หน่วยที่ 7

45
คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ คณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศ หนวยท่ 7 ครกนกรตน ญไชโย

Upload: kanokratpam

Post on 27-Jun-2015

411 views

Category:

Education


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน่วยที่ 7

คุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศคุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศคุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศคุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศคุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศคุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศคุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศคุณธรรมและจรยิธรรมในการใชสารสนเทศ

หนวยที่ 7

ครูกนกรัตน บุญไชโย

Page 2: หน่วยที่ 7

คณุธรรม คณุธรรม คณุธรรม คณุธรรม คณุธรรม คณุธรรม คณุธรรม คณุธรรม ((((((((VirtueVirtueVirtueVirtueVirtueVirtueVirtueVirtue))))))))

• คุณงามความดี

• เปนประโยชนแกสันติภาพ

• เปนสิ่งที่ตองอบรมโดยเฉพาะ เพื่อใหเกิดขึ้นเหมาะสมกับที่เราตองการ

• เปนมโนธรรม• เปนมโนธรรม

• เปนเครื่องประคับประคองใหเกลียดความชั่ว กลัวบาป ใฝความดี และ

เปนเครื่องกระตุนผลักดันใหเกิดความรูสึกผิดชอบ

Page 3: หน่วยที่ 7

จรยิธรรม จรยิธรรม จรยิธรรม จรยิธรรม จรยิธรรม จรยิธรรม จรยิธรรม จรยิธรรม ((((((((EthicsEthicsEthicsEthicsEthicsEthicsEthicsEthics))))))))

• ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติศีลธรรม

• การนาํกฎธรรมชาติไปใชใหเกิดประโยชนตอการดําเนนิชวีิตที่ดีงาม อัน

จะทําใหเกิดประโยชนตอตนเอง และสังคม

• หลักเกณฑที่ประชาชนตกลงรวมกันเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติใน• หลักเกณฑที่ประชาชนตกลงรวมกันเพื่อใชเปนแนวทางในการปฏิบัติใน

สังคม

• สิ่งที่พึงประพฤติปฏิบัติ การมพีฤติกรรมที่ดีงามตองประสงคของสังคม

• เปนหลักหรือกรอบที่ทุกคนกาํหนดไวเปนแนวปฏิบัติสําหรับสังคม เพื่อให

เกิดความเปนระเบียบเรียบรอยสวยงามเกดิความรักสามัคคี เกิดความ

อบอุน มั่นคงและปลอดภัยในการดํารงชีวติ

Page 4: หน่วยที่ 7

สรปุสรปุสรปุสรปุสรปุสรปุสรปุสรปุ

คณุธรรมคณุธรรมคณุธรรมคณุธรรม

• คุณงามความดี

• คุณธรรม

• ขอหาม และขอควรปฏิบัติ

จริยธรรมจริยธรรมจริยธรรมจริยธรรม

• หลักการ หรือ ขอกําหนดใหประพฤติ

ปฏิบัติที่ดีงาม กอใหเกิดคุณงามความดี

• ขอหาม และขอควรปฏิบัติ

• หลักคุณธรรมที่พึงประสงคของสังคม– ความชื่อสัตยสุจรติ - ความเอื้อเฟอเผื่อแผ

– ความขยนัขนัแข็ง - ความพอเพยีง

– ความเคารพศักดิศ์รแีละคุณคาความเปนคน

– ความยตุิธรรม

– การรกัในศิลปวัฒนธรรม และการพัฒนาจิตใจ

ใหสูงอยางตอเนื่อง

Page 5: หน่วยที่ 7

จรยิธรรมทางวิชาการจรยิธรรมทางวิชาการจรยิธรรมทางวิชาการจรยิธรรมทางวิชาการจรยิธรรมทางวิชาการจรยิธรรมทางวิชาการจรยิธรรมทางวิชาการจรยิธรรมทางวิชาการ

การใชสารสนเทศตามหลักจริยธรรม

คือ การตัดสินใจโดยแตละบุคคลที่ตองรับผิดชอบตอผลของการกระทําทีจ่ะเกดิตามมาภายหลัง

TEXT คณุธรรมคณุธรรมคณุธรรมคณุธรรมคณุธรรมคณุธรรมคณุธรรมคณุธรรมจรยิธรรมจรยิธรรมจรยิธรรมจรยิธรรมจรยิธรรมจรยิธรรมจรยิธรรมจรยิธรรม TEXT

“ผูรูสารสนเทศตองสามารถแยกแยะความเปนสวนตัว การปองกันสิทธในการใชสารสนเทศ

เสริภาพในการใชสารสนเทศ การนําไปเผยแพรแกสาธารณะ การตระหนัก และเขาใจใน

เรื่องลิขสิทธิ์ทรัพยสินทางปญญา การใชสารสนเทศอยางถูกตองเปนธรรม”

Page 6: หน่วยที่ 7

การใชสารสนเทศตามหลักจรยิธรรมการใชสารสนเทศตามหลักจรยิธรรมการใชสารสนเทศตามหลักจรยิธรรมการใชสารสนเทศตามหลักจรยิธรรม

1. สิทธิการรับรูขาวสารและพันธกรณี

2. สิทธิความเปนเจาของทรัพยสิน 2. สิทธิความเปนเจาของทรัพยสิน

3. การชี้แจงและการควบคุม

4. คุณภาพของระบบ

5. คุณภาพของชีวิต

Page 7: หน่วยที่ 7

หลักคณุธรรม จริยธรรม ที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศหลักคณุธรรม จริยธรรม ที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศหลักคณุธรรม จริยธรรม ที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศหลักคณุธรรม จริยธรรม ที่เกี่ยวของกับการใชสารสนเทศ

Page 8: หน่วยที่ 7

ทรัพยสนิทางปญญา ทรัพยสนิทางปญญา ทรัพยสนิทางปญญา ทรัพยสนิทางปญญา

ผลงานอันเกิดจากความคิดสรางสรรคของมนุษยสรางสรรคของมนุษย

ทรัพยสินทางอุตสาหกรรม (Industrial property) ลิขสิทธิ์ (Copyright)

Page 9: หน่วยที่ 7

ทรัพยสนิทางอตุสาหกรรมทรัพยสนิทางอตุสาหกรรมทรัพยสนิทางอตุสาหกรรมทรัพยสนิทางอตุสาหกรรม

• ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับการประดิษฐคดิคน การออกแบบผลิตภัณฑ

– กระบวนการหรือเทคนิค

– วิธีการในการผลิตที่ได การพัฒนาปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม

• เกี่ยวของกับตัวสินคา • เกี่ยวของกับตัวสินคา

– อาจเปนผลิตภัณฑที่เปนองคประกอบ

– หรือการพัฒนารูปรางใหเกิดความสวยงามของตัวผลิตภัณฑ

Page 10: หน่วยที่ 7

ทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรม

สทิธิบตัร สทิธิบตัร สทิธิบตัร สทิธิบตัร สทิธิบตัร สทิธิบตัร สทิธิบตัร สทิธิบตัร ((((((((PatentPatentPatentPatentPatentPatentPatentPatent))))))))

การประดษิฐ (Invention)

การออกแบบผลติภัณฑ (Product Design)

อรรถประโยชน (Utility Model)

เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคา เครื่องหมายการคา ((((((((TrademarkTrademarkTrademarkTrademarkTrademarkTrademarkTrademarkTrademark))))))))

เครื่องหมายการคา (Trade Mark)

เครื่องหมายบริการ (Service Mark) ทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรมทรพัยสนิทางอตุสาหกรรม เครื่องหมายบริการ (Service Mark)

เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark)

เครื่องหมายรวม (Collective Mark)

ความลบัทางการคา ความลบัทางการคา ความลบัทางการคา ความลบัทางการคา ความลบัทางการคา ความลบัทางการคา ความลบัทางการคา ความลบัทางการคา ((((((((Trade Trade Trade Trade Trade Trade Trade Trade SecretsSecretsSecretsSecretsSecretsSecretsSecretsSecrets))))))))

แบบผงัภมูขิองวงจรรวมแบบผงัภมูขิองวงจรรวมแบบผงัภมูขิองวงจรรวมแบบผงัภมูขิองวงจรรวมแบบผงัภมูขิองวงจรรวมแบบผงัภมูขิองวงจรรวมแบบผงัภมูขิองวงจรรวมแบบผงัภมูขิองวงจรรวม(Layout (Layout (Layout (Layout (Layout (Layout (Layout (Layout -------- Designs Of Designs Of Designs Of Designs Of Designs Of Designs Of Designs Of Designs Of

Integrated Circuit Integrated Circuit Integrated Circuit Integrated Circuit Integrated Circuit Integrated Circuit Integrated Circuit Integrated Circuit --------IC)IC)IC)IC)IC)IC)IC)IC)

สิง่บงชี้ทางภมูศิาสตรสิง่บงชี้ทางภมูศิาสตรสิง่บงชี้ทางภมูศิาสตรสิง่บงชี้ทางภมูศิาสตรสิง่บงชี้ทางภมูศิาสตรสิง่บงชี้ทางภมูศิาสตรสิง่บงชี้ทางภมูศิาสตรสิง่บงชี้ทางภมูศิาสตร(Geographical Indication)(Geographical Indication)(Geographical Indication)(Geographical Indication)(Geographical Indication)(Geographical Indication)(Geographical Indication)(Geographical Indication)

Page 11: หน่วยที่ 7

สิทธบิัตร สิทธบิัตร สิทธบิัตร สิทธบิัตร ((((PatentPatentPatentPatent))))

• หนังสือสําคัญที่รัฐออกให เพื่อคุมครองการประดิษฐ (Invention) การออกแบบ

ผลิตภัณฑ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑอรรถประโยชน (Utility Model) ที่มี

ลักษณะตามกฎหมายกําหนด

• โดยใหสิทธิแกนักประดิษฐในการใชประโยชนของตนในเชิงพาณิชย

• แตจะมีชวงระยะเวลาที่แนนอน • แตจะมีชวงระยะเวลาที่แนนอน

• โดยมักจะกําหนดระยะเวลาคุมครองไว 20 ป นับตั้งแตวันขอรับ

• โดยนักประดิษฐจะตองเปดเผยรายละเอียดสิ่งประดิษฐ เพื่อประโยชนทาง

การศึกษา และประโยชนสาธารณะ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนกับสิทธินี้

• สิทธิบัตรเปนทรัพยสินสวนบุคคลประเภทหนึ่ง

• สามารถมอบหมาย อนุญาตใหใชสิทธิ หรือเก็บคาใชสิทธิไดโดยผานการจํานอง

สิทธิบัตร

Page 12: หน่วยที่ 7

เครื่องหมายการคา (Trademark)

• เครื่องหมายหรือสัญลักษณหรือตราที่ใชกับสินคา หรือบริการ

• เครื่องหมายการคา (Trade Mark)

• เครื่องหมายบริการ (Service Mark)

• เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark)• เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark)

• เครื่องหมายรวม (Collective Mark)

Page 13: หน่วยที่ 7

((((Trade SecretsTrade SecretsTrade SecretsTrade Secrets))))

• ขอมูลตางๆ ในการคาที่ยังไมเปนที่รูจักกันโดยทั่วไป

• มมีูลคาในเชิงพาณิชยเนื่องจากขอมูลนั้นเปนความลับที่เปนที่ตองการ

• เจาของความลับทางการคานั้นมกีารดําเนนิการตามความสมควรเพื่อ

รักษาขอมูลนัน้ไวเปนความลับ รักษาขอมูลนัน้ไวเปนความลับ

Page 14: หน่วยที่ 7

สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical Indication)

• ชื่อ สัญลักษณหรือสิ่งอื่นใดที่ใช

เรียกหรือใชแทนแหลงภมูิศาสตร

• สามารถบงบอกวาสินคาที่เกิด

จากแหลงภมูิศาสตรนั้นเปนสินคาที่

• สมสายน้ําผึ้ง

• ผาไหมไทย

• กวยเตี๋ยวเรือรังสิต

• รมบอสรางจากแหลงภมูิศาสตรนั้นเปนสินคาที่

มีคณุภาพ ชื่อเสียง หรือคณุลักษณะ

เฉพาะของแหลงภมูิศาสตรนัน้

• รมบอสราง

• ไขเค็มไชยยา

Page 15: หน่วยที่ 7

ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์

• สิทธิ์แตผูเดียวที่จะกระทําการใดๆ เกี่ยวกับงานที่ผูสรางสรรคได

ทําขึ้น

• สิทธิ์ในการปองกันการคัดลอกหรือทําซ้ําในงานเขียน, งานศิลป

หรืองานดานศิลปะอื่นๆหรืองานดานศิลปะอื่นๆ

• สิทธิ์คุมครองผลงาน หรือความคิดสรางสรรคในสาขาวรรณกรรม

ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนตร

• ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มีอายุคุมครองผลงานเปน

เวลา 50 ป

Page 16: หน่วยที่ 7

ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์ลขิสทิธิ์

•สิทธขิางเคียงสิทธขิางเคียงสิทธขิางเคียงสิทธขิางเคียง (Neighboring Right)(Neighboring Right)(Neighboring Right)(Neighboring Right) คือ การนําเอางานดาน

ลิขสิทธิ์ออกแสดง เชน นักแสดง ผูบันทึกเสียงวิทยุและโทรทัศนใน

การบันทึกหรือถายทอดเสียงหรือภาพ

•โปรแกรมคอมพวิเตอรโปรแกรมคอมพวิเตอรโปรแกรมคอมพวิเตอรโปรแกรมคอมพวิเตอร (Computer Program (Computer Program (Computer Program (Computer Program หรือ หรือ หรือ หรือ Computer Computer Computer Computer •โปรแกรมคอมพวิเตอรโปรแกรมคอมพวิเตอรโปรแกรมคอมพวิเตอรโปรแกรมคอมพวิเตอร (Computer Program (Computer Program (Computer Program (Computer Program หรือ หรือ หรือ หรือ Computer Computer Computer Computer

Software) Software) Software) Software) คือ ชุดคําสั่งที่ใชกับคอมพิวเตอร เพื่อกําหนดใหเครื่อง

คอมพิวเตอรทํางาน

•งานฐานขอมลูงานฐานขอมลูงานฐานขอมลูงานฐานขอมลู (Data Base)(Data Base)(Data Base)(Data Base) คือ ขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมขึ้นเพื่อใช

ประโยชนดานตางๆ

Page 17: หน่วยที่ 7

การคุมครองทรัพยสนิทางปญญาการคุมครองทรัพยสนิทางปญญาการคุมครองทรัพยสนิทางปญญาการคุมครองทรัพยสนิทางปญญา

• ทรัพยสินทางปญญาจําเปนที่จะตองไดรับการคุมครองเพื่อเปน

การสนับสนุนใหกําลังใจแกผูที่สรางสรรคผลงาน

• กฎหมายวาดวยทรัพยสินทางปญญา

• กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ • กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

– กฎหมายสิทธิบัตรปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนของ

สหประชาชาติ

– กฎหมายรัฐธรรมนญู เสรีภาพในการแสดงความเห็น

Page 18: หน่วยที่ 7

กฎหมายใหความคุมครองทรัพยสนิทางปญญากฎหมายใหความคุมครองทรัพยสนิทางปญญากฎหมายใหความคุมครองทรัพยสนิทางปญญากฎหมายใหความคุมครองทรัพยสนิทางปญญา

1. พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ.2522 แกไขเพิ่มเติมโดย

พระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542

2.พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา พ.ศ.2534แกไขเพิ่มเติมโดย

พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2543พระราชบัญญัติเครื่องหมายการคา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2543

3.พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537

4.พระราชบัญญัติคุมครองแบบแผนผังภูมิของวงจรรวม พ.ศ.2543

Page 19: หน่วยที่ 7

การใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรม

• มีหลักการพิจารณาที่วัตถปุระสงคการใชงาน หรอืผลประโยชนจากการใชวัตถปุระสงคการใชงาน หรอืผลประโยชนจากการใชวัตถปุระสงคการใชงาน หรอืผลประโยชนจากการใชวัตถปุระสงคการใชงาน หรอืผลประโยชนจากการใช

สารสนเทศ

– ใชเพื่อการศึกษา

– การวิจัย

– การติชมวิจารณ– การติชมวิจารณ

– แนะนําผลงาน ฯลฯ

• โดยที่เจาของลิขสิทธิไ์ดรับประโยชน

• ผูวิจารณรับรูถึงความเปนเจาของลิขสิทธิ์

• ไมทําใหเจาของลิขสิทธิ์เสียหาย

• ถือเปนการใชเพื่อประโยชนสวนรวมของสังคม ไมใชเพื่อแสวงกําไร หรือ

ผลประโยชนเขาตัว ถือวาเปนการใชงานอยางถูกตองโดยธรรม

Page 20: หน่วยที่ 7

การใชสารสนเทศ อยางถกูตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถกูตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถกูตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถกูตองเปนธรรม

• การพจิารณาลักษณะการนาํมาใช การพจิารณาลักษณะการนาํมาใช การพจิารณาลักษณะการนาํมาใช การพจิารณาลักษณะการนาํมาใช

• หากนําเอาเฉพาะขอเท็จจริง สาระสําคัญ เชน ผลการวิจัย เพื่อประกอบ

ขยายสาระของสารสนเทศใหมีคณุภาพยิ่งขึ้น

• จะยกเวนการเอาสาระจากจินตนาการ ผลการสรางสรรค • จะยกเวนการเอาสาระจากจินตนาการ ผลการสรางสรรค

• เชน การนําตัวละครในหนังสือนวนิยายของผูอื่น มาใชเขียนเปนเรื่อง

ของตน ถือวาไมถูกตอง

Page 21: หน่วยที่ 7

การใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรม

• การคัดลอกขอความหรอืขอมลูสารสนเทศใดๆ การคัดลอกขอความหรอืขอมลูสารสนเทศใดๆ การคัดลอกขอความหรอืขอมลูสารสนเทศใดๆ การคัดลอกขอความหรอืขอมลูสารสนเทศใดๆ

• ใหอางอิงที่มาของแหลงขอมูลทุกครั้ง

• ไมวาจะเปนขอมูลสารสนเทศที่เปนขอความ, ตัวเลข, ภาพ เสียง

และสื่อประสม และสื่อประสม

• หากตองการอางอิงขอมูลเท็จจริง สถิติ กฎ ระเบียบ ตางๆ ควร

อางอิงจากแหลงสารสนเทศที่จัดทําโดยหนวยงานรัฐ มากกวา

แหลงสารสนเทศที่เปนของสวนบุคคล ซึ่งไมใชของสาธารณะ

Page 22: หน่วยที่ 7

การใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรม

• การพิจารณาที่ปรมิาณ หรอืจาํนวนการใชเนื้อหาของสารสนเทศปรมิาณ หรอืจาํนวนการใชเนื้อหาของสารสนเทศปรมิาณ หรอืจาํนวนการใชเนื้อหาของสารสนเทศปรมิาณ หรอืจาํนวนการใชเนื้อหาของสารสนเทศให

พอเหมาะพอควร

• ไมใชในปริมาณมากเกนิไป

• เชน การคัดลอกขอความทั้งหมดจากเว็บไซตไปใชทํารายงาน • เชน การคัดลอกขอความทั้งหมดจากเว็บไซตไปใชทํารายงาน

โดยไมสรปุ วิเคราะห สังเคราะห

หรืออาจารยนําหนังสือของผูอื่นทั้งเลมไปใชในการสอน

ถึงแมจะเพื่อการเรียนการสอนก็ตาม แตก็ถือวาไมสมควร

Page 23: หน่วยที่ 7

การใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรม

• ควรอานขอปฏิบัติขอปฏิบัติขอปฏิบัติขอปฏิบัติ, , , , ระเบยีบนโยบาย และจรรยาบรรณการใชสารสนเทศระเบยีบนโยบาย และจรรยาบรรณการใชสารสนเทศระเบยีบนโยบาย และจรรยาบรรณการใชสารสนเทศระเบยีบนโยบาย และจรรยาบรรณการใชสารสนเทศ

ที่เจาของแหลงสารสนเทศไดจัดทําไวในการใชสารสนเทศ กอนที่จะ

นําไปอางอิง

• ปฏิบัติตามขอปฏิบัติการใชแหลงสารสนเทศ และการอนญุาตการใช• ปฏิบัติตามขอปฏิบัติการใชแหลงสารสนเทศ และการอนญุาตการใช

สารสนเทศอยางเครงครัด

• ยกตัวอยางเชน การใชสารสนเทศจากอินเทอรเน็ต มักจะมกีาร

ประชาสัมพันธ หรือการระบุขอความ ขอปฏิบัติ มารยาทการใช

โดยทั่วไป ไวบนหนาเว็บไซต ใหรับทราบ

Page 24: หน่วยที่ 7

การใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรมการใชสารสนเทศ อยางถูกตองเปนธรรม

• การใชสารสนเทศอยางถูกตองเปนธรรม เปนสิ่งที่ทําใหสังคมมีระเบียบ

เรียบรอย และเจริญกาวหนา

• ถือเปนความรับผิดชอบของทุกคนในสังคม ซึ่งจะตองปลูกฝง หลักการ

แนวคิด ขนบธรรมเนียมปฏิบัติอันดีงาม แนวคิด ขนบธรรมเนียมปฏิบัติอันดีงาม

• ตองมกีารวาง ระเบียบ กฎเกณฑ ขอบังคับ เพื่อใหการดําเนินงาน

เปนไปอยางมีระบบ และเกิดประโยชนแกสวนรวม

• ตลอดจนจําเปนตองมีบทลงโทษแกผูที่ฝาฝนที่ชัดเจน

Page 25: หน่วยที่ 7

““““ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ” ” ” ((((sufficiency economysufficiency economysufficiency economysufficiency economy))))

•การใชความรู สติปญญาพรอมกับคณุธรรมจริยธรรม

•ประกอบกับการวางแผน การตัดสินใจ และการปฏิบัติ

•ใหมีสํานกึในคณุธรรม ความซื่อสัตยสุจริต เคารพในสิทธิของผูอื่น รูจัก

เอื้อเฟอเผื่อแผ เอื้อเฟอเผื่อแผ

•ทําใหผูที่รูจักการใชสารสนเทศอยางถูกตองเปนธรรม

•จะเปนผูรูสารสนเทศที่รูจักการเรียนรูตลอดชีวิต เพื่อใหมีความรอบรูดวย

สติปญญา มีความขยันหมัน่เพียร และมีความรอบคอบในการดําเนนิชีวติ

พรอมตอการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็และกวางขวางของสังคม ทั้งดาน

วัตถุ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรมและสิง่แวดลอมไดอยางดี

Page 26: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พพระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พพระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พพระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พพระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พพระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พพระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พพระราชบัญญัตขิอมลูขาวสารของราชการ พ........ศศศศศศศศ........25402540254025402540254025402540

Page 27: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540

“ขอมูลขาวสาร” หมายถึง สิ่งที่สื่อความหมายใหทราบถึงเรื่องราว หรือ

ขอเท็จจริง เรื่องหนึ่งเรื่องใดโดยใหความสําคัญที่การสื่อความหมายเปนหลัก ไมใช

ลักษณะสื่อ รูปราง หรือรูปแบบของความเปนขอมูลขาวสาร

ขอมูลขาวสารนั้นอาจไมอยูในรูปแบบของกระดาษที่มีขอความ หรือแฟมขอมูลขาวสารนั้นอาจไมอยูในรูปแบบของกระดาษที่มีขอความ หรือแฟม

เอกสาร แตหมายถึงสิ่งตางๆ ที่อาจจะปรากฏใหเห็นเปนขอความ ตัวเลข สัญลักษณ

เสียง แสง สื่อประสม หรืออาจจะปรากฏเปนสิ่งที่สามารถทําใหมนุษยสามารถ

เขาใจและรูความหมายได ไมวาจะเปนโดยสภาพของสิ่งนั้นเอง หรือโดยผาน

กรรมวิธีใดๆ อาทิเชน ประจุไฟฟา ฟลม สื่อดิจิทัล เปนตน

Page 28: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 (ตอ)

ขอมูลขาวสารที่อยูในบังคับแหงพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ

พ.ศ.2540 เปนขอมูลขาวสารที่อยูในความครอบครอง หรือควบคุมดูแลของ

หนวยงานของรัฐ โดยเปนกฎหมายที่มีหลักการและแนวคิดที่รองรับ “สิทธิไดรู”

ของประชาชน โดยกําหนดสิทธิในการรับรูขอมูลขาวสารของราชการของ

ประชาชน และกําหนดหนาที่ของหนวยงานของรัฐ และเจาหนาที่ของรัฐใหตองประชาชน และกําหนดหนาที่ของหนวยงานของรัฐ และเจาหนาที่ของรัฐใหตอง

ปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อรองรับและคุมครองสิทธิของประชาชนไปพรอมกัน

พระราชบัญญัติฉบับนี้ มีแนวคิดหลักการดังนี้

Page 29: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 (ตอ)

1. ใหประชาชนมีโอกาสรับรูขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินการตางๆ

ของรัฐ

2. รับรองสิทธิของประชาชนในการเขาถึงขอมูลขาวสารของ

ราชการ ที่อยูในความครอบครองของหนวยงานของรัฐราชการ ที่อยูในความครอบครองของหนวยงานของรัฐ

3. ขอมูลขาวสารของราชการเกือบทั้งหมด หรือสวนใหญจะตอง

สามารถเปดเผยได หากขอมูลนั้นไมใชขอมูลที่สงกระทบตอความ

มั่นคงของชาติ

Page 30: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 (ตอ)

o ประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารของราชการได ดังตอไปนี้

1.จากการใชสิทธิเขาขอดูไดดวยตนเอง ณ สถานที่ที่หนวยงาน

กําหนดและ จัดเตรียมขอมลูขาวสารนั้นไว สําหรับขอมูลขาวสาร ตาม

มาตรา 9 แหง พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540มาตรา 9 แหง พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540

2.จากการใชสิทธิขอดูขอมูลขาวสารของราชการปรกติทั่วไป โดย

การยื่นคําขอตอหนวยงานของรัฐ ที่จัดเก็บ หรือครอบครอง ดูแลขอมูล

ขาวสารที่ตองการขอดูนั้น

Page 31: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 (ตอ)

3.จากการสืบคนในราชกิจจานุเบกษา สําหรับขอมูลขาวสารที่ตอง

เปดเผย โดยวิธีการลงพิมพในราชกิจจานุเบกษาตามมาตรา 7 แหง

พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540

4.จากการใชบริการศึกษาคนควาขอมูลขาวสารที่เปนเอกสาร

ประวัติศาสตร ณ หอจดหมายเหตุแหงชาติ

Page 32: หน่วยที่ 7

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

• เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication

Technology) ทําใหการดําเนินกิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวันทั้งดาน

การศึกษา การคาการลงทุน การผลิตในอุตสาหกรรม และบริการ ฯลฯ

• มีการทําธุรกรรมผานทางอิเล็กทรอนิกสมากขึ้น ตัวอยางเชน การ• มีการทําธุรกรรมผานทางอิเล็กทรอนิกสมากขึ้น ตัวอยางเชน การ

ใหบริการระหวางประชาชนกับองคกร, แลกเปลี่ยนกันระหวางองคกร

ดวยกัน เกิดความหลากหลาย ความคลองตัว มีแนวทางปฏิบัติรวมกัน

• ดังนั้นรัฐและประชาชนในสังคมจึงตองตระหนักถึงอิทธิพลของเทคโนโลยี

สารสนเทศ และการสื่อสาร โดยพยายามที่จะราง หรือปรับปรุงแกไข

กฎหมายที่เกี่ยวของ ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปจจุบัน

เชน การปรับปรุงกฎหมาย ฯลฯ

Page 33: หน่วยที่ 7

กฎหมายเทคโนโลยสีารสนเทศ (ตอ)

คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ (National

Information Technology Committee) หรือคณะกรรมการไอทีแหงชาติ

หรือ กทสช. (NITC) ทําหนาที่เปนศูนยกลาง และประสานงานระหวาง

หนวยงานตางๆ ที่กําลังดําเนินการจัดทํากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยมีการรางกฎหมายที่เกี่ยวของฯ ทั้งสิ้น

6 ฉบับ คือ

Page 34: หน่วยที่ 7

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส

2.กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส

3.กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร

4.กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส

5.กฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลสวนบุคคล

6.กฎหมายลําดับรอง รัฐธรรมนูญ มาตรา 78 หรือกฎหมาย

เกี่ยวกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศ

Page 35: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550

• ปจจุบันชีวิตประจําวันของคนเรามีสวนเกี่ยวของกับการใช

คอมพิวเตอร ไมมากก็นอย

• หากบุคคลใดมีการใชงานคอมพิวเตอรโดยมิชอบ ยอมสงผลเสียตอ

บุคคลอื่น บุคคลอื่น

• การใชงานคอมพิวเตอรในการผลิต และการเผยแพรขอมูล

สารสนเทศ ที่เปนเท็จ หรือมีลักษณะลามกอนาจาร จึงตองมีการ

กําหนดกฎหมายขึ้นมา เพื่อเปนการควบคุมการกระทําความผิด

ดังกลาว

Page 36: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

1.การเปดเผยขอมูลมาตรการปองกัน การเขาถึงระบบคอมพิวเตอร

ที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะ

2.การเขาถึงระบบคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ

3.การเขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยไมชอบ

4.การดักรับขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่น

5.การทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง เพิ่มเติม

ขอมูลคอมพิวเตอรโดยไมชอบ

Page 37: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

6.การกระทําเพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอรของผูอื่นไมสามารถ

ทํางานไดตามปกติ

7.การสงขอมูลคอมพิวเตอรรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของคนอื่นโดย

ปกติสุข ปกติสุข

8.การจําหนายชุดคําสั่งที่จัดทาํขึ้นเพื่อนําไปใชเปนเครื่องมอืในการกระทาํ

ความผิด

9.การใชระบบคอมพิวเตอรทาํความผิดอื่น ผูใหบริการจงใจสนับสนุนหรือ

ยินยอมใหมกีารกระทําความผิด

10.การตกแตงขอมูลคอมพิวเตอรที่เปนภาพของบุคคล

Page 38: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

“พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550” ประกาศใชในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ

วันที่ 18 มิถุนายน 2550 และจะมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 18

กรกฎาคม 2550 เปนกฎหมายที่มีสวนเกี่ยวของกับประชาชนทุกกรกฎาคม 2550 เปนกฎหมายที่มีสวนเกี่ยวของกับประชาชนทุก

คน หนวยงาน องคกรตางๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน โดยเฉพาะ

อยางยิ่งผูใหบริการทางดานคอมพิวเตอร ระบบ และเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร สามารถจําแนกไดเปน 4 ประเภท

ใหญๆ ดังนี้

Page 39: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

1.ผูประกอบกจิการโทรคมนาคมไมวาโดยระบบโทรศัพท ระบบดาวเทียม

ระบบวงจรเชาหรือบริการสื่อสารไรสาย

2.ผูใหบริการการเขาถึงระบบเครือขายคอมพิวเตอรไมวาโดยอินเทอรเน็ต

ทั้งผานสายและไรสาย หรือในระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในที่เรียกวา

อินเทอรเน็ต ที่จัดตั้งขึ้นในเฉพาะองคกรหรือหนวยงาน

Page 40: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

3.ผูใหบริการเชาระบบคอมพิวเตอร หรือใหเชาบริการโปรแกรมประยุกต

(Host Service Provider)

4.ผูใหบริการขอมูลคอมพิวเตอรผาน application ตางๆ ที่เรียกวา content 4.ผูใหบริการขอมูลคอมพิวเตอรผาน application ตางๆ ที่เรียกวา content

provider เชนผูใหบริการ web board หรอื web service เปนตน

Page 41: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

ซึ่งผูใหบริการจําเปนจะตองมีการเก็บรักษาขอมูลการใชงานคอมพิวเตอร

โดยแบงตามรูปแบบได 2 ประเภท ดังนี้

1.“ขอมูลการจราจรทางคอมพิวเตอร” ซึ่งเปนขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร ที่บอกถึง1.“ขอมูลการจราจรทางคอมพิวเตอร” ซึ่งเปนขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร ที่บอกถึง

วันที่ เวลา ปริมาณ ระยะเวลา แหลงกําเนิด เสนทาง ตนทาง ปลายทาง และชนิด

ของบริการหรืออื่นๆ ที่เกี่ยวของ และจะตองเก็บไวไมนอยกวา 90 วัน นับแตวันที่

ขอมูลนั้นๆ เขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจําเปน พิเศษเฉพาะรายและเฉพาะ

คราวเจาหนาที่จะสั่งใหผูใหบริการเก็บขอมูลนั้นๆ ไว เกิน 90 วัน แตไมเกิน 1 ป

Page 42: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

2.ขอมูลของผูใชบริการทั้งที่เสียคาบริการหรือไมก็ตาม โดยตองเก็บขอมูล

เทาที่จําเปนเพื่อใหสามารถระบุตัวผูใชบริการได เชน ชื่อ นามสกุล

เลขประจําตัวประชาชนของผูใชบริการ USERNAME หรอื PIN CODE และ

จะตองเก็บรักษาไวไมนอยกวา 90 วัน นับตั้งแตการใชบริการสิน้สุดลง จะตองเก็บรักษาไวไมนอยกวา 90 วัน นับตั้งแตการใชบริการสิน้สุดลง

Page 43: หน่วยที่ 7

พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 (ตอ)

อยางไรก็ตาม หากเราเปนผูเสียหายก็ควรบันทึก URL (Uniform Resource

Locater) ที่พบวามีการกระทําความผิด และรวบรวมพยานหลักฐานที่สามารถหาได

เชน บันทึกวัน เวลา และสถานที่มีการกระทําความผิดเกิดขึ้น จัดพิมพรายละเอียด

ตางๆ แลวจึงไปแจงความรองทุกขตอพนักงานตํารวจ ณ สถานีตํารวจในทองที่ ที่

ความผิดเกิดขึ้น ความผิดเกิดขึ้น

ดังนั้นเพื่อปองกันไมใหเกิดการกระทําผิดทางคอมพิวเตอร และใหการใชงาน

คอมพิวเตอรในประเทศเปนไปในทางที่สรางสรรค จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตอง

ศึกษาขอมูล และทําความเขาใจเกี่ยวกับพ.ร.บ.ฉบับนี้

Page 44: หน่วยที่ 7

สรปุสรปุสรปุสรปุ

คุณธรรมและจริยธรรมในการใชสารสนเทศเปนความตระหนักเขาใจ เปน

แนวทางในการปฏิบัติ และใชสารสนเทศ ซึ่งเปนทรัพยสินทางปญญาอันเปน

ผลงานอันเกิดจากความคิดสรางสรรคของมนุษย ทรัพยสินทางปญญาเปน

ทรัพยสินอีกชนิดหนึ่ง มีการคุมครองแกผูถือสิทธิ์ไดอยางถูกตอง

ดังนั้นการใชงานสารสนเทศอยางถูกตองเปนธรรม ผูรูสารสนเทศตองเขาใจดังนั้นการใชงานสารสนเทศอยางถูกตองเปนธรรม ผูรูสารสนเทศตองเขาใจ

ถึงสิทธิ์ และตระหนักถึงผลกระทบตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหเขาใจและ

สามารถใชสารสนเทศไดอยางถูกตอง ถือเปนสิ่งสําคัญสําหรับการเรียนรูตลอดชีวิต

ของมนุษย เพื่อใหกลายเปนผูเรียนรูตลอดชีวิตที่มีคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาการ

Page 45: หน่วยที่ 7

แบบฝกหัด•• คาํสัง่คาํสัง่คาํสัง่คาํสัง่คาํสัง่คาํสัง่คาํสัง่คาํสัง่ ใหนักเรียนสรุปความรูที่ไดจากการศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรมและ

จริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร แลวตอบ

คําถามตอไปนี้

1. ปญหาจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คือ1. ปญหาจากการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คือ

2. สาเหตุของปญหา คือ

3. แนวทางแกไขปญหา และการหลีกเลี่ยงไมใหเกิดปญหา คือ

4. หากนักเรียน ไดรับการคัดเลือกใหเปนสมาชิกในโครงการรณรงค การ

ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารอยางมคีุณธรรมและจริยธรรม

ผูเรียนจะมวีิธกีารจูงใจและชักชวนใหทุกคนปฏิบัติอยางไร