symposium 7 กินอย่างฉลาด สูงวัยอย่าง ... ·...

2
Symposium 7 กินอย่างฉลาด สูงวัยอย่างแข็งแรง วันทีสิงหาคม ๒๕๖๐ ในกลุ่มที่ไม่กินนมเลย นอกจากจะเพิ่มข้าวแป้ง และผลไมแล้วยังต้องเพิ่มปริมาณเนื้อสัตว์ด้วย เพื่อให้ได้รับพลังงานและ สารอาหารเพียงพอตามความต้องการของร่างกาย นอกจากนีธงโภชนาการส้าหรับผู้สูงอายุยังเน้นเรื่องการดื่มน้าให้เพียงพอ และมีการออกก้าลังกายสม่้าเสมอ นพ.อภิรัต กตัญญุตานนท์ อภิปรายเกี่ยวกับการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุในจังหวัดฉะเชิงเทราโดยเน้น 2 เรื่องของ Big Five (ล้ม สมองเสื่อม กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปวดข้อ นอนไม่หลับ) โดยเสนอการเตรียมความพร้อมก่อนวัยสูงอายุ เน้นการชะลอ สมองเสื่อมและการป้องกันการหกล้ม การให้ความส้าคัญในการ ดูแลผู้สูงอายุกลุ่มพิเศษ ขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ โรงเรียนผู้สูงอายุ โดยใช้หลัก ๔ Smart และกลุ่มภาวะพึ่งพิง เน้นด้านพัฒนาก้าลังคน (Primary Care Cluster, Care Manager, Care Giver) การวางแผนการจัดการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล การ ประสานและให้ความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การ ร่วมมือกับกรมอนามัยน้าธงโภชนาการสู่การปฏิบัติผ่านเมนู ท้องถิ่น นายนิวัฒน์ เกตุสวัสดิกล่าวถึงการน้านโยบายด้านการ ส่งเสริมสุขภาพสู่การปฏิบัติ ซึ่งความส้าเร็จของการด้าเนินงาน ต้องอาศัยความร่วมมือของผู้น้าในทุกระดับ ในการแก้ไขปัญหา แบบองค์รวมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยการท้างานแบบ บูรณาการร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังเสนอแนะ ให้เลือก อสม. ที่มีสุขภาพดี มีศักยภาพในการถ่ายทอดความรูและดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กรอบการอภิปราย การให้ความรู้ด้านโภชนาการส้าหรับผู้สูงอายุ และการ ด้าเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในระดับจังหวัด และระดับชุมชน ประเด็นสาคัญ (Key message of the session) รศ.ดร.ประไพศรี ศิริจักรวาล มีข้อแนะน้า 2 ส่วน คือ ด้านคุณภาพ ส้าหรับผู้สูงอายุทั่วไปโดยก้าหนดออกเป็น โภชนบัญญัติ 9 ประการ คือ 1. กินอาหารให้หลากหลายในสัดส่วนที่เหมาะสมและ หมั่นดูแลน้าหนักตัว 2. กินข้าวเป็นหลัก เน้นข้าวกล้อง ข้าวขัดสีน้อย 3. กินพืชผักและผลไม้ตามฤดูกาลให้มากเป็นประจ้า 4. กินปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ถั่วและผลิตภัณฑ์เป็นประจ้า 5. ดื่มนมและผลิตภัณฑ์เป็นประจ้า 6. หลีกเลี่ยงอาหาร ไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด 7. ดื่มน้าสะอาดให้เพียงพอ ควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มรสหวาน 8. กินอาหารสะอาดปลอดภัย 9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ด้านปริมาณ ประมวลผลโดยโปรแกรม Optifood จัดท้าเป็น ธงโภชนาการส้าหรับผู้สูงอายุ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ 1400 1600 และ 1800 กิโลแคลอรี ขึ้นอยู่กับเพศและกิจกรรม หนัก-เบา แบ่งเป็น 3 กรณี ตามปริมาณการกินนม 0-1-2 แก้ว ผู้ร่วมดาเนินการอภิปราย รศ.ดร.ประไพศรี ศิริจักรวาล สถาบันโภชนาการ นพ.อภิรัต กตัญญุตานนท์ รอง น.พ. สสจ. ฉะเชิงเทรา นายนิวัฒน์ เกตุสวัสดินายกเทศมนตรีต้าบลคลองแสนแสบ ต้าบลบางขนาก จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้ดาเนินการอภิปราย พญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อ้านวยการส้านักโภชนาการ

Upload: others

Post on 07-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Symposium 7 กินอย่างฉลาด สูงวัยอย่าง ... · 2017-08-11 · Symposium 7 “Smart Eat to Smart Aging” 3rd August 2017 The 10th National

Symposium 7กินอย่างฉลาด สูงวัยอย่างแข็งแรง

วันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๖๐

ในกลุ่มที่ไม่กินนมเลย นอกจากจะเพิ่มข้าวแป้ง และผลไม้ แล้วยังต้องเพิ่มปริมาณเนื้อสัตว์ด้วย เพื่อให้ได้รับพลังงานและสารอาหารเพียงพอตามความต้องการของร่างกาย นอกจากนี้ ธงโภชนาการส้าหรับผู้สูงอายุยังเน้นเรื่องการดื่มน้้าให้เพียงพอ และมีการออกก้าลังกายสม่้าเสมอ

นพ.อภิรัต กตัญญุตานนท์ อภิปรายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในจังหวัดฉะเชิงเทราโดยเน้น 2 เรื่องของ Big Five (ล้ม สมองเสื่อม กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ปวดข้อ นอนไม่หลับ) โดยเสนอการเตรียมความพร้อมก่อนวัยสูงอายุ เน้นการชะลอสมองเสื่อมและการป้องกันการหกล้ม การให้ความส้าคัญในการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มพิเศษ ขยายเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ โรงเรียนผู้สูงอายุ โดยใช้หลัก ๔ Smart และกลุ่มภาวะพึ่งพิง เน้นด้านพัฒนาก้าลังคน (Primary Care Cluster, Care Manager, Care Giver) การวางแผนการจัดการดูแลผู้สูงอายุรายบุคคล การประสานและให้ความร่วมมือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การร่วมมือกับกรมอนามัยน้าธงโภชนาการสู่การปฏิบัติผ่านเมนูท้องถ่ิน

นายนิวัฒน์ เกตุสวัสดิ์ กล่าวถึงการน้านโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพสู่การปฏิบัติ ซึ่งความส้าเร็จของการด้าเนินงานต้องอาศัยความร่วมมือของผู้น้าในทุกระดับ ในการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยการท้างานแบบบูรณาการร่วมกันทั้งภาครัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังเสนอแนะให้เลือก อสม. ที่มีสุขภาพดี มีศักยภาพในการถ่ายทอดความรู้ และดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

กรอบการอภิปราย

การให้ความรู้ด้านโภชนาการส้าหรับผู้สูงอายุ และการด้าเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในระดับจังหวัด และระดับชุมชน

ประเด็นส าคัญ (Key message of the session)

รศ.ดร.ประไพศรี ศิริจักรวาล มีข้อแนะน้า 2 ส่วน คือ ด้านคุณภาพ ส้าหรับผู้สูงอายุทั่วไปโดยก้าหนดออกเปน็ โภชนบัญญัติ 9 ประการ คือ1. กินอาหารให้หลากหลายในสัดส่วนที่เหมาะสมและ

หมั่นดูแลน้้าหนักตัว2. กินข้าวเป็นหลัก เน้นข้าวกล้อง ข้าวขัดสีน้อย 3. กินพืชผักและผลไม้ตามฤดูกาลให้มากเป็นประจ้า4. กินปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ถั่วและผลิตภัณฑ์เปน็ประจ้า5. ดื่มนมและผลิตภัณฑ์เป็นประจ้า6. หลีกเลี่ยงอาหาร ไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด7. ดื่มน้้าสะอาดให้เพียงพอ ควรหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มรสหวาน 8. กินอาหารสะอาดปลอดภัย9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ด้านปริมาณ ประมวลผลโดยโปรแกรม Optifood จัดท้าเป็น“ธงโภชนาการส้าหรับผู้สูงอายุ” แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ 14001600 และ 1800 กิโลแคลอรี ขึ้นอยู่กับเพศและกิจกรรมหนัก-เบา แบ่งเป็น 3 กรณี ตามปริมาณการกินนม 0-1-2 แก้ว

ผู้ร่วมด าเนินการอภิปรายรศ.ดร.ประไพศรี ศิริจักรวาล สถาบันโภชนาการนพ.อภิรัต กตัญญุตานนท์ รอง น.พ. สสจ. ฉะเชิงเทรานายนิวัฒน์ เกตุสวัสดิ์ นายกเทศมนตรีต้าบลคลองแสนแสบ

ต้าบลบางขนาก จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้ด าเนินการอภิปรายพญ.นภาพรรณ วิริยะอุตสาหกุล ผู้อ้านวยการส้านักโภชนาการ

Page 2: Symposium 7 กินอย่างฉลาด สูงวัยอย่าง ... · 2017-08-11 · Symposium 7 “Smart Eat to Smart Aging” 3rd August 2017 The 10th National

Symposium 7“Smart Eat to Smart Aging”

3rd August 2017

The 10th National Health Promotionand Environmental Conference of Thailand

2nd – 4th August 2017, Prince Palace Hotel, Bangkok

energy requirements 1,400 1,600 and 1,800 Kcal according to gender and level of physical activities (light-heavy) and provided into 3 tables according to amount of milk intake per day (0-1-2 cups). For elderly who don’t drink milk, more calories should be provided by not only more in rice and fruit group but also more in meat group for enough energy and nutrients requirement. Dr. Apirat Katanyutanon shared his experience inpromoting healthy elderly in Chachoengsao province, the practice should focus on preventing dementia and falling by using 4-Smart tools (Smart Walk, Smart Brain, Smart Sleep, Smart Eat). For dependence elderly group, the practice should be focused on Primary Care Cluster, Care Manager and Care Giver capacity building. Tailor-made intervention for individual elderly and local authority collaboration are needed. Mr. Niwat Katsawat discussed on Policy Implementation that the key to success is Community Leader. With government, private sector and civil society collaboration to solve problems in holistic approach which including economic and social intervention. High potential and healthy Village Health Volunteers are needed to communicate, share nutritionknowledge and look after the elderly.

Area of Discussions : Nutrition education for elderly and Implementation on elderly health promotion in provincial and community level. Key messages of session :Assoc. Prof. Dr. Prapaisri Sirichakwal presentation

on healthy food guidelines which provide nutrition education in 2 parts as follows:

1. Quality : According to “Food Based Dietary Guidelines for Good Health in Elderly” or “9 Rules of Dietary Intake”, elderly people should 1) eat variety of food from all five food groups and maintain proper weight 2) eat adequate amounts, especially brown rice 3) eat plenty of vegetables and fruits regularly 4) eat fish, lean meat, eggs, bean regularly 5) drink milk and dairy product everyday 6) avoid high sugar, fat and salt intake. 7) drink clean water adequately and avoid sweet beverage 8) eat clean and safe food 9) avoid or reduce alcoholic beverage intake

2. Quantity : According to Optifood programme, Nutrition Flag for elderly in 3 levels based on

Panelists:Assoc. Prof. Dr. Prapaisri Sirichakwal, Institute of NutritionDr. Apirat Katanyutanon MD, Provincial Deputy Chief Medical officerMr. Niwat Katsawat, Mayor of Klong Saensaep SubdistrictModerator:Dr. Napaphan Viriyautsahakul, Director of Bureau of Nutrition