atom

22

Upload: apuntree47

Post on 27-Jun-2015

1.404 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

เรียนรู้เรื่องพันธะเคมีนะคะ

TRANSCRIPT

Page 1: Atom
Page 2: Atom

นิยามพนัธะเคมี

แรงยดึเหนี�ยวระหวา่งอนุภาคของสารเพื�อใหอ้ะตอมรวมกนัเป็นโมเลกลุหรือใหโ้มเลกลุรวมกนัเป็นกลุ่มกอ้น

ไอออน-ไอออน อะตอม-อะตอม โมเลกุล-โมเลกุล

Page 3: Atom

แรงยดึเหนี�ยวระหว่างโมเลกลุแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1. แรงยดึเหนี�ยวระหว่างอะตอมหรือไอออนของธาตุ

1.1 พนัธะไอออนิก

1.2 พนัธะโคเวเลนต์

1.3 พนัธะโลหะ

2. แรงยดึเหนี�ยวระหว่างโมเลกลุ

2.1 แรงแวนเดอร์วาลส์ ได้แก่ แรงลอนดอน แรงดงึดูดระหว่างขั.ว

2.2 พนัธะไฮโดรเจน

Page 4: Atom

พนัธะไอออนิก (Ionic bond)

นิยาม

พนัธะไอออนิก หมายถึง แรงยดึเหนี�ยวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบที�เกดิจากอะตอมให้และรับอเิลก็ตรอนกนัเพื�อให้มเีวเลนต์อเิลก็ตรอนเท่ากบั 8

Page 5: Atom

โลหะ (IE ตํ�ากว่า) อโลหะ (IE สูงกว่า)

Page 6: Atom
Page 7: Atom
Page 8: Atom

โครงสร้างของสารประกอบไอออนิก

โคออร์ดิเนชันนัมเบอร์ คอื จํานวนไอออนที�ห้อมล้อมและสัมผสักบัไอออนอื�น

1) โครงสร้างผลกึของ NaF1) โครงสร้างผลกึของ NaFNa+ จะมี F- ห้อมล้อมและ สัมผสั

โดยรอบ 6 ไอออน F- จะมี Na+ ห้อมล้อมและสัมผสั

โดยรอบ 6 ไอออน

Page 9: Atom

2) โครงสร้างผลกึของ CsCl Cs+ มี Cl- หอ้มลอ้มและสมัผสั 8 ไอออน Cl- มี Cs+ หอ้มลอ้มและสมัผสั 8 ไอออน

3) โครงสร้างผลกึของ CaF2

Ca2+ มี F- หอ้มลอ้มและสมัผสั 8 ไอออน แต่ F- มี Ca2+ หอ้มลอ้มและสมัผสัเพียง 4 ไอออนเท่านั0น

Page 10: Atom

พลงังานกบัการเกดิสารประกอบไอออนิก

Na(s) Na(g) ∆H1 = +107 kJ/mol

Cl2(g) Cl(g) ∆H2 = +122 kJ/mol

1

2

E การระเหิด

E การสลายพนัธะCl2(g) Cl(g) H2 = +122 kJ/mol

Na (g) Na+ (g) + e- ∆H3 = +496 kJ/mol

Cl (g) + e- Cl- (g) ∆H4 = - 349 kJ/mol

Na+(g) + Cl-(g) NaCl(s) ∆H5 = - 787 kJ/mol

3

4

5

IE

EA

E แลตทซิ

Page 11: Atom

Na(g) + 1/2Cl2(g)

Na(g) + Cl(g)

Na+ (g) + e - + Cl(g)

Na+(g) + Cl-(g)

∆H2 = +122 kJ

∆H3 = +496 kJ ∆H4 = -349 kJ

2

3 4

∆Hf = (+107)+(+122)+(+496)+(-349)+(-787) = - 411 kJ/mol

Na(s) + 1/2Cl2(g)เริ�มต้น

Na(g) + 1/2Cl2(g)

NaCl (s)∆Hf = -411 kJ/mol

∆H1 = +107 kJ ∆H5 = -787 kJ1

5

วฏัจกัรบอร์น – ฮาเบอร์สุดท้าย

Page 12: Atom

การเขียนสูตรสารประกอบไอออนิก

1. เขียนไอออนบวกนําหน้าไอออนลบ

2. เขียนโลหะก่อนอโลหะ

3. ผลรวมของประจุเป็นศูนย์ (นําจํานวนประจุบนไอออนบวกและไอออนลบคูณไว้กนั)

4. ใส่วงเลบ็กลุ่มไอออนบวกหรือไอออนลบมีมากกว่า 1 กลุ่ม

Page 13: Atom

ตัวอย่าง

1. Na กบั Cl Na+ กบั Cl-

1 1NaCl

1 1

2. Na กบั Cl Na+ กบั O2-

1 2Na2O

Page 14: Atom

การอ่านชื�อสารประกอบไอออนิก

1. กรณธีาตุโลหะที�มีเลขออกซิเดชันค่าเดียวรวมกบัอโลหะ ให้อ่านชื�อโลหะที�เป็นไอออนบวก แล้วตามชื�ออโลหะที�เป็นไอออนลบ โดยลงเสียงพยางค์ท้ายด้วย ไ-ด์ (-ide)

เช่น ไฮโดรเจน เป็น ไฮไดรด์ (hydride)เช่น ไฮโดรเจน เป็น ไฮไดรด์ (hydride) คลอรีน เป็น คลอไรด์ (chloride) โบรมีน เป็น โบรไมด์ (bromide)

ตวัอยา่ง

NaCl อ่านวา่ โซเดียมคลอไรด ์(Sodium chloride)

KBr อ่านวา่ โพแทสเซียมโบรไมด ์(Potassium bromide)

Page 15: Atom

สมบัติของสารประกอบไอออนิก

1. ไม่มีสูตรโมเลกลุมแีต่สูตรอย่างง่าย

2. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดเป็นของแขง็ที�อุณหภูมิห้อง

3. แขง็แต่เปราะ3. แขง็แต่เปราะ

4. จุดเดอืดและจุดหลอมเหลวสูง

5. ไม่นําไฟฟ้าในสถานะของแขง็ แต่เมื�อละลายนํ.าจะนําไฟฟ้าได้ดี

6. บางชนิดละลายนํ.าได้ แต่บางชนิดไม่ละลายนํ.า

Page 16: Atom

การละลายนํ.าของสารประกอบไอออนิก

Cl- ไอออน

Na+ ไอออน

โมเลกลุนํ.า NaCl

HOH

HOH

โมเลกลุนํ.า NaCl

ooo

o

oo

HHH

H

HH

H

H

H HH

H

Page 17: Atom

พลงังานกบัการละลายนํ.าของสารประกอบไอออนิก

Na+(g) + Cl-(g)

∆Hhyd = -771 kJ1

2

NaCl(s)

Na+(aq) + Cl-(aq)

∆Hlatt = +776 kJ

∆Hhyd = -771 kJ

∆Hsoln = +5 kJ

1

Page 18: Atom

สรุปการละลายนํ.าของสารประกอบไอออนิก

∆Hlattice > ∆Hhydration แสดงว่ามีการดูดพลงังาน∆Hlattice > ∆Hhydration แสดงว่ามีการดูดพลงังาน∆Hlattice >>> ∆Hhydration แสดงว่าสารนั.นไม่ค่อยละลาย

สารที�ละลายนํ0 าได ้ < 0.1 g/H2O 100 cm3 ที� 25 0C แสดงวา่ไม่ละลายสารที�ละลายนํ0 าได ้ 0.1-1.0 g/H2O 100 cm3 ที� 25 0C แสดงวา่ละลายไดบ้างส่วนสารที�ละลายนํ0 าได ้ > 1.0 g/H2O 100 cm3 ที� 25 0C แสดงวา่ละลายไดด้ี

Page 19: Atom

ปฏิกริิยาของสารประกอบไอออนิก

Na+

Cl- Ag+

NO3-

สารละลาย NaClNa+ NO3

สารละลาย AgNO3

AgCl (s)

NaCl Na+(aq) + Cl-(aq) AgNO3 Ag+(aq) + NO3-(aq)

Na+(aq) + Cl-(aq) + Ag+(aq) + NO3-(aq) Na+(aq) + Cl-(aq) + AgCl(s)

สมการไอออนิก

Page 20: Atom

สมการไอออนิก

เมื�อสารประกอบไอออนิกในสถานะของแขง็มาละลายนํ0ากจ็ะแตกตวัเป็นไอออน

NaCl (s) Na+(aq) + Cl- (aq)NaCl (s) Na+(aq) + Cl- (aq)

AgNO3(s) Ag+(aq) + NO3-(aq)

K2SO4(s) 2K+(aq) + SO42-(aq)

Page 21: Atom

NaCl (s) Na+ (aq) + Cl- (aq)AgNO3 (s) Ag+ (aq) + NO3

- (aq)

Na+(aq) + Cl-(aq) + Ag+(aq) + NO3-(aq) Na+(aq) + Cl-(aq) + AgCl(s)

สมการไอออนิกสมการไอออนิก

Cl-(aq) + Ag+(aq) AgCl(s)

สมการไอออนิกสุทธิ

Page 22: Atom

หลกัการเขยีนสมการไอออนิก

1. เขียนเฉพาะไอออนหรือโมเลกลุที�ทาํปฏิกริิยากนั

2. ถ้าสารที�เกี�ยวข้องในปฏิกิริยาเป็นสารที�ไม่ละลายนํ.าหรือไม่แตกตัวเป็นไอออน ให้เขียนสูตรโมเลกลุของสารนั.นในสมการได้ เช่น H2 NH3 CO2ไอออน ให้เขียนสูตรโมเลกลุของสารนั.นในสมการได้ เช่น H2 NH3 CO2

3. ดุลสมการไอออนิก โดยทําให้จํานวนอะตอม และจํานวนไอออน ของทุกธาตุเท่ากนั รวมทั.งประจุรวมทั.งซ้ายและขวาต้องเท่ากนัด้วย