rood map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า •...

32
คํานํา จากการเบนเข็มทิศทางการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานขององคการอนามัยโลก ที่ตองการใหการพัฒนา สุขภาพเปลี่ยนจากการใหบริการสุขภาพอยางเดียว ไปสูการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน โดยใหประชาชน ลุกขึ้นมาดูแลสุขภาพตนเอง เขามามีสวนรวม และมีการกําหนดมาตรการทางสังคม ในการพัฒนาสุขภาพ ของชุมชนใหมีความยั่งยืนและพึ่งตนเองได ประกอบกับนโยบายการยกระดับสถานีอนามัยใหเปนโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบล ( รพ. สต.) โดยเริ่มนํารองใน 2552 จํานวน 1,001 แหง และเพิ่มเปน 5,500 แหง ในป 2553 และจะขยายยกระดับใหครบ ทั้ง 9,768 แหง ในป 2554 ซึ่งลวนแตเปนกระแสการพัฒนา การสรางสุขภาพ ที่ไปในทิศทางเดียวกัน เนื่องจากการดําเนินงาน รพ . สต . มีองคกรที่รวมดําเนินการหลายหนวยงาน นับตั้งแต กระทรวง สาธารณสุข สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เพื่อใหเกิดการบูรณาการในการบริหารจัดการ กรมสนับสนุน บริการสุขภาพ ในฐานะเปนกรมวิชาการที่ดูแลการพัฒนาศักยภาพ อสม. การมีสวนรวมของภาคประชาชน และ ทองถิ่น จึงไดพิจารณาจัดทําแนวทางการดําเนินงานตามรายละเอียดในเอกสารฉบับนี้เพื่อใหผูเกี่ยวของทุกระดับ ใชเปนเครื่องมือการทํางานในพื้นทีทั้งนี้โดยใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรเปนเครื่องมือสําคัญที่กอใหเกิดการ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนสูกระบวนการสรางสุขภาพเชิงรุก กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พฤษภาคม .. 2553

Upload: others

Post on 07-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

คํานํา จากการเบนเข็มทิศทางการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานขององคการอนามัยโลก ท่ีตองการใหการพัฒนาสุขภาพเปล่ียนจากการใหบริการสุขภาพอยางเดียว ไปสูการพัฒนาบทบาทภาคประชาชน โดยใหประชาชน ลุกข้ึนมาดูแลสุขภาพตนเอง เขามามีสวนรวม และมีการกําหนดมาตรการทางสังคม ในการพัฒนาสุขภาพ ของชุมชนใหมีความยั่งยืนและพึ่งตนเองได ประกอบกับนโยบายการยกระดับสถานีอนามัยใหเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) โดยเร่ิมนํารองใน ป 2552 จํานวน 1,001 แหง และเพ่ิมเปน 5,500 แหง ในป 2553 และจะขยายยกระดับใหครบ ท้ัง 9,768 แหง ในป 2554 ซ่ึงลวนแตเปนกระแสการพัฒนา การสรางสุขภาพท่ีไปในทิศทางเดียวกัน เนื่องจากการดําเนินงาน รพ.สต. มีองคกรท่ีรวมดําเนินการหลายหนวยงาน นับต้ังแต กระทรวงสาธารณสุข สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ(สสส.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เพื่อใหเกิดการบูรณาการในการบริหารจัดการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ในฐานะเปนกรมวิชาการที่ดูแลการพัฒนาศักยภาพ อสม. การมีสวนรวมของภาคประชาชน และทองถ่ิน จึงไดพิจารณาจัดทําแนวทางการดําเนินงานตามรายละเอียดในเอกสารฉบับนี้เพ่ือใหผูเกี่ยวของทุกระดับใชเปนเคร่ืองมือการทํางานในพ้ืนท่ี ท้ังนี้โดยใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรเปนเครื่องมือสําคัญท่ีกอใหเกิดการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนสูกระบวนการสรางสุขภาพเชิงรุก

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พฤษภาคม พ.ศ. 2553

Page 2: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

สารบัญ

หนา

ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 3 • ลักษณะโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 4 • วัตถุประสงค 4 •

• ตัวชี้วัด 4

• เปาหมายการดําเนินงาน 5

• ผลลัพธ 5

กลยุทธในการดําเนินงาน 5 • ผังทางเดิน (Road Map) 6 • บทบาท/หนาท่ีหนวยงาน/ องคกรตางๆเพ่ือพัฒนาทีมโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 7 • *บทบาทของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 7 *บทบาทของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร 7 *บทบาทของสํานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสขุ 7 *บทบาทของกรม/กองวิชาการ 8 *บทบาทของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาต ิ 8 *บทบาทของหนวยงานระดบัเขต จังหวัด อําเภอ ตําบล 8 ความหมายคําสําคัญ 11 •

• ภาคผนวก

2

Page 3: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

แนวทางการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล สูแผนสุขภาพชุมชน ปงบประมาณ 2553

1. ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี นายอภิ สิทธ์ิ เวชชาชีวะ ไดแถลงนโยบายตอรัฐสภาเ ม่ือวันจันทร ท่ี 29 ธันวาคม 2551 วาในสวนของนโยบายดานสาธารณสุข รัฐบาลมุงเนนในการปรับปรุงระบบบริการสาธารณสุขใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพท่ีดียิ่งข้ึน โดยการยกระดับสถานีอนามัยเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) และสงเสริมบทบาทของทองถ่ินใหเขามารวมผลิตบุคลากรสาธารณสุข เพื่อกลับไปทํางานในทองถ่ิน รวมถึงการพัฒนาบทบาท อสม. ใหมีศักยภาพมากยิ่งข้ึน นโยบายดานสาธารณสุขดังกลาว ไดรับการขานรับจากผูคนในแวดวงสุขภาพอยางกวางขวาง โดยเฉพาะนักวิชาการ นักวิจัย ตลอดจนผูปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน สถานีอนามัย เพราะเห็นวาการพัฒนา รพ.สต. เปนยุทธศาสตรท่ีสําคัญในการปฏิรูประบบสุขภาพท่ีเปล่ียนจากเนนงานรักษาพยาบาลแบบตัง้รับ มาเปนการดําเนินงานเชิงรุกโดยเนนการสงเสริมใหมีการสรางสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน โดยถือหลักท่ี วา “สุขภาพดี สังคมดี ไมมีขาย อยากไดตองรวมกันสราง” ซ่ึงจะมีผลทําใหระบบบริการสุขภาพในภาพรวมมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ลดปริมาณผูปวยท่ีไปใชบริการโรงพยาบาลขนาดใหญลง ลดภาระคาใชจายของประชาชน อีกท้ังเปนการประหยัดงบประมาณของชาติในระยะยาว ท่ีสําคัญคือ ลดทุกขภาวะของบุคคล ครอบครัว และชุมชนอยางเห็นเปนรูปธรรม

ในการดําเนินงานดังกลาวขางตน ปงบประมาณ 2553 ซ่ึงถือวาเปนปแหงการเร่ิมตนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล อยางจริงจัง กระทรวงสาธารณสุขใหความสําคัญกับการสงเสริมใหเกิดความเขมแข็งของชุมชนและทองถ่ิน ท่ีมุงสูการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนดวยการใชแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร ( Strategic Route Map ) เปนเคร่ืองมือในการบริหาร การเปล่ียนแปลง พรอมท้ังใหมีการพัฒนากลไกการทํางานทุกระดับใหเกิดการบูรณาการ ตั้งแตระดับ กระทรวงสาธารณสุข จังหวัด อําเภอ ตําบล ไปถึงภาคีตางๆ ท่ีเกี่ยวของในทองถ่ิน เชน อสม. ผูนําชุมชน ผูนําทองถ่ิน โดยมีการสรางแผนสุขภาพชุมชน เปนกระบวนการท่ีเช่ือมโยง ในรูปแบบคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. และนอกจากน้ียังสงเสริมใหเกิดกระบวนการเรียนรูรวมกันในรูปแบบของโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนท่ี เปนแหลงนํารองของการเรียนรูอยางตอเนื่อง

3

Page 4: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

4

2. ลักษณะโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 2.1 มุงเนนการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค โดยมีพื้นท่ีรับผิดชอบ (catchments area) ในระดับตําบล และมีเครือขายรวมกับสถานีอนามัยและหนวยบริการสุขภาพอ่ืนในตําบลขางเคียง (cluster) 2.2 เนนการใหบริการแบบเชิงรุก ท่ีมีความยืดหยุนและสอดคลองกับบริบทความพรอม/ศักยภาพของชุมชน 2.3 บุคลากรมีความรูและทักษะแบบสหสาขาวิชาชีพ (skill mix) และมีการทํางานเปนทีม ( team work) 2.4 มีการใหบริการสุขภาพท่ีมีความเชื่อมโยงกับบริการสุขภาพในระดับอ่ืนท่ีสูงกวา โดยสามารถสงตอผูปวยไดตลอด 24 ช่ัวโมง 2.5 มีการปฏิรูประบบการบริหารจัดการ โดยเนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนท้ังภาคราชการ เอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และภาคประชาชนในรูปแบบคณะกรรมการบริหาร รพ.สต.

3. วัตถุประสงค เพ่ือบูรณาการการบริหารจัดการรวมกันขององคกรตางๆ ท่ีมีบทบาทรวมกันในการพัฒนาโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบล

4. ตัวชี้วัด

4.1 เชิงปริมาณ 4.1.1 จํานวน อสม. ท่ีไดรับการอบรมฟนฟูเชิงปฏิบัติการในกระบวนการเรียนรูแผนสุขภาพชุมชน 100,000 คน ในพื้นท่ี รพ.สต. และสถานีอนามัย 9,768 แหง 4.1.2 จํานวนแผนสุขภาพชุมชนท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนรูอยางมีสวนรวมของภาคประชาชน ไดแก อสม. ผูนําทองถ่ิน ผูนําชุมชน ในพื้นท่ี รพ.สต. และสถานีอนามัย 9,768 แหง

4.1.3 จํานวนศูนยการเรียนรูนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตนแบบของพื้นท่ี รพ.สต. เพื่อพัฒนาใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดในระยะยาว ไดแก โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน หรือโรงเรียน อสม. (จังหวัดละ 3 แหง) 225 แหง

4.2 เชิงคุณภาพ 4.2.1 รอยละ 10 ของพ้ืนท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลท่ีมีการพัฒนาเปนพื้นท่ีตนแบบ ท่ีสามารถ

เปดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนและแลกเปล่ียนเรียนรูกับพื้นท่ีอ่ืนได 4.2.2 รอยละ 60 ของพ้ืนท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล มีและใชแผนสุขภาพชุมชน ท่ีมุงสูการ

ปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม

Page 5: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

5

4.2.3 รอยละ 20 ของพื้นท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล มีการกําหนดแนวทางการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. อาทิ การใชงบประมาณ การวางแผนเพื่อแกปญหาเชิงรุก และแนวทางการใหบริการ 5. เปาหมายการดําเนินงาน

5.1 มีการพัฒนา รพ.สต. และสถานีอนามัย ในการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน จํานวน 9,768 แหง

5.2 มีการพัฒนาศูนยการเรียนรูนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตนแบบจังหวดัละ 3 แหง

6. ผลลัพธของการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตาํบล คือ เกิดชมุชนเขมแขง็ดานสุขภาพ 6.1 มีแผนงาน/โครงการสุขภาพชุมชน 6.2 มีกิจกรรมการเรียนรูดานสุขภาพตามประเด็นปญหาและความตองการของประชาชน 6.3 เครือขายภาคประชาชนมีสวนรวมในการจัดการสุขภาพ ไดแก อปท. ผูนําชุมชน อสม. NGOs 6.4 ประชาชนมีความรู/ทักษะ ปรับเปล่ียนบทบาทและพฤติกรรมสุขภาพ

7. กลยุทธในการดําเนินงาน 7.1 พัฒนาทีมสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพแกนนําสุขภาพภาคประชาชนครอบคลุมทุกระดับ

โดยกระทรวงสาธารณสุขไดมีคําส่ังท่ี 903/2553 ลงวันท่ี 10 พฤษภาคม 2553 แตงต้ังคณะกรรมการอํานวยการ และคณะกรรมการดําเนินงานขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน เพื่อกําหนดนโยบาย แนวทาง และขับเคล่ือนการดําเนินงาน

7.2 พัฒนากลไกการดําเนินงานดานสุขภาพภาคประชาชนใหเปนระบบ ครอบคลุมทุกระดับต้ังแตสวนกลางและสวนภูมิภาค

7.3 พัฒนาศักยภาพแกนนําอสม. ในพื้นท่ีระดับ รพ.สต. และสถานีอนามัยทุกแหง อยางนอยแหงละ 10 คน 7.4 สรางและขยายเครือขายแกนนําสุขภาพภาคประชาชนในพ้ืนท่ี 7.5 สงเสริมใหแกนนําสุขภาพภาคประชาชนมีสวนรวมในการจัดทําแผนสุขภาพชุมชนโดยใชแผนท่ี

ทางเดินยุทธศาสตรเปนเคร่ืองมือในการดําเนินงาน 7.6 สงเสริมใหมีการพัฒนาองคความรูดานพฤติกรรมสุขภาพท่ีสอดคลองกับวิถีชีวิตสุขภาพของชุมชน

ดวยชุมชนเอง

Page 6: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

6

8. ผังทางเดิน (Road Map) 8.1 จัดทําคําส่ังกระทรวงสาธารณสุขแตงต้ังคณะกรรมการอํานวยการและ คณะกรรมการดําเนินงานขับเคล่ือน

และบริหารแผนสุขภาพชุมชน และจัดประชุมคณะกรรมการฯ พรอมแกนนําระดับเขตและระดับจังหวัด ในวันท่ี 14 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมมิราเคิล กรุงเทพฯ

8.2 จัดอบรมวิทยากรระดับเขต ซ่ึงมีผูแทนจากสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด และศูนยวชิาการตางๆ ภาคเหนือ วนัท่ี 17 – 18 พฤษภาคม 2553 ณ สะเมิงรีสอรท จ. เชียงใหม

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วนัท่ี 20 – 21 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมแกนอินน จ.ขอนแกน ภาคใต วนัท่ี 24 – 25 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมภูเก็ตเมอรลิน จ. ภูเกต็ ภาคกลาง จํานวน 2 รุน

คร้ังท่ี 1 วันท่ี 2 – 3 มิถุนายน 2553 ณ สะเมิงรีสอรท จ. เชียงใหม คร้ังท่ี 2 วันท่ี 4 – 5 มิถุนายน 2553 ณ สะเมิงรีสอรท จ. เชียงใหม

8.3 จัดประชุมแถลงขาวเปดตัวโครงการการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล สูแผนสุขภาพชุมชน พรอมการจัดนิทรรศการของพื้นท่ีตนแบบ 4 ภาค ในวันท่ี 1 มิถุนายน 2553 ณ กทม.

8.4 จัดอบรมวิทยากรจังหวัด / อําเภอ และแกนนํา อสม.จํานวน 100,000 คนท้ังใน รพ.สต.และสถานีอนามัย ท่ัวประเทศโดยสํานักงานสาธารณสุขเขตและทีมวิทยากรเขต ในชวงเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนมิถุนายน 2553

8.5 จัดทําแผนสุขภาพชุมชนของ รพ.สต. โดยการสนับสนุนของสํานักงานสาธารณสุขเขตและทีมวิทยากรจังหวดั / อําเภอ ในชวงเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนกรกฎาคม 2553

8.6 ผูบริหารระดับสูง ตรวจเยีย่มกิจกรรมการอบรมและการดาํเนินงานโครงการพัฒนา รพ.สต. ในชวงเดอืน พฤษภาคม ถึง เดือนกรกฎาคม 2553

8.8 คัดเลือก รพ.สต.ตนแบบหรือโรงเรียน นวตักรรมสุขภาพชุมชน หรือโรงเรียน อสม.และดําเนินการแลกเปล่ียนเรียนรูกับ รพ.สต.หรือสถานีอนามัย ในชวงเดอืนมิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม

8.9 จัดประกวดนวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเดนระดับอําเภอ / จังหวดั / เขต / ภาค ในชวงเดอืนสิงหาคม ถึงเดือนตุลาคม

8.10 จัดประกวดนวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเดนระดับประเทศ ในเดือนพฤศจิกายน 8.11 จัดสัมมนาวิชาการระดบัชาติ เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู และสรุปบทเรียนการพัฒนา รพ.สต.สูแผนสุขภาพ ชุมชน ในเดือนธันวาคม

Page 7: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

7

9. บทบาท/หนาท่ีหนวยงาน/ องคกรตางๆเพื่อพัฒนาทีมโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ปงบประมาณ 2553 9.1 บทบาทของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

9.1.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการ โดยมีคณะกรรมการอํานวยการขับเคล่ือนและบริการแผนสุขภาพชุมชน รับผิดชอบในการอํานวยการและสนับสนุนดําเนินงาน 9.1.2 พัฒนาระบบการดําเนินงาน การประสานงาน โดยมีคณะกรรมการดําเนินงานขับเคล่ือนและบริการแผนสุขภาพชุมชน 9.1.3 พัฒนาระบบขอมูล ขาวสารเกี่ยวกับการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) สูแผน สุขภาพชุมชนและนวัตกรรมสุขภาพชุมชนท้ังดานวิชาการ การส่ือสารและการบริหารจัดการ 9.1.4พัฒนาแนวทาง/ หลักสูตร/ คูมือในการดําเนินงานสําหรับเจาหนาท่ีสาธารณสุขและอสม. 9.1.5 จัดการอบรมทีมวิทยากรระดับเขต (Training for Trainer) 9.1.6 สนับสนุนส่ือในการดําเนินงาน 9.1.7 จัดระบบส่ือสาร การทํางานการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) ตลอดจนเผยแพรผลงานรพ.สต.ตนแบบ หรือโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน หรือโรงเรียน อสม. 9.1.8 พัฒนาระบบการติดตามผล และการควบคุมกํากับ รับทราบปญหา อุปสรรค และขอขัดของตางๆเพื่อการประสานงาน การแกไข 9.1.9 ประเมินผลการดําเนินงานและรายงานคณะกรรมการ อํานวยการขับเคล่ือนและบริการแผนสุขภาพชุมชน

9.2 บทบาทของสํานักนโยบายและยุทธศาสตร 9.2.1 เปนหนวยงานกลางบริหารจัดการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนา รพ.สต. ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน 9.2.2 ประสานงานและบูรณาการแผนปฏิบัติการท้ังภายในและภายนอกกระทรวง 9.2.3 พัฒนารูปแบบดานวิชาการ บุคลากร การเงินการคลังและกฎหมาย เพื่อใหการดําเนินงาน รพ.สต. ในภาพรวมท่ีมีประสิทธิภาพ

9.3 บทบาทของสํานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 9.3.1 อํานวยการ ประสาน สนับสนุนสรางทีมวิทยากรระดับเขต/จังหวัด/อําเภอ เพื่อใหการดําเนินงานโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลและแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร เปนไปตามวัตถุประสงค และเปาหมาย 9.3.2 ติดตาม กํากับ (Monitoring) แบบบูรณาการ โดยกําหนดใหมีการควบคุม กํากับ โครงการโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในการประชุมประจําเดือนของทุกระดับ

Page 8: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

8

9.3.3 ประเมินผล (Evaluation) 6 เดือน และ 12 เดือน ตามแบบการประเมินผลของสํานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 9.3.4 กําหนดตัวช้ีวัดและพัฒนาระบบขอมูลขาวสารที่เกี่ยวของในการตรวจราชการ 9.4 บทบาทของกรม/กองวิชาการ 9.4.1 สนับสนุนวิชาการ งบประมาณและทรัพยากร 9.4.2 คัดเลือกบุคลากรเพ่ือรวมทีมวิทยากรเขต 9.4.3 พัฒนาทีมวิทยากรและทีมงานของกรมดานการสรางและใชแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร 9.4.4 พัฒนามาตรฐานดานวิชาการในการสงเสริมการปองกันโรค 9.4.5 พัฒนาแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร ฉบับปฏิบัติการ (SLM) ใหสอดคลองกับปญหาสุขภาพรายประเด็น (8 ปญหา) 9.5 บทบาทของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

9.5.1 สนับสนุนการเพิ่มพนูทักษะและการพัฒนาศักยภาพทีมวิทยากรเขต วิทยากรจังหวัด ตลอดจนการงบประมาณ 9.5.2 สงเสริม สนับสนุน สํานักงานสาธารณสุขเขตใหสามารถปฏิบัติภารกิจไดตามบทบาทหนาท่ีท่ีไดรับมอบหมายไดอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ 9.5.3 การจัดระบบขอมูลและการส่ือสาร

9.6 บทบาทของหนวยงานระดับเขต จังหวัด อําเภอ ตําบล 9.6.1 ระดับเขต

สํานักงานสาธารณสุขเขต 1. พัฒนาระบบบริการจัดการ ใหมีองคกรรับผิดชอบในการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพ

ชุมชน อาจบูรณาการเขากับ คปสข. และใหมีภาคประชาชนเขามามีสวนรวม 2. พัฒนาระบบการประสานงาน การสนับสนุนการเนินงานในพ้ืนท่ี 3. พัฒนาระบบขอมูล ขาวสารนวัตกรรมสุขภาพชุมชน 4. พัฒนาระบบการส่ือสาร สรางความเขาใจและความเช่ือม่ันในศักยภาพและพลังของชุมชน

สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติเขต 1. สนับสนุนการจัดการและงบประมาณเพ่ิมพูนทักษะและการพัฒนาศักยภาพทีมวิทยากรเขต

2. สงเสริม สนับสนุนใหมีทีมวทิยากรเขต ใหสามารถปฏิบัติภารกิจไดตามบทบาทหนาท่ีท่ี

ไดรับมอบหมายไดอยางตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ

3. วางแผนกําหนดเปาหมายการสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทีมวิทยากรเขตและกองทุน

ตนแบบที่จะพัฒนาเปนโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน หรือโรงเรียน อสม.

Page 9: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

9

ทีมวิทยากรเขต

1. พัฒนาทีมวิทยากรจังหวัด และจัดใหมีการฝกปฏิบัติจริงในพื้นท่ี จังหวดัละ 3 คร้ัง

2. เปนพี่เล้ียง ใหคําปรึกษา แนะนํา ทีมวิทยากรจังหวัด

9.6.2 ระดับจังหวัด 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใหมีองคกรรับผิดชอบในการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพ

ชุมชน อาจบูรณาการเขากับคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลของจังหวัด (กวป.) และใหมีภาคประชาชนเขามามีสวนรวม

2. สรรหาแกนนาํเพื่อเขารับการเขารับการอบรมเปนทีมวทิยากรเขต

3. คัดเลือกสงเสริม และสนับสนุนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลตนแบบเพื่อโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน หรือโรงเรียน อสม.สําหรับเปนพื้นท่ีแลกเปล่ียนเรียนรูของจังหวัด อําเภอละ 1แหง

4. สนับสนุนการดําเนินงานของพ้ืนที่ 5. ติดตาม ควบคุมกํากับและประสานงานการแกไขปญหา 6. ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานตามระบบท่ีกําหนด

9.6.3 ระดับอําเภอ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใหมีองคกรหลักรับผิดชอบในการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพ

ชุมชนอาจบูรณาการเขากับคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลของอําเภอ (คปสอ.) และใหมีภาคประชาชนเขามามีสวนรวม

2. สรรหาแกนนาํเพื่อเขารับการเขารับการอบรมเปนทีมวทิยากรจังหวดั

3. รวมกับจังหวดัในการคัดเลือก และสงเสริม สนับสนุน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลตนแบบ

สําหรับเปนพืน้ท่ีแลกเปล่ียนเรียนรูของจงัหวัด / อําเภออยางนอย อําเภอละ 1 แหง

4. สนับสนุนงบประมาณและวิชาการ การดาํเนินงานของพื้นท่ี

5. ติดตาม ควบคุมกํากับและประสานงานการแกไขปญหา

6. ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานตามระบบท่ีกําหนด

9.6.4 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในกรณีเปนพื้นท่ีตนแบบ 1. แตงตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชนระดับตําบลประกอบดวย เจาหนาท่ี

สาธารณสุข อสม. แกนนําภาคีเครือขายสุขภาพ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตําบล

2. สรรหาแกนนาํเพื่อเขารับการเขารับการอบรมเปนทีมวทิยากรอําเภอ

Page 10: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

10

3. จัดอบรมฟนฟคูวามรู แกนนาํอสม.อยางนอย 10 คน ตามหลักสูตรของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

ป2553

4. แกนนํา อสม.ประสาน เช่ือมตอการดําเนินงานรวมกับภาคีเครือขายสุขภาพตําบล ผลักดันใหเกิด

แผนสุขภาพชุมชน

5. จัดทําแผนสุขภาพชุมชนโดยใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรเปนเคร่ืองมือเพื่อแกปญหาสาธารณสุข

ของพ้ืนท่ีท่ีสอดคลองกับอําเภอและจังหวัดอยางนอย 3 เร่ืองจาก 8 ประเด็น

6. ปฏิบัติการตามแผนปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ตามแผนสุขภาพชุมชน ท่ีไดจัดทําไว

7. ขยายเครือขาย การจัดทําแผนสุขภาพชุมชนใหกับพื้นท่ี รพ.สต.และสถานีอนามัยอ่ืนๆท่ีไมได

เปนพื้นท่ีตนแบบ

8. ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานตามระบบท่ีกําหนด ในกรณีเปนพื้นท่ีดําเนินงานรพ.สต.ปกติ หรือสถานีอนามัย 1. แตงต้ังคณะกรรมการขับเคลื่อนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน ระดับตําบลประกอบดวย เจาหนาท่ี

สาธารณสุข อสม. แกนนําภาคีเครือขายสุขภาพ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตําบล

2. จัดอบรมฟนฟูความรู แกนนําอสม.อยางนอย 10 คน ตามหลักสูตรของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ป 2553

3. แกนนํา อสม.ประสาน เช่ือมตอการดําเนินงานรวมกับภาคีเครือขายสุขภาพตําบล ผลักดันใหเกิด

แผนสุขภาพชุมชนระดับตําบล

4. จัดทําแผนสุขภาพชุมชนระดับตําบล เพื่อแกปญหาสาธารณสุขของพื้นท่ีท่ีสอดคลองกับอําเภอและ

จังหวัด อยางนอย 3 เร่ือง จาก 8 ประเด็น โดยอาจใช แผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร AIC PLA หรืออ่ืนๆ

เปนเคร่ืองมือตามความเหมาะสม

5. ปฏิบัติการตามแผนปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ ตามแผนสุขภาพชุมชนท่ีไดจัดทําไว

6. ดําเนินการแลกเปล่ียนเรียนรู กับพื้นท่ีตนแบบ

7. วางแผนพัฒนาใหเปนพื้นท่ีตนแบบ

8. ประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงานตามระบบท่ีกําหนด

....................................................................................................................

Page 11: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

ความหมายคําสําคัญ

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร (Strategic Route Map:SRM) คือ “เคร่ืองมือที่จะนําไปสู

กระบวนการเชื่อมโยงการบริหารจัดการยุทธศาสตรหรือสิ่งที่ตองการเปลี่ยนแปลง ตามสถานการณ

หรือสภาพแวดลอมในขณะนั้นๆ ใหเกิดการเสริมพลังการพัฒนาไปในทิศทางและจุดหมายเดียวกัน

อีกทั้ง สามารถติดตามความกาวหนาไดอยางเปนระบบและเกิดการสื่อสาร สรางความความใจ

รวมกันระหวางผูที่เก่ียวของทั้งหมด” (หรืออาจกลาวสั้นๆ ไดวา “แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร คือ แผน

บริหารการเปลี่ยนแปลงสู ความสําเร็จ”) แผนสุขภาพชุมชน (Community Health Plan)

“แผนสุขภาพชุมชน” หมายถึง การกําหนดอนาคตและกิจกรรมพัฒนาดานสุขภาพของ

ชุมชนโดยเกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่มีการรวมตัวกันจัดทําแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการ

พัฒนาระบบสุขภาพของชุมชนหรือทองถ่ินของตน ใหเปนไปตามที่ตองการ และสามารถแกปญหาที่

ชุมชนเผชิญอยูรวมกัน โดยคนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนดแนวทาง และทํา

กิจกรรมการพัฒนา

โดยหัวใจของแผนสุขภาพชุมชนเนนกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชน โดยชุมชนตอง

รวมกันคิด รวมกันคนหา รวมกันเรียนรู ชุมชนตองคนหาปญหาตนเองใหพบและหาแนวทางสราง

ความรวมมือแกปญหารวมกัน ชุมชนควรรวมมือต้ังแตเร่ิมคิดแผนการลงมือปฏิบัติไป จนครบ

กระบวนการตอเนื่องตลอดไป ตามหลัก รวมคิด รวมทํา รวมรับผลประโยชน

มาตรการทางสังคม คือ “วิธีการหรือ กระบวนการ กฎ กติกา ที่มีการตกลงหรือมีพันธะที่จะถือ

ปฏิบัติรวมกันของชุมชน เพื่อนําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม”

โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน คือ “ชุมชนที่มีการนําวิธีคิด วิธีการปฏิบัติใหมๆ รวมทั้งสิ่ง

ที่มีอยูแลว นํามาปรับปรุงใหเกิดประสิทธิภาพสูงขึ้นและมีประโยชน ตอการสรางสุขภาพและปองกนั

โรค โดยมีการใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร เปนเคร่ืองมือในการพัฒนา จนเกิดผลสําเร็จ และ

11

Page 12: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

12

ทั้งนี้ การพัฒนาโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนใหเกิดขึ้นได จะตองรวมมือกันหลายกลุม/

องคกร เชน ชุมชน เปนฐานสําคัญและเปนผูสรางโครงการ(ชุมชน) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

และมาตรการทางสังคม อปท. ดําเนินการบริหารจัดการและสนับสนุนทรัพยากรในการดําเนินงาน

รวมทั้งสรางมาตรการทองถ่ิน หนวยงานสาธารณสุข และสถาบันวิชาการตางๆ สนับสนุนการ

สรางความรวมมือในการพัฒนา และสรางมาตรการทางวิชาการ ภาคีเครือขายตางๆ ในและ

นอกชุมชน รวมสนับสนุนและดําเนินงานอยางเขมแข็งและตอเนื่อง

โรงเรียน อสม. คือ “สถานที่ที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน มาแลกเปลี่ยน เรียนรู

ทักษะ วิธีการตางๆ และวางแผนในการปฏิบัติงานรวมกัน นับวาเปนกระบวนการที่สําคัญในการ

สรางแนวคิดและมุมมองใหม โดยไมใชรูปแบบของหองเรียน แตเนนเปนศูนยเรียนรู หรือ

ศูนยกลางการพบปะหารือกันและแลกเปลี่ยนเรียนรูของ อสม.และชุมชน เพื่อกระตุนให อสม.

ตื่นตัวตอการพัฒนา และพัฒนาศักยภาพของตนเอง โดยสามารถกําหนดหลักสูตรไดตามความ

สนใจของตนเองซึ่งสามารถวัดระดับความสําเร็จของโรงเรียน อสม. จากการสรางเสริมสุขภาพ

ชุมชน โดยเร่ิมจากการมีมุมมอง วิธีคิด และวิธีการทํางานแบบใหมรวมกับชุมชน และมีเปาหมาย

เปลี่ยนแปลงที่สําคัญ 3 ประการ คือ

1.การเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและสรางวิถีชีวิตที่ดีตอสุขภาพ

2.สรางสังคมสิ่งแวดลอมใหมีคุณภาพดีขึ้น

3.การปกปองสิทธิผูบริโภคของคนในชุมชน

แกนนําการสรางสุขภาพ ผูที่มีภาวะผูนํา กลาคิด กลาทํา มีจิตใจอาสา ไดรับการยอมรับ

จากชุมชน มีทักษะในการที่จะนําหรือชักชวน ชุมชน สรางทัศนะเพ่ือสรางสุขภาพและหันมาปรับ

พฤติกรรมที่สรางสุขภาพดวยตนเอง อาทิ การออกกําลังกาย การรับประทานอาหารที่มีประโยชน

ละ ลด เลิก การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล เปนตน

Page 13: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

13

แกนนําการเฝาระวังโรค ผูที่มีภาวะผูนํา กลาคิด กลาทํา มีจิตใจอาสา ไดรับการยอมรับจาก

ชุมชน มีทักษะในการตรวจสอบการเกิดโรค หรือขอมูลในชุมชน อยางใกลชิดและตอเนื่องในทุก

ดาน ทั้งนี้เพื่อปองกัน ควบคุมการระบาดของโรคในชุมชน รวมทั้ง ยังไดสื่อสาร ชักชวน ชุมชน เพื่อ

การเฝาระวังโรคในชุมชน รวมกัน

แผนสุขภาพชุมชน (Community Health Plan) “แผนสุขภาพชุมชน” หมายถึง การกําหนดอนาคตและกิจกรรมพัฒนาดานสุขภาพของชุมชน

โดยเกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่มีการรวมตัวกันจัดทําแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา

ระบบสุขภาพของชุมชนหรือทองถ่ินของตน ใหเปนไปตามที่ตองการ และสามารถแกปญหาที่ชุมชน

เผชิญอยูรวมกัน โดยคนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนดแนวทาง และทํา กิจกรรมการพัฒนา

โดยหัวใจของแผนสุขภาพชุมชนเนนกระบวนการเรียนรูของคนในชุมชน โดยชุมชนตอง

รวมกันคิด รวมกันคนหา รวมกันเรียนรู ชุมชนตองคนหาปญหาตนเองใหพบและหาแนวทางสราง

ความรวมมือแกปญหารวมกัน ชุมชนควรรวมมือต้ังแตเร่ิมคิดแผนการลงมือปฏิบัติไป จนครบ

กระบวนการตอเนื่องตลอดไป ตามหลัก รวมคิด รวมทํา รวมรับผลประโยชน

นวัตกรรมสุขภาพ หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหมๆ ที่ยังไมเคยมีใชมากอน หรือเปนการ

พัฒนาคัดแปลงมาจากของเดิมที่มีอยูแลวใหทันสมัยและใชไดผลดียิ่งขึ้น เม่ือนํา นวัตกรรมมาใชจะ

ชวยใหการดูแลสงเสริมสุขภาพผูปวย หรือบุคลากรนั้นไดผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูง

กวาเดิม ทั้งยังชวยประหยัดเวลาและแรงงานไดดวย

นวัตกรรม แบงออกเปน 3 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 มีการประดิษฐคิดคน (Innovation) หรือเปนการปรุงแตงของเกาใหเหมาะสมกับ

กาลสมัย

ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหลงทดลองจัดทําอยูในลักษณะ

ของโครงการทดลองปฏิบัติกอน (Pilot Project)

ระยะที่ 3 การนําเอาไปปฏิบัติในสถานการณทั่วไป ซึ่งจัดวาเปนนวัตกรรมขั้นสมบูรณ

Page 14: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

โครงการพฒันาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ป 2553 ....................................................

1. เหตุผลและความเปนมา จากนโยบายการพัฒนาประเทศ ขอ 3.3.3 ใหมีการปรับปรุงระบบบริการดานสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของภาครัฐในทุกระดับใหไดมาตรฐาน ยกระดับสถานีอนามัยเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) และพัฒนาระบบเครือขายการสงตอในทุกระดับ ใหมีประสิทธิภาพ ท่ีสามารถเช่ือมโยงกันท้ังภาครัฐและเอกชน เพื่อใหระบบหลักประกันสุขภาพ มีคุณภาพอยางเพียงพอและท่ัวถึง มีทางเลือกหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงรัฐบาลไดสนับสนุนงบประมาณในโครงการไทยเขมแข็ง มาสมทบงบประมาณของกระทรวงสาธารณสุข องคกรปกครองสวนทองถ่ิน สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) และสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) โดยเร่ิมนํารองกอน 1,001 แหง ในป 2552 และจะขยายยกระดับใหครบท้ัง 9,768 แหง ท่ัวประเทศในป 2554

ความจําเปนในการปรับกระบวนทัศนของการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ไปสูทิศทางการบริการเชิงรุกท่ีมากข้ึน จึงเปนภารกิจหลักท่ีกระทรวงสาธารณสุขตองเรงดําเนินการ เนื่องจากท่ีผานมาสวนใหญเปนการใหบริการเพื่อการซอมสุขภาพ (รักษาพยาบาล) มากกวาบริการ เพื่อการสรางสุขภาพ การทํางานเชิงรุก จึงหมายถึง การทํางานท่ีมีการวางแผนงานเพ่ือปองกันปญหาหรือลดความรุนแรงของปญหา สามารถคาดการณส่ิงท่ีจะเกิดข้ึนลวงหนาไดดวยขอมูลท่ีมีอยูและพรอมตอบสนองความตองการท่ีเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว มุงเนนท่ีความรู ทัศนคติและการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพในท่ีสุด ดวยการใชกลยุทธ เทคนิค องคความรูและเทคโนโลยีตางๆอยางเหมาะสม (ซ่ึงมิใชการทํางานแบบท่ีปฏิบัติกันมาในอดีต หรือเขาใจตามความหมายเดิม ) ส่ิงท่ีประชาชนตองเปล่ียนแปลงคือ กระบวนทัศนดานสุขภาพ การดูแลสุขภาพใหเกิด ความเปนเจาของระบบสุขภาพ โดยตองเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการ ซ่ึงถือไดวาเปนสวนสําคัญของการปฏิรูประบบสุขภาพ ส่ิงท่ีตามมาคือ มาตรการทางสังคมจะเกิดข้ึน ยกตัวอยางเชน การกําหนดเวลาการทํางานของรพ.สต. รูปแบบและข้ันตอนการบริการ การมีสวนรวมของประชาชนในการกําหนดแผนงานและงบประมาณการสนับสนุนขององคกรปกครองสวนทองถ่ินซ่ึงจะทําใหเกิดแผนสุขภาพชุมชนที่ เปนจ ริ งและ เชื่ อมโยงกับกองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับ ตํ าบล และ ท่ี สํ า คัญองค ก รปกครองส วนท อ ง ถ่ินจะต อ งนํ า ไปดํ า เนิ นก ารอย า ง เป น รูปธรรม เพราะเปนความตองการของประชาชนท่ีไดสะทอนผานเวทีประชาคมของชุมชน

ในการดําเนินงานดังกลาวขางตน ปงบประมาณ 2553 กระทรวงสาธารณสุขใหความสําคัญ กับการสราง พัฒนา และการบริหารจัดการนวัตกรรมสุขภาพชุมชน โดยสงเสริมใหเกิดชุมชนเขมแข็ง ท่ี มุ ง สู ก ารป รับ เป ล่ียนพฤติ กรรมของประชาชนด วยการใช แผน ท่ีทาง เดินยุทธศาสตร (Strategic Route Map) เปนเคร่ืองมือในการบริหารการเปล่ียนแปลง พรอมท้ังใหมีการพัฒนากลไก การทํางานในทุกระดับ ตั้งแตระดับกระทรวง จังหวัด ไปจนถึง ทองถ่ิน ท้ังนี้โดยใหมีการเช่ือมโยงการ

Page 15: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

2ทํางานกับองคกรภาคีตางๆท่ีเกี่ยวของในพ้ืนท่ีอาทิ เชน อสม. ผูนําชุมชน ผูนําทองถ่ิน และมีหัวใจของความสําเร็จอยูท่ีการพัฒนาคน เร่ิมตนดวยกระบวนการสรางการเรียนรู การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในพื้นท่ี เขต จังหวัด อําเภอ ตลอดจน อสม. ที่เปนแกนนําใน รพ.สต. ใหนําไปสู การขับเคล่ือน “แผนสุขภาพชุมชน” ในรูปแบบคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. ภาคประชาชน

ดังนั้น หากพัฒนาสถานีอนามัยใหเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ท่ีเขมแข็งสามารถใหบริการเชิงรุกครอบคลุมท้ังการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค จะทําใหเกิดเครือขายความรวมมือภาคประชาชนในการดูแลพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกตอง ลดการเจ็บปวยดวยโรคท่ีสามารถปองกัน ไดและยังสนองตอบตอความตองการของประชาชนจะทําใหลดคาใชจายของประชาชนในการเดินทางไปรักษาพยาบาลได และท่ีสําคัญยังสงผลใหภาระรายจายงบประมาณดานสุขภาพของรัฐบาลลดลง ไดในระยะยาว

2. ลักษณะโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 2.1 มุงเนนการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค โดยมีพื้นท่ีรับผิดชอบ (catchment area) ในระดับตําบล และมีเครือขายรวมกับสถานีอนามัยและหนวยบริการสุขภาพอ่ืนในตําบลขางเคียง (cluster) 2.2 เนนการใหบริการแบบเชิงรุก ท่ีมีความยืดหยุนและสอดคลองกับบริบทความพรอม/ศักยภาพของชุมชน 2.3 บุคลากรมีความรูและทักษะแบบสหสาขาวิชาชีพ (skill mix) และมีการทํางานเปนทีม ( team work) 2.4 มีการใหบริการสุขภาพท่ีมีความเชื่อมโยงกับบริการสุขภาพในระดับอ่ืนท่ีสูงกวา โดยสามารถสงตอผูปวยไดตลอด 24 ช่ัวโมง 2.5 มีการปฏิรูประบบการบริหารจัดการ โดยเนนการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนท้ังภาคราชการ เอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และภาคประชาชนในรูปแบบคณะกรรมการบริหาร รพ.สต.

3. วัตถุประสงค 3.1 เพื่อใหโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีคุณภาพดาน การสงเสริมสุขภาพเชิงรุก 3.2 เพื่อใหเครือขายสุขภาพทุกระดับมีสวนรวมในการบริหารจัดการแผนสุขภาพชุมชน ท่ีมุงสูการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม 3.3 เพื่อใหแกนนํา อสม. มีศักยภาพในกระบวนการเรียนรูแผนสุขภาพชุมชน 3.4 เพื่อใหเจาหนาท่ีและเครือขายสุขภาพมีศักยภาพในการจัดการเรียนรูการดูแลสุขภาพ ดวยตนเองของชุมชนเพื่อการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค

Page 16: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

34. ตัวชี้วัด 4.1 เชิงปริมาณ 4.1.1 จํานวน อสม. ท่ีไดรับการอบรมฟนฟูเชิงปฏิบัติการในกระบวนการเรียนรูแผนสุขภาพชุมชน 100,000 คน ในพืน้ท่ี รพ.สต. และสถานีอนามัย 9,768 แหง 4.1.2 จํานวนแผนสุขภาพชุมชนท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนรูอยางมีสวนรวมของภาคประชาชน ไดแก อสม. ผูนําทองถ่ิน ผูนําชุมชน ในพ้ืนท่ี รพ.สต. และสถานีอนามัย 9,768 แหง

4.1.3 จํานวนศูนยการเรียนรูนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตนแบบของพ้ืนท่ี รพ.สต. เพ่ือพัฒนาใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดในระยะยาว ไดแก โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน หรือโรงเรียน อสม. (จังหวัดละ 3 แหง) 225 แหง 4.2 เชิงคุณภาพ

4.2.1 รอยละ 10 ของพื้นท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลที่มีการพัฒนาเปนพื้นท่ีตนแบบ ท่ีสามารถเปดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนและแลกเปล่ียนเรียนรูกับพื้นท่ีอ่ืนได

4.2.2 รอยละ 60 ของพ้ืนท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล มีและใชแผนสุขภาพชุมชน ท่ีมุงสูการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม 4.2.3 รอยละ 20 ของพื้นท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล มีการกําหนดแนวทางการบริหารจัดการโดยคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. อาทิ การใชงบประมาณ การวางแผนเพ่ือแกปญหาเชิงรุก และแนวทางการใหบริการ 5. แนวทางการดําเนินงานโครงการ

5.1 การดําเนินการตอเนื่องจากการประกาศนโยบายรัฐบาล คือการปรับปรุงระบบบริการ ดานสาธารณสุขโดยเฉพาะการพัฒนาศักยภาพสถานีอนามัยใหเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) ท่ีเนนการดําเนินงานเชิงรุก มีระบบบริการอยางตอเนื่อง และมีสวนรวมจากชุมชน

5.2 การมุงเนนการมีสวนรวมและการบูรณาการความรวมมือของหนวยงานทุกระดับ ตลอดจนเนนใหรพ.สต. มีขีดความสามารถในการบริการสงเสริมสุขภาพเชิงรุก ดวยการมีสวนรวมอยางเขมแข็งของภาคประชาชน ชุมชน และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

5.3 การดําเนินการของหนวยงานในสวนกลางและพ้ืนท่ี จะเนนกิจกรรมการขับเคล่ือนนโยบายใหนําสูแผนสุขภาพชุมชนระดับตําบล ดวยกระบวนการพัฒนาศักยภาพเจาหนาท่ีและ อสม. การพัฒนาระบบการติดตาม กํากับ และประเมินผล การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูตลอดจนการหารูปแบบ/นวัตกรรมเพ่ือการแกไขปญหาสุขภาพของชุมชน

5.4 การแตงต้ังคณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการดําเนินการ และคณะทํางานขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชนตามความเหมาะสม

6. เปาหมายการดําเนินงาน 6.1 มีการพัฒนา รพ.สต. และสถานีอนามัย ในการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน

จํานวน 9,768 แหง 6.2 มีการพัฒนาศูนยการเรียนรูนวัตกรรมสุขภาพชุมชนตนแบบจังหวดัละ 3 แหง

Page 17: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

4 7. พื้นท่ีเปาหมาย

75 จังหวดั (ยกเวนกรุงเทพมหานคร)

8. กลยุทธ/มาตรการสนับสนุน 8.1 จัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูทุกระดับเพื่อการขับเคล่ือนนโยบายการดําเนินงาน

8.2 จัดทําปฏิทินกิจกรรมการดําเนินงานโครงการและประชาสัมพันธสรางกระแส 8.3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรและชุมชน

8.4 จัดทําแนวทาง / คูมือการปฏิบัติงาน 8.5 พัฒนาระบบการติดตาม กํากับและประเมินผล

8.6 พัฒนาระบบฐานขอมูลที่จําเปนเพื่อการพัฒนางาน 8.7 สงเสริมการประกวดนวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเดนระดับอําเภอ จังหวัด เขต ภาค และชาติ 8.8 จัดสัมมนาวิชาการระดับชาติเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรูและการขยายผลการดําเนินงานใน

ระยะตอไป

9. วิธีการดําเนินงานโครงการ 9 . 1 แต ง ต้ั งคณะกรรมการอํ านวยการ ขับ เค ล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน

ในพื้นท่ีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล 9 .2 จัดทําโครงการ แผนปฏิบัติการที่ บูรณาการรวมกับหนวยงานท่ีเกี่ ยวของท้ังใน

และนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และกําหนดผูรับผิดชอบ 9.3 จัดทําแนวทาง / คูมือการปฏิบัติงานเพื่อการสรางความรูและความเขาใจท่ีถูกตอง

ในการดําเนินงานโครงการ 9.4 ดําเนินกิจกรรมประชาสัมพันธ ตามปฏิทินกิจกรรมการดําเนินงานโครงการ 9 .5 จัดประชุมคณะกรรมการอํานวยการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน เพื่อการควบคุม กํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงาน 9 .6 จัดประชุมช้ีแจงแนวทางการดํา เนินงานโครงการแก ผูตรวจราชการกระทรวง นายแพทยสาธารณสุขจังหวัด และผูเกี่ยวของเพื่อการบูรณาการความรวมมือทุกระดับ 9.7 สนับสนุนการจัดเตรียมทีมวิทยากรระดับเขตเพ่ือการขยายงานแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตร ใหนําสูการพัฒนาแผนสุขภาพชุมชนในพื้นท่ี รพสต. 9.8 สนับสนุนงบประมาณการดําเนินงานโครงการใหแกสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ในกิจกรรมการอบรมวิทยากรระดับจังหวัด อําเภอ และการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนํา อสม. ในพื้นท่ี รพ.สต. เพื่อการพัฒนาแผนสุขภาพชุมชน 9.9 จัดระบบการติดตาม กํากับ และประเมินผล

9.10 จัดทําระบบฐานขอมูล เพื่อการรายงานผลการดําเนินงาน/สถานการณของพ้ืนท่ี 9.11 สนับสนุนกิจกรรมการประกวดนวัตกรรมสุขภาพชุมชนดีเดนระดับอําเภอ จังหวัด

เขต ภาค และชาติ 9.12 จัดสัมมนาระดับชาติเพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู

Page 18: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

5 10. การติดตาม กํากับ และประเมินผล

10.1 การประเมินผลการดําเนินงาน มี 3 ระดับ ดังนี้

10.1.1 การประเมินการเตรียมการ

- การสนับสนุนวิชาการและวัสดุอุปกรณ

- การสนับสนุนงบประมาณ

- การสรางทีมวิทยากรระดับเขต จังหวัด อําเภอ และตําบล

- การส่ือสารสรางความเขาใจในการดําเนินงาน

10.1.2 การประเมินกระบวนการดําเนินงาน

- กระบวนการในการวางแผนดําเนินการ ตั้งแตระดับสวนกลาง เขต และจังหวัด

- ระบบการควบคุม กํากับ

- การนิเทศงาน

- การมีสวนรวมของ อสม. องคกรปกครองสวนทองถ่ิน และภาคีอ่ืนๆ

10.1.3 การประเมินผลลัพธ

- การเปดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน และมีการแลกเปล่ียนเรียนรู

- การมีและใชแผนสุขภาพชุมชน

- การมีแนวทางการบริหารจัดการ รพ.สต. ท่ีเกิดจากคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. ภาคประชาชน 10.2 แนวทางการประเมินผล 10.2.1 ติดตามประเมินผลและรายงานผลดําเนินงานโครงการทุกเดือน 10.2.2 ประเมินผลเม่ือส้ินสุดการดําเนินงาน 10.2.3 ประเมินผลกระทบของการดําเนินงาน 10.2.4 จัดทําสรุปรายงานผลการดําเนินงานในภาพรวม

11. ระยะเวลาการดําเนินการ มกราคม – ธันวาคม 2553

12. งบประมาณดําเนินการ ไดรับสนับสนุนงบประมาณภายใตแผนงานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคท่ีมีความสําคัญ

ระดับชาติ ป 2553 (National Priority Program) ของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เปนจํานวนเงิน 46,000,000 บาท (ส่ีสิบหกลานบาทถวน ) และกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สนับสนุนงบประมาณการพัฒนาศักยภาพ อสม. ในพื้นท่ี รพ.สต. เปนจํานวนเงิน 23,000,000 บาท (ยี่สิบสามลานบาทถวน)

รวมเปนเงินท้ังส้ิน 69,000,000 ลานบาท (หกสิบเกาลานบาทถวน)

Page 19: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

6

13. ผูรับผิดชอบโครงการ 13.1 กระทรวงสาธารณสุข 13.2 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 13.3 สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวง

13.4 สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.)

14. ผูสนับสนุนโครงการ 14.1 สํานักตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข 14.2 กรมวิชาการทุกกรม 14.3 สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด

15. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 15.1 โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลไดรับการสงเสริมสนับสนุนใหมีคุณภาพดานการสงเสริมสุขภาพเชิงรุกท่ีเปนการเปล่ียนกระบวนทัศนใหม 15.2 เครือขายสุขภาพทุกระดับมีสวนรวมในการบริหารจัดการแผนสุขภาพชุมชน ท่ีมุงสูการปรับเปล่ียนพฤตกิรรมสุขภาพท่ีเหมาะสม 15.3 แกนนํา อสม. มีศักยภาพในกระบวนการเรียนรูแผนสุขภาพชุมชน 15.4 เจาหนาท่ีและเครือขายสุขภาพมีศักยภาพในการจดัการเรียนรูการดูแลสุขภาพดวยตนเองของชุมชนเพื่อการสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค ลงช่ือ..................................................ผูเสนอโครงการ

ลงช่ือ..................................................ผูขออนุมัติโครงการ

ลงช่ือ..................................................ผูอนุมัติโครงการ

Page 20: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

ปฏิทินกิจกรรมการดําเนินงานโครงการพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล

(ขับเคลื่อนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน)ลําดับ วัน/เดือน/ป รายการกิจกรรม ผูรับผิดชอบ

1 14 พ.ค. 53 ประชุมคณะกรรมการดําเนินงานขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน

ครั้งท่ี 1 ณ โรงแรมมิราเคิล จังหวัดกรุงเทพฯ

กรม สบส. / สนย. สป.

2 17 - 18 พ.ค. 53 อบรมวิทยากรเขตภาคเหนือ ณ สะเมิงรีสอรท จังหวัดเชียงใหม กรม สบส./ศูนยฯ สช.ภาค

3 20 - 21 พ.ค. 53 อบรมวิทยากรเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ โรงแรมแกนอินน จังหวัด

ขอนแกน

กรม สบส./ศูนยฯ สช.ภาค

4 24 - 25 พ.ค. 53 อบรมวิทยากรเขตภาคใต ณ โรงแรมภูเก็ตเมอรลิน จังหวัดภูเก็ต กรม สบส./ศูนยฯ สช.ภาค

5 1 มิ.ย. 53 ประชุมชี้แจง ผูตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข/นพ.สสจ. /

ผูเก่ียวของ และแถลงขาวเปดตัวโครงการฯ โดย รมว. สธ. ณ

จังหวัดกรุงเทพฯ

กรม สบส./สนย.สป.

6 2-3 มิ.ย. 53 อบรมวิทยากรเขตภาคกลาง ณ สะเมิงรีสอรท จังหวัดเชียงใหม กรม สบส./ศูนยฯ สช.ภาค

7 4 - 5 มิ.ย. 53 อบรมวิทยากรเขตภาคกลาง ณ สะเมิงรีสอรท จังหวัดเชียงใหม กรม สบส./ศูนยฯ สช.ภาค

8 พ.ค. - มิ.ย 53 อบรมวิทยากรจังหวัด / อําเภอ / แกนนํา อสม. (ในพื้นท่ี รพ.สต. และ สอ.

9,768 แหง)

สํานักตรวจราชการกระทรวง/สสจ./

วิทยากรเขต / ศูนยฯ สช. ภาค

9 มิ.ย. - ก.ค. 53 ผูบริหาร (รมว.สธ. และคณะ) ตรวจเยี่ยมกิจกรรมการอบรม ใน

พื้นท่ี 4 ภาค

กรม สบส./สสจ.

10 ก.ค. 53 แกนนํา อสม. พัฒนาแผนงาน/โครงการสุขภาพชุมชนแลวเสร็จ ในพื้นท่ี

รพ.สต.และสอ. 9,768 แหง

กรม สบส./สสจ.

11 ก.ค.- ก.ย. 53 เริ่มโครงการแลกเปล่ียนเรียนรูระหวางทองถ่ิน/ตําบล เพิ่ม

จํานวน รพ.สต. ในพื้นท่ีท่ีใชแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตรท่ีโรงเรียน

นวัตกรรมสุขภาพชุมชน และกลับไปพัฒนาโครงการสุขภาพชุมชนใน

พื้นท่ีตนเอง

สํานักตรวจราชการกระทรวง/ สสจ./

สปสช.เขต/วิทยากรเขต/จังหวัด/อําเภอ/

ศูนยฯ สช.ภาค

12 ส.ค. 53 ประชุมคณะกรรมการดําเนินงานขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน

ครั้งท่ี 2 ณ จังหวัดกรุงเทพฯ

กรม สบส./สนย./สป.

13 ส.ค.- ก.ย. 53 ติดตาม ประเมินผลและคัดเลือก รพ.สต. ตนแบบมาเปนโรงเรียน

นวัตกรรมสุขภาพชุมชน จังหวัดละ 3 แหง

สํานักตรวจราชการกระทรวง/สสจ./

สปสช. เขต / ศูนยฯ สช. ภาค14 ก.ย. 53 ประชุมคณะกรรมการอํานวยการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน

ครั้งท่ี 1 ณ กระทรวงสาธารณสุข

กรม สบส./สนย./สป.

15 ก.ย. - ต.ค. 53 ประกวดนวัตกรรมดีเดน ระดับอําเภอ/ จังหวัด/เขต/ภาค สํานักตรวจราชการกระทรวง/สสจ./

สปสช.เขต /ศูนยฯ สช.ภาค16 พ.ย. 53 ประกวดนวัตกรรมดีเดน ระดับชาติ กรม สบส.

17 ธ.ค. 53 สัมมนาวิชาการระดับชาติ(แลกเปล่ียนเรียนรู)การพัฒนา รพ.สต. เพื่อ

การสงเสริมสุขภาพเชิงรุกท่ีมุงสูแผนสุขภาพชุมชนและนวัตกรรม

สุขภาพชุมชน

กทสธ.(ทุกกรม) /สปสช./สสจ.

กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน

Page 21: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากจังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากศูนยฯ

วิชาการเขต

จํานวนทีมวิทยากร

จังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรอําเภอ /

ตําบล

งบประมาณ

สนับสนุนอบรม

วิทยากรจังหวัด(1)

งบประมาณสนับสนุน

การอบรมวิทยากร

อําเภอ / ตําบล (2)

งบประมาณ

สนับสนุนการอบรม

อสม . (100,000 คน)

(3)

1 นนทบุรี 76 790 6 3 7 5 30 12,500 75,000 181,700 87,500 269,200

ปทุมธานี 78 810 7 3 0 5 35 12,500 87,500 186,300 100,000 286,300

อยุธยา 206 2100 16 3 0 5 80 12,500 200,000 483,000 212,500 695,500

สระบุรี 126 1300 13 3 2 5 65 12,500 162,500 299,000 175,000 474,000

รวมเขต 486 5000 42 12 9 20 210 50,000 525,000 1,150,000 575,000 1,725,000

2 ชัยนาท 72 750 8 3 0 5 40 12,500 100,000 172,500 112,500 285,000

ลพบุรี 134 1380 11 3 0 5 55 12,500 137,500 317,400 150,000 467,400

สิงหบุรี 47 500 6 3 0 5 30 12,500 75,000 115,000 87,500 202,500

อางทอง 76 790 7 3 0 5 35 12,500 87,500 181,700 100,000 281,700

รวมเขต 329 3420 32 12 0 20 160 50,000 400,000 786,600 450,000 1,236,600

3 ฉะเชิงเทรา 118 1200 11 3 0 5 55 12,500 137,500 276,000 150,000 426,000

นครนายก 56 590 4 3 0 5 20 12,500 50,000 135,700 62,500 198,200

ปราจีนบุรี 93 960 7 3 0 5 35 12,500 87,500 220,800 100,000 320,800

สมุทรปราการ 63 660 6 3 0 5 30 12,500 75,000 151,800 87,500 239,300

สระแกว 110 1130 9 3 0 5 45 12,500 112,500 259,900 125,000 384,900

รวมเขต 440 4540 37 15 0 25 185 62,500 462,500 1,044,200 525,000 1,569,200

4 กาญจนบุรี 142 1450 13 3 0 5 65 12,500 162,500 333,500 175,000 508,500

นครปฐม 134 1370 7 3 0 5 35 12,500 87,500 315,100 100,000 415,100

ราชบุรี 162 1650 10 3 2 5 50 12,500 125,000 379,500 137,500 517,000

สุพรรณบุรี 174 1770 10 3 0 5 50 12,500 125,000 407,100 137,500 544,600

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2+3) (รวมเงิน

งบประมาณ สปสช.

และกรม สบส. )

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2) (เงินงบ สปสช.

)

ตารางเปาหมายการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในป พ.ศ. 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เขต จังหวัด * จํานวน

สถานีอนามัย

จํานวน อสม. ที่

ตองพัฒนา

ศักยภาพ

** จํานวน

อําเภอเปาหมายการพัฒนาศักยภาพ งบประมาณสนับสนุน

หมายเหตุ

* ขอมูลอางอิงจาก Thai Health Coding Cender

** ขอมูลอางอิงจากปฏิทินสาธารณสุข ป พ.ศ. 2553 ขอมูล ณ วันที่ 14 พ.ค.2553

Page 22: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากจังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากศูนยฯ

วิชาการเขต

จํานวนทีมวิทยากร

จังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรอําเภอ /

ตําบล

งบประมาณ

สนับสนุนอบรม

วิทยากรจังหวัด(1)

งบประมาณสนับสนุน

การอบรมวิทยากร

อําเภอ / ตําบล (2)

งบประมาณ

สนับสนุนการอบรม

อสม . (100,000 คน)

(3)

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2+3) (รวมเงิน

งบประมาณ สปสช.

และกรม สบส. )

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2) (เงินงบ สปสช.

)

ตารางเปาหมายการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในป พ.ศ. 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เขต จังหวัด * จํานวน

สถานีอนามัย

จํานวน อสม. ที่

ตองพัฒนา

ศักยภาพ

** จํานวน

อําเภอเปาหมายการพัฒนาศักยภาพ งบประมาณสนับสนุน

รวมเขต 612 6240 40 12 2 20 200 50,000 500,000 1,435,200 550,000 1,985,200

หมายเหตุ

* ขอมูลอางอิงจาก Thai Health Coding Cender

** ขอมูลอางอิงจากปฏิทินสาธารณสุข ป พ.ศ. 2553 ขอมูล ณ วันที่ 14 พ.ค.2553

Page 23: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากจังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากศูนยฯ

วิชาการเขต

จํานวนทีมวิทยากร

จังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรอําเภอ /

ตําบล

งบประมาณ

สนับสนุนอบรม

วิทยากรจังหวัด(1)

งบประมาณสนับสนุน

การอบรมวิทยากร

อําเภอ / ตําบล (2)

งบประมาณ

สนับสนุนการอบรม

อสม . (100,000 คน)

(3)

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2+3) (รวมเงิน

งบประมาณ สปสช.

และกรม สบส. )

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2) (เงินงบ สปสช.

)

ตารางเปาหมายการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในป พ.ศ. 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เขต จังหวัด * จํานวน

สถานีอนามัย

จํานวน อสม. ที่

ตองพัฒนา

ศักยภาพ

** จํานวน

อําเภอเปาหมายการพัฒนาศักยภาพ งบประมาณสนับสนุน

5 ประจวบฯ 81 840 8 3 0 5 40 12,500 100,000 193,200 112,500 305,700

เพชรบุรี 118 1220 8 3 0 5 40 12,500 100,000 280,600 112,500 393,100

สมุทรสงคราม 50 530 3 3 0 5 15 12,500 37,500 121,900 50,000 171,900

สมุทรสาคร 56 590 3 3 0 5 15 12,500 37,500 135,700 50,000 185,700

รวมเขต 305 3180 22 12 0 20 110 50,000 275,000 731,400 325,000 1,056,400

6 ชุมพร 93 960 8 3 0 5 40 12,500 100,000 220,800 112,500 333,300

นครศรีฯ 252 2550 23 3 3 5 115 12,500 287,500 586,500 300,000 886,500

พัทลุง 125 1280 11 3 0 5 55 12,500 137,500 294,400 150,000 444,400

สุราษฏร 166 1690 19 3 1 5 95 12,500 237,500 388,700 250,000 638,700

รวมเขต 636 6480 61 12 3 20 305 50,000 762,500 1,490,400 812,500 2,302,900

7 กระบี่ 72 750 8 3 0 5 40 12,500 100,000 172,500 112,500 285,000

ตรัง 125 1280 10 3 0 5 50 12,500 125,000 294,400 137,500 431,900

พังงา 64 670 8 3 0 5 40 12,500 100,000 154,100 112,500 266,600

ภูเก็ต 21 240 3 3 0 5 15 12,500 37,500 55,200 50,000 105,200

ระนอง 45 480 5 3 0 5 25 12,500 62,500 110,400 75,000 185,400

รวมเขต 327 3420 34 15 0 25 170 62,500 425,000 786,600 487,500 1,274,100

8 นราธิวาส 111 1140 13 3 0 5 65 12,500 162,500 262,200 175,000 437,200

ปตตานี 128 1310 12 3 0 5 60 12,500 150,000 301,300 162,500 463,800

ยะลา 80 830 8 3 2 5 40 12,500 100,000 190,900 112,500 303,400

สงขลา 175 1780 16 3 3 5 80 12,500 200,000 409,400 212,500 621,900

หมายเหตุ

* ขอมูลอางอิงจาก Thai Health Coding Cender

** ขอมูลอางอิงจากปฏิทินสาธารณสุข ป พ.ศ. 2553 ขอมูล ณ วันที่ 14 พ.ค.2553

Page 24: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากจังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากศูนยฯ

วิชาการเขต

จํานวนทีมวิทยากร

จังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรอําเภอ /

ตําบล

งบประมาณ

สนับสนุนอบรม

วิทยากรจังหวัด(1)

งบประมาณสนับสนุน

การอบรมวิทยากร

อําเภอ / ตําบล (2)

งบประมาณ

สนับสนุนการอบรม

อสม . (100,000 คน)

(3)

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2+3) (รวมเงิน

งบประมาณ สปสช.

และกรม สบส. )

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2) (เงินงบ สปสช.

)

ตารางเปาหมายการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในป พ.ศ. 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เขต จังหวัด * จํานวน

สถานีอนามัย

จํานวน อสม. ที่

ตองพัฒนา

ศักยภาพ

** จํานวน

อําเภอเปาหมายการพัฒนาศักยภาพ งบประมาณสนับสนุน

สตูล 54 570 7 3 0 5 35 12,500 87,500 131,100 100,000 231,100

รวมเขต 548 5630 56 15 3 25 280 62,500 700,000 1,294,900 762,500 2,057,400

หมายเหตุ

* ขอมูลอางอิงจาก Thai Health Coding Cender

** ขอมูลอางอิงจากปฏิทินสาธารณสุข ป พ.ศ. 2553 ขอมูล ณ วันที่ 14 พ.ค.2553

Page 25: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากจังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากศูนยฯ

วิชาการเขต

จํานวนทีมวิทยากร

จังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรอําเภอ /

ตําบล

งบประมาณ

สนับสนุนอบรม

วิทยากรจังหวัด(1)

งบประมาณสนับสนุน

การอบรมวิทยากร

อําเภอ / ตําบล (2)

งบประมาณ

สนับสนุนการอบรม

อสม . (100,000 คน)

(3)

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2+3) (รวมเงิน

งบประมาณ สปสช.

และกรม สบส. )

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2) (เงินงบ สปสช.

)

ตารางเปาหมายการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในป พ.ศ. 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เขต จังหวัด * จํานวน

สถานีอนามัย

จํานวน อสม. ที่

ตองพัฒนา

ศักยภาพ

** จํานวน

อําเภอเปาหมายการพัฒนาศักยภาพ งบประมาณสนับสนุน

9 จันทบุรี 106 1090 10 3 0 5 50 12,500 125,000 250,700 137,500 388,200

ชลบุรี 120 1240 11 3 3 5 55 12,500 137,500 285,200 150,000 435,200

ตราด 66 690 7 3 0 5 35 12,500 87,500 158,700 100,000 258,700

ระยอง 94 970 8 3 0 5 40 12,500 100,000 223,100 112,500 335,600

รวมเขต 386 3990 36 12 3 20 180 50,000 450,000 917,700 500,000 1,417,700

10 เลย 127 1300 14 3 0 5 70 12,500 175,000 299,000 187,500 486,500

หนองคาย 135 1380 17 3 0 5 85 12,500 212,500 317,400 225,000 542,400

หนองบัวลําภู 83 860 6 3 0 5 30 12,500 75,000 197,800 87,500 285,300

อุดรธานี 210 2130 20 3 1 5 100 12,500 250,000 489,900 262,500 752,400

รวมเขต 555 5670 57 12 0 20 285 50,000 712,500 1,304,100 762,500 2,066,600

11 นครพนม 151 1540 12 3 0 5 60 12,500 150,000 354,200 162,500 516,700

มุกดาหาร 78 810 7 3 0 5 35 12,500 87,500 186,300 100,000 286,300

สกลนคร 167 1700 18 3 0 5 90 12,500 225,000 391,000 237,500 628,500

รวมเขต 396 4050 37 9 0 15 185 37,500 462,500 931,500 500,000 1,431,500

12 กาฬสินธุ 157 1600 18 3 0 5 90 12,500 225,000 368,000 237,500 605,500

ขอนแกน 248 2520 26 3 4 5 130 12,500 325,000 579,600 337,500 917,100

มหาสารคาม 175 1780 13 3 0 5 65 12,500 162,500 409,400 175,000 584,400

รอยเอ็ด 231 2340 20 3 0 5 100 12,500 250,000 538,200 262,500 800,700

รวมเขต 811 8240 77 12 4 20 385 50,000 962,500 1,895,200 1,012,500 2,907,700

หมายเหตุ

* ขอมูลอางอิงจาก Thai Health Coding Cender

** ขอมูลอางอิงจากปฏิทินสาธารณสุข ป พ.ศ. 2553 ขอมูล ณ วันที่ 14 พ.ค.2553

Page 26: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากจังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากศูนยฯ

วิชาการเขต

จํานวนทีมวิทยากร

จังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรอําเภอ /

ตําบล

งบประมาณ

สนับสนุนอบรม

วิทยากรจังหวัด(1)

งบประมาณสนับสนุน

การอบรมวิทยากร

อําเภอ / ตําบล (2)

งบประมาณ

สนับสนุนการอบรม

อสม . (100,000 คน)

(3)

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2+3) (รวมเงิน

งบประมาณ สปสช.

และกรม สบส. )

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2) (เงินงบ สปสช.

)

ตารางเปาหมายการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในป พ.ศ. 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เขต จังหวัด * จํานวน

สถานีอนามัย

จํานวน อสม. ที่

ตองพัฒนา

ศักยภาพ

** จํานวน

อําเภอเปาหมายการพัฒนาศักยภาพ งบประมาณสนับสนุน

13 ยโสธร 112 1150 9 3 0 5 45 12,500 112,500 264,500 125,000 389,500

ศรีสะเกษ 255 2580 22 3 0 5 110 12,500 275,000 593,400 287,500 880,900

อํานาจเจริญ 77 800 7 3 0 5 35 12,500 87,500 184,000 100,000 284,000

อุบลราชธานี 310 3130 25 3 3 5 125 12,500 312,500 719,900 325,000 1,044,900

รวมเขต 754 7660 63 12 3 20 315 50,000 787,500 1,761,800 837,500 2,599,300

14 ชัยภูมิ 167 1700 16 3 0 5 80 12,500 200,000 391,000 212,500 603,500

นครราชสีมา 350 3530 32 3 3 5 160 12,500 400,000 811,900 412,500 1,224,400

บุรีรัมย 226 2290 23 3 0 5 115 12,500 287,500 526,700 300,000 826,700

สุรินทร 209 2120 17 3 0 5 85 12,500 212,500 487,600 225,000 712,600

รวมเขต 952 9640 88 12 3 20 440 50,000 1,100,000 2,217,200 1,150,000 3,367,200

15 เชียงใหม 270 2730 24 3 3 5 120 12,500 300,000 627,900 312,500 940,400

แมฮองสอน 71 740 7 3 0 5 35 12,500 87,500 170,200 100,000 270,200

ลําปาง 142 1450 13 3 0 5 65 12,500 162,500 333,500 175,000 508,500

ลําพูน 71 740 8 3 0 5 40 12,500 100,000 170,200 112,500 282,700

รวมเขต 554 5660 52 12 3 20 260 50,000 650,000 1,301,800 700,000 2,001,800

16 เชียงราย 211 2140 18 3 0 5 90 12,500 225,000 492,200 237,500 729,700

นาน 123 1260 15 3 0 5 75 12,500 187,500 289,800 200,000 489,800

พะเยา 94 970 9 3 0 5 45 12,500 112,500 223,100 125,000 348,100

แพร 119 1220 8 3 0 5 40 12,500 100,000 280,600 112,500 393,100

รวมเขต 547 5590 50 12 0 20 250 50,000 625,000 1,285,700 675,000 1,960,700

หมายเหตุ

* ขอมูลอางอิงจาก Thai Health Coding Cender

** ขอมูลอางอิงจากปฏิทินสาธารณสุข ป พ.ศ. 2553 ขอมูล ณ วันที่ 14 พ.ค.2553

Page 27: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากจังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรเขต

จากศูนยฯ

วิชาการเขต

จํานวนทีมวิทยากร

จังหวัด

จํานวนทีม

วิทยากรอําเภอ /

ตําบล

งบประมาณ

สนับสนุนอบรม

วิทยากรจังหวัด(1)

งบประมาณสนับสนุน

การอบรมวิทยากร

อําเภอ / ตําบล (2)

งบประมาณ

สนับสนุนการอบรม

อสม . (100,000 คน)

(3)

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2+3) (รวมเงิน

งบประมาณ สปสช.

และกรม สบส. )

รวมงบประมาณ

จัดสรรโอนใหจังหวัด

(1+2) (เงินงบ สปสช.

)

ตารางเปาหมายการสนับสนุนการดําเนินงานพัฒนาโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ในป พ.ศ. 2553 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

เขต จังหวัด * จํานวน

สถานีอนามัย

จํานวน อสม. ที่

ตองพัฒนา

ศักยภาพ

** จํานวน

อําเภอเปาหมายการพัฒนาศักยภาพ งบประมาณสนับสนุน

17 ตาก 115 1180 9 3 0 5 45 12,500 112,500 271,400 125,000 396,400

พิษณุโลก 143 1460 9 3 2 5 45 12,500 112,500 335,800 125,000 460,800

เพชรบูรณ 153 1560 11 3 0 5 55 12,500 137,500 358,800 150,000 508,800

สุโขทัย 118 1220 9 3 0 5 45 12,500 112,500 280,600 125,000 405,600

อุตรดิตถ 89 920 9 3 0 5 45 12,500 112,500 211,600 125,000 336,600

รวมเขต 618 6340 47 15 2 25 235 62,500 587,500 1,458,200 650,000 2,108,200

18 กําแพงเพชร 124 1270 11 3 0 5 55 12,500 137,500 292,100 150,000 442,100

นครสวรรค 189 1930 15 3 5 5 75 12,500 187,500 443,900 200,000 643,900

พิจิตร 109 1120 12 3 0 5 60 12,500 150,000 257,600 162,500 420,100

อุทัยธานี 90 930 8 3 0 5 40 12,500 100,000 213,900 112,500 326,400

รวมเขต 512 5250 46 12 5 20 230 50,000 575,000 1,207,500 625,000 1,832,500

9,768 100000 877 225 40 375 4,385 937,500 10,962,500 23,000,000 11,900,000 34,900,000

แนวทางการพิจารณาคุณสมบัติและเงื่อนไขวิทยากรกลางระดับเขต

5. แสดงความรับผิดชอบ โดยเมื่อผานการประชุมแลว จะตองไปดําเนินการตามภารกิจ/พันธะที่กําหนดไวในพื้นที่

รวมทั้งสิ้น

1. เคยผานการฝกอบรมหรือการประชุมที่เกี่ยวกับการสรางและการใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรมากอน

2. มีประสบการณในการเปนวิทยากรแผนที่ทางเดินยุทธศสตรมากอน หรือมีประสบการณพัฒนากระบวนการชุมชน เชน ดานการบริหารและและหรือการจัดทําแผน/บริหารแผนพัฒนาในองคกร ฯลฯ

3. มีทัศนคติ ความเชื่อที่ดีตองาน “สรางสังคม ชุมชนเขมแข็ง เพื่อสรางสุขภาพ” รวมทั้งมีความมุงมั่น ตั้งใจ ที่จะพัฒนาไปสูการเปลี่ยนแปลงวิถีจากการบริการ(Service Oriented) ไปเปนวิถีการพัฒนา(Development

Oriented)

4.. มีความสนใจ ตั้งใจในการประชุม ตลอดระยะเวลาอยางตอเนื่อง

หมายเหตุ

* ขอมูลอางอิงจาก Thai Health Coding Cender

** ขอมูลอางอิงจากปฏิทินสาธารณสุข ป พ.ศ. 2553 ขอมูล ณ วันที่ 14 พ.ค.2553

Page 28: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

คําสั่งกระทรวงสาธารณสุข ท่ี / 2553

เร่ือง แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน -----------------------

จากนโยบายการพัฒนาประเทศท่ีกําหนดใหมีการปรับปรุงระบบบริการดานสาธารณสุข ยกระดับสถานีอนามัยเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) และพัฒนาระบบเครือขายการสงตอในทุกระดับใหมีประสิทธิภาพเช่ือมโยงกันท้ังภาครัฐและเอกชน ซ่ึงรัฐบาลไดสนับสนุนงบประมาณมาสมทบงบประมาณของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อใหเกิดการขับเคล่ือนการดําเนินงานสงเสริมสุขภาพระดับชุมชน/ทองถ่ิน ท่ีมุงหวังใหประชาชนสามารถเขาถึงบริการสาธารณสุขแบบผสมผสาน มีทางเลือกหลากหลายรูปแบบ ดวยการมีสวนรวมจากองคกรภาคีเครือขายตางๆท่ีเกี่ยวของในพื้นท่ี ซ่ึงในปงบประมาณ 2554 มีเปาหมายการพัฒนาขยายและยกระดับใหครบทั้ง 9,768 แหง ท่ัวประเทศ โดยการนําแผนท่ีทางเดินยุทธศาสตรมาเปนเคร่ืองมือในการบริหารการเปล่ียนแปลงเพ่ือพัฒนา รพ.สต. ใหนําไปสูการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งถือไดวา เปนสวนสําคัญของการปฏิรูประบบสุขภาพและจะเปนมิติใหมของการบูรณาการดูแลสุขภาพเชิงรุกและการมีสวนรวมของชุมชนอยางแทจริง ดังนั้น เพื่อใหการดําเนินงานนําไปสูกลไกการขับเคล่ือนเชิงนโยบายและปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ จึงแตงต้ังคณะกรรมการอํานวยการและคณะกรรมการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน โดยแตละคณะมีองคประกอบและอํานาจหนาท่ี ดังนี้ 1. คณะกรรมการอํานวยการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน 1.1 องคประกอบ 1. นายแพทยอมร นนทสุต ประธานท่ีปรึกษา 2. นายแพทยณรงคศักดิ์ อังคะสุวพลา ท่ีปรึกษา 3. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประธานกรรมการ 4. รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทยสถาพร วงษเจริญ) รองประธานกรรมการ 5. รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (นายแพทยศิริวัฒน ทิพยธราดล) รองประธานกรรมการ

6. อธิบดีกรมอนามัย กรรมการ

2 / 7. อธิบดีกรมการแพทย…..

Page 29: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

2

7. อธิบดีกรมการแพทย กรรมการ 8. อธิบดีกรมควบคุมโรค กรรมการ 9. อธิบดีกรมวิทยาศาสตรการแพทย กรรมการ 10. อธิบดีกรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กรรมการ

11. อธิบดีกรมสุขภาพจิต กรรมการ 12. เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา กรรมการ

13. หัวหนาผูตรวจราชการกระทรวง กรรมการ 14 .ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 1 กรรมการ

15. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 2 กรรมการ 16. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 3 กรรมการ 17. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 4 กรรมการ 18. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 5 กรรมการ 19. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 6 กรรมการ 20. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 7 กรรมการ 21. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 8 กรรมการ 22. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 9 กรรมการ 23. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 10 กรรมการ 24. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 11 กรรมการ 25. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 12 กรรมการ 26. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 13 กรรมการ 27. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 14 กรรมการ 28. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 15 กรรมการ 29. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 16 กรรมการ 30. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 17 กรรมการ 31. ผูตรวจราชการกระทรวง เขต 18 กรรมการ 32. เลขาธิการสํานักงานหลักประกนัสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) กรรมการ 33. เลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.) กรรมการ 34. ผูจัดการสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ ( สสส. ) กรรมการ 35. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ( สวรส.) กรรมการ 36. ผูอํานวยการสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล กรรมการ

3 / 37. ผูอํานวยการสํานักนโยบาย…

Page 30: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

3

37. ผูอํานวยการสํานักนโยบายและยุทธศาสตร กรรมการ สํานักงานปลัดกระทรวง 38. ประธานคณะกรรมการพัฒนาสาธารณสุขจังหวัด กรรมการ (ชมรมนายแพทยสาธารณสุขจังหวัด) 39. ประธานชมรมโรงพยาบาลศูนย / โรงพยาบาลท่ัวไป กรรมการ 40. อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรรมการและเลขานุการ 41. รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 42. นักวิชาการสาธารณสุขเช่ียวชาญ ดานสาธารณสุขมูลฐาน กรรมการและผูชวยเลขานุการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 43. นักวิชาการสาธารณสุขเช่ียวชาญ ดานสุขศึกษา กรรมการและผูชวยเลขานุการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

44. ผูอํานวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 45. นางสาวสุธาทิพย จันทรักษ กรรมการและผูชวยเลขานุการ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 46. นางอมรศรี ยอดคํา กรรมการและผูชวยเลขานุการ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 47. นายวิโรจน เลงรักษา กรรมการและผูชวยเลขานุการ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนบัสนุนบริการสุขภาพ

1.2 อํานาจหนาท่ี

1. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรและทิศทางการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชมุชน 2. ควบคุม กาํกับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานเพ่ือการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชมุชน

3. อํานวยการและใหการสนบัสนุนการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามแผนการขับเคล่ือน และบริหารแผนสุขภาพชมุชน

4. พิจารณาใหความเหน็ชอบและใหขอเสนอแนะการพัฒนาตามแผนการขับเคล่ือนและบริหาร แผนสุขภาพชุมชน

5. แตงต้ังคณะอนุกรรมการและคณะทํางานไดตามความเหมาะสม 6. ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนๆตามท่ีไดรับมอบหมาย

4/ 2. คณะกรรมการดําเนินงาน…

Page 31: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

4

2. คณะกรรมการดําเนินงานขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชน 2.1 องคประกอบ 2.1.1 คณะท่ีปรึกษา

1. นายแพทยอมร นนทสุต ประธานท่ีปรึกษา 2. นายแพทยณรงคศักดิ์ อังคะสุวพลา ท่ีปรึกษา 3. รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ( นพ.สถาพร วงษเจริญ) ท่ีปรึกษา 4. ดร.กาญจนา กาญจนสินทิธ ท่ีปรึกษา

5. ผูตรวจราชการกระทรวงเขตทุกเขต ท่ีปรึกษา 2.1.2 คณะดําเนินงาน 1. อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ประธานกรรมการ 2. นายแพทยนิทัศน รายยวา รองประธานกรรมการ 3. นายแพทยบุญชัย สมบูรณสุข รองประธานกรรมการ 4. สาธารณสุขนิเทศกเขตทุกเขต กรรมการ 5. รองอธิบดีกรมทุกกรม กรรมการ

6. ผูชวยผูตรวจราชการกระทรวงเขตทุกเขต กรรมการ 7. ผูอํานวยการสํานักนโยบายและยุทธศาสตร กรรมการ สํานักงานปลัดกระทรวง

8. นายแพทยสาธารณสุขจังหวัด (เลขานุการเขตทุกเขต) กรรมการ 9. ผูอํานวยการสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติเขตทุกเขต กรรมการ 10. ผูอํานวยการสํานักงานปองกันควบคุมโรค ท่ี 1 – 12 กรรมการ

11. ผูอํานวยการศูนยอนามัยท่ี 1 – 12 กรรมการ 12. ผูอํานวยการศูนยสุขภาพจิตท่ี 1 – 15 กรรมการ 13. ผูอํานวยการศูนยฝกอบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนภาค กรรมการ

5 แหง 14. รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรรมการและเลขานุการ 15. นายประยทุธ แสงสุรินทร กรรมการและผูชวยเลขานุการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 16. นางเพ็ญศรี เกิดนาค กรรมการและผูชวยเลขานุการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

5 / 17. ผูอํานวยการกอง…

Page 32: Rood Map รพphc.moph.go.th/¹นวทางการ... · สารบัญ หน า • ความสําคัญในการพัฒนาโรงพยาบาลส

5

17. ผูอํานวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 18. ผูอํานวยการกองสุขศึกษา กรรมการและผูชวยเลขานุการ 19. นายสุทธิพงษ วสุโสภาพล กรรมการและผูชวยเลขานุการ

สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ 20. นางสาวสุธาทิพย จันทรักษ กรรมการและผูชวยเลขานุการ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 21. นางอมรศรี ยอดคํา กรรมการและผูชวยเลขานุการ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

22. นางณัฐวด ี ศรีสง กรรมการและผูชวยเลขานุการ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ

23. นายวิโรจน เลงรักษา กรรมการและผูชวยเลขานุการ กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 24. นายสุรัติ ฉัตรไชยาฤกษ กรรมการและผูชวยเลขานุการ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวง

2.2 อํานาจหนาท่ี 1. จัดทําแผนปฏิบัติการทีมขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชุมชนในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบ 2. อํานวยการและใหการสนบัสนุนการดําเนินงานในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบในการนําแผนสูการปฏิบัติ

3. ควบคุม กาํกับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานเพ่ือการขับเคล่ือนและบริหารแผนสุขภาพชมุชน 4. รายงานผลการดําเนนิงานความกาวหนาการพัฒนาพื้นท่ีตนแบบดานบริหารแผนสุขภาพชุมชน

ตลอดจนปญหาและอุปสรรคแกคณะกรรมการอํานวยการ 5. แตงต้ังคณะอนุกรรมการและคณะทํางานไดตามความเหมาะสม

6. ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

ท้ังนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

ส่ัง ณ วันท่ี พฤษภาคม พ.ศ. 2553

สําเนาถูกตอง วิโรจน เลงรักษา