาคเรียน ผูอํานวยการตองมีคําส่ังใหครูทุกวิชาเฉลยขอสอบทุกครั้ง เปนส่ิงท่ี

ควรกระทําเพราะนักเรียนจะไดมีโอกาสวัดตนเองและเขาใจถูกตอง ซ่ึงครูก็จะไดรูวานักเรียนมีเหตุผลใดในการเลือกและชี้แจงใหถูกตอง โดยครูสามารถทําใหนักเรียนเกงและออนเรียนเทากัน

149. เฉลย d. การเพ่ิมเวลาจะ 4 หรือ 5 ป ก็ไมตางกัน ถาผูท่ีเรียนครูไมมีจิตวิญญาณความเปนครู จากพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 กลาวไวในตัวบท มาตรา 44 วา

ผูขอรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพครู ตองมีคุณสมบัติของความเปนครู การเพ่ิมเวลาจะ 4 หรือ 5 ป ก็ไมตางกันถาผูท่ีเรียนครูไมมีจิตวิญญาณของความเปนครู และไมรักอาชีพความเปนครูก็ไมเกิดประโยชน

150. เฉลย d. ครูควรมีสติเสมอในการใชคําพูดไมวาจะสถานการณใดก็ตาม การตําหนินักเรียนทุกครั้งครูตองระมัดระวังคําพูดและอารมณตนเองเสมอ ไมวาจะอยางไรตอง

ควบคุมตนเองใหได เพราะคําพูดจะเปนการทํารายจิตใจนักเรียน