information literacy of undergraduate students at srinakharinwirot university

Post on 27-Jun-2015

2.154 Views

Category:

Education

1 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

Information Literacy at Thai Library Association Conference 2007

TRANSCRIPT

การรู้สารสนเทศของนิสิตระดบั

ปริญญาตรี มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

1

โดย ปภาดา เจียวกก๊ คณะกรรมการควบคมุ :

รศ. สพุฒัน์ ส่องแสงจนัทร ์อ.ดร. อารีย ์ชื่นวฒันา

ภมูิหลงั

อดีต สารสนเทศส่วนใหญ่ผลิตในรปูของสิ่งพิมพ ์มีปริมาณไม่

มากนัก

ปัจจบุนั สารสนเทศผลิตออกมาในปริมาณเพิ่มมากขึน้

มีอยู่ในหลายรปูแบบและหลายแหล่ง ทัง้ในรปูของหนังสือ

วารสาร ฐานข้อมลู และอินเทอรเ์น็ต

(สารสนเทศทะลกัทะลาย) ผูใ้ช้เกิดความสบัสนคบัข้องใจ

ทาํอย่างไร จึงจะนําสารสนเทศเหล่านี้มาใช้ได้ ?

2

3Cleveland Institute of Music. 2007 : Online

4

University of South Dakota. 2007 : Online

5

การรู้สารสนเทศ คืออะไร ?

การรู้สารสนเทศ คือ ความสามารถในการเข้าถึง

สารสนเทศ การประเมินสารสนเทศ และการใช้

สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

(ALA. 1989 : Online)

6

เริ่มต้น

สิ้นสดุ

กาํหนดประเดน็ปัญหา

หรือตัง้คาํถามเรื่องที่ศึกษา

กาํหนดแหล่ง

สารสนเทศ

วางแผนการค้นหา

และกาํหนดคาํค้น

ประเมินสารสนเทศ

สงัเคราะหส์ารสนเทศ

นําสารสนเทศ

ไปใช้

Whiston & Amstuts. 1997

ขัน้ตอนการรู้สารสนเทศ

7

นโยบายการปฏิรปูการศึกษาไทย

(พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 ม.22 และ

ม.24) มุ่งเน้นให้ผูเ้รียนเรียนรู้ด้วยตนเอง

เรียนรู้ตลอดชีวิต

จะทาํอย่างไรให้เขาเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ?

8

องคป์ระกอบของการรู้สารสนเทศ

EURlib. 2007 : Online

9

จดุมุ่งหมายการวิจยั

1. ศึกษาการรู้สารสนเทศของนิสิตระดบัปริญญาตรี

มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

2. เปรียบเทียบการรู้สารสนเทศของนิสิตระดบั

ปริญญาตรี มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ

จาํแนกตามตวัแปร เพศ ชัน้ปี กลุ่มสาขา และ

ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน

10

ประชากรและกลุ่มตวัอย่าง

ประชากร นิสิตปริญญาตรี จาํนวน 5,094 คน

กลุ่มตวัอย่าง นิสิตปริญญาตรี จาํนวน 465 คน

(ขัน้ตํา่ 357 คน)

11

ตวัแปรที่ศึกษา

เพศ

ชัน้ปี

กลุ่มสาขา

ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน

12

มาตรฐานการรู้สารสนเทศ ระดบัอดุมศึกษา

ของ สมาคมห้องสมดุวิทยาลยัและวิจยั

แห่งสหรฐัอเมริกา (ACRL)

ประกอบด้วย

มาตรฐาน 5 ข้อ

ดชันีชี้วดั 22 ข้อ

ผลลพัธ ์ 84 ข้อ

13

มาตรฐานการรู้สารสนเทศของ ACRL

1. กาํหนดขอบเขตสารสนเทศที่ต้องการใช้ได้ (ด้านการเข้าถึง

สารสนเทศ)

2. เข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และประสิทธิผล (ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ)

3. ประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศได้อย่างมี

วิจารณญาณ (ด้านการประเมินสารสนเทศ)

14

4. ใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อบรรล ุ

วตัถปุระสงคท์ี่ได้ กาํหนดไว้ (ด้านการใช้สารสนเทศ)

5. เข้าใจบริบททางสงัคม กฎหมายและเศรษฐกิจที่มีผลต่อ

การใช้และเข้าถึงสารสนเทศ รวมทัง้ใช้สารสนเทศอย่าง

มีจริยธรรมและชอบด้วยกฎหมาย (ด้านการใช้สารสนเทศ)

มาตรฐานการรู้สารสนเทศของ ACRL (ต่อ)

15

ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ

มาตรฐานที่ 1 นิสิตสามารถกาํหนดขอบเขตสารสนเทศ

ที่ต้องการใช้ได้

ดชันีชี้วดั 1.1 ระบแุละแสดงความต้องการสารสนเทศ

ของตนได้ชดัเจน

1.2 ระบปุระเภทและรปูแบบของแหล่ง

สารสนเทศที่น่าจะมีสารสนเทศที่ต้องการใช้ได้

16

มาตรฐานที่ 2 นิสิตสามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ

ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ดชันีชี้วดั 2.1 เลือกวิธีการศึกษาหรือระบบการค้นคืน

สารสนเทศที่เหมาะสมและดีที่สดุเพื่อเข้าถึงสารสนเทศ

ที่ต้องการใช้ได้

2.2 กาํหนดกลยทุธก์ารค้นหาสารสนเทศและ

ดาํเนินการตามกลยทุธท์ี่ออกแบบไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.3 ค้นหาสารสนเทศทางออนไลน์หรือสารสนเทศ

ที่เป็นผลงานของบคุคลนัน้ๆ ทางออนไลน์โดยใช้วิธีการต่างๆ ได้

17

ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ

มาตรฐานที่ 3 นิสิตสามารถประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณและบรูณาการ

สารสนเทศที่เลือกสรรแล้วให้เข้ากบัฐานความรูเ้ดิมและ

ระบบคณุค่าของตนได้

ดชันีชี้วดั 3.2 อธิบายและประยกุตเ์กณฑข์ัน้ต้น

ในการประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศได้

18

ดชันีชี้วดั 3.4 เปรียบเทียบความรูใ้หม่กบัความรูท้ี่มีอยู่เดิมเพื่อให้ทราบถึงคณุค่าที่เพิ่มขึน้ สิ่งที่ขดัแย้งกนั และลกัษณะเฉพาะอื่น ๆ ของสารสนเทศได้ (คดัเลือกสารสนเทศที่รวบรวมมาได้)

ดชันีชี้วดั 3.7 สามารถพิจารณาว่าคาํถามที่ตัง้ไว้ช่วงแรกควรได้รบัการปรบัปรงุหรอืไม่อย่างไร

(ทบทวนแหล่งสารสนเทศที่ใช้ค้นและขยายไปยงัแหล่งสารสนเทศอื่นได้ ถ้าจาํเป็น)

19

ความสามารถในการใช้สารสนเทศ

มาตรฐานที่ 5 นิสิตสามารถเข้าใจประเดน็ทางเศรษฐกิจ

กฎหมาย และสงัคมที่เกี่ยวเนื่องกบัการใช้และการเข้าถึง

สารสนเทศ รวมทัง้ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและชอบ

ด้วยกฎหมาย

ดชันีชี้วดั 5.1 นิสิตเข้าใจประเดน็ทางจริยธรรม กฎหมาย

และสงัคมที่แวดล้อมสารสนเทศ และ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

20

ดชันีชี้วดั 5.2 นิสิตปฏิบตัิตามกฎหมาย ข้อบงัคบั นโยบาย

และมารยาทที่เกี่ยวข้องกบัการเข้าถึง และการใช้ทรพัยากร

สารสนเทศได้

ดชันีชี้วดั 5.3 นิสิตอ้างถึงแหล่งสารสนเทศที่นํามา

ใช้ในการผลิตหรือปฏิบตัิงาน

21

จาํนวนคาํถาม ทัง้หมด 55 ข้อ

ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ 38 ข้อ

ด้านการประเมินสารสนเทศ 12 ข้อ

ด้านการใช้สารสนเทศ 5 ข้อ

22

เกณฑก์ารแบง่ระดบัการรู้สารสนเทศ

แบง่การรูส้ารสนเทศ เป็น 5 ระดบั

0-6.875 หมายถึง มีระดบัการรูส้ารสนเทศตํา่มาก

6.876-20.625 หมายถึง มีระดบัการรูส้ารสนเทศตํา่

20.626-34.375 หมายถึง มีระดบัการรูส้ารสนเทศปานกลาง

34.376-48.125 หมายถึง มีระดบัการรูส้ารสนเทศสงู

48.126-55.00 หมายถึง มีระดบัการรูส้ารสนเทศสงูมาก

23

สถิติที่ใช้ในการวิจยั

ค่าร้อยละ

ค่าเฉลี่ย

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

t-test

F-test

24

สรปุผล อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

สถานภาพ นิสิตส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง เป็นนิสิตชัน้ปีที่ 2 กลุ่มสาขามนุษยศาสตร ์และมีผลการเรียนดี

นิสิตมีการรู้สารสนเทศในระดบัปานกลาง (ร้อยละ

56.10)

- มีความสามารถในการใช้สารสนเทศสงูกว่าด้านอื่น

โดยอยู่ในระดบัสงู

- มีความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศ และ

ประเมินสารสนเทศในระดบัปานกลาง

25

เพศ ไม่พบความแตกต่าง

ชัน้ปี โดยรวมไม่แตกต่าง แต่แตกต่างกนัในด้าน

การประเมินสารสนเทศ และด้านการใช้สารสนเทศ

โดยนิสิตชัน้ปีที่ 4 มีความสามารถในการใช้สารสนเทศ

สงูกว่านิสิตชัน้ปีที่ 2 ส่วนด้านการประเมิน

เปรียบเทียบเป็นรายคู่ ไม่พบความแตกต่าง

26

กลุ่มสาขา มีการรู้สารสนเทศโดยรวมแตกต่างกนั

โดยนิสิตกลุ่มวิทยาศาสตรก์ารแพทยม์ีการรู้

สารสนเทศ สงูกว่านิสิตกลุ่มอื่น ๆ ทกุกลุ่ม

ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน นิสิตที่มีผลการเรียนดีมาก

มีการรู้สารสนเทศโดยรวมสงูกว่านิสิตที่มี

ผลการเรียนพอใช้

27

อภิปรายผล

ระดบัการรูส้ารสนเทศ อยู่ในระดบัปานกลาง

สาเหต ุ 1.1 ความแตกต่างของเนื้อหาการสอนการรู้

สารสนเทศในต่างประเทศกบัการสอน วิชา บส 101

1.2 แบบทดสอบยึดมาตรฐานการรูส้ารสนเทศ

ของ ACRL

1.3 ประสบการณ์ของนิสิต (เช่น การใช้ อินเทอรเ์น็ต การค้นฐานข้อมลู การใช้ไอแพก)

28

เปรียบเทียบการรูส้ารสนเทศตามตวัแปร

เพศ มีการรูส้ารสนเทศไม่แตกต่างกนั

ชัน้ปี โดยรวมมีการรูส้ารสนเทศไม่แตกต่าง

นิสิตขาดการปลกูฝงัในเรือ่งการศึกษาค้นคว้า

ค่านิยมเน้นเชิงวตัถ ุเรียนเพื่อให้ได้ปริญญาบตัร เมื่อเรียนไป

แล้วไม่ได้นําสิ่งที่เรียนไปใช้ประโยชน์

แต่การศึกษาของต่างประเทศ พบว่า นิสิตที่เรียน

ในชัน้ปีที่สงูขึน้มีการรูส้ารสนเทศเพิ่มขึน้ตามระดบัชัน้ปีที่

เรียน

29

กลุ่มสาขา มีการรูส้ารสนเทศแตกต่างกนั โดยนิสิต กลุ่ม

วิทยาศาสตรก์ารแพทย ์มีการรูส้ารสนเทศ สงูกว่านิสิต

กลุ่มอื่นทุกกลุ่ม เพราะ

1.1 การค้นคว้าหาข้อมลู นิสิตแพทยค์้นคว้า

ข้อมลู บอ่ย ติดตามข่าวสาร ความเคลื่อนไหวใน

วงการ แพทย์ อยู่เสมอ

1.2 มีผลการเรียนดี เอาใจใส่ต่อการเรียน เรียนรู้ ได้เรว็

30

ผลสมัฤทธิ์ทางการเรียน

นิสิตที่มีผลการเรียนดีมาก มีการรู้สารสนเทศสงู

กว่านิสิตที่มีผลการเรียนพอใช้ เพราะ นิสิตที่มีผล

การเรียนดี มกัใช้เวลาส่วนใหญ่ในห้องสมดุ หรือ

แหล่งข้อมลูอื่น ๆ ชอบเสาะแสวงหาความรู้

และใฝ่รู้

31

ข้อเสนอแนะ

ภาควิชาบรรณารกัษศาสตรแ์ละสารสนเทศศาสตร ์

ควรปรบัปรงุเนื้อหาวิชา บส 101 ให้ใกล้เคียงกบัการสอนการรู้สารสนเทศในต่างประเทศ โดยปรบัให้เหมาะกบัการเรียนการสอนในประเทศ โดยเพิ่มเติมเนื้อหาในเรื่องเหล่านี้

1.1 การเข้าถึงสารสนเทศ - การนิยามภาระงาน

1.2 การประเมินสารสนเทศ - เกณฑใ์นการประเมิน

สารสนเทศ การประเมินเวบ็ไซต์

1.3 การใช้สารสนเทศ – กฎหมายและจริยธรรมในการใช้สารสนเทศ และมารยาทในการใช้อินเทอรเ์น็ต

32

สาํนักหอสมดุกลาง

1. จดัทาํ Web tutor สอนเกี่ยวกบัการรู้สารสนเทศ แนะนํา

ห้องสมดุ บริการต่าง ๆ ของห้องสมดุ

ด้านการเข้าถึงสารสนเทศ -- การนิยามภาระงาน

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ ระบบการจดัหมวดหมู่

ของ ห้องสมดุ หวัเรื่องและคาํสาํคญัเครื่องมือที่ใช้ค้นหา

สารสนเทศ และการใช้เครื่องมือเพื่อค้นหาสารสนเทศ

เทคนิคการค้นต่าง ๆ ฐานข้อมลู และ อินเทอรเ์น็ต

ด้านการประเมินสารสนเทศ -- เกณฑท์ี่ใช้ในการประเมิน

สารสนเทศ

33

ด้านการใช้สารสนเทศ

– แนะนําความรู้เกี่ยวกบัจรรยาบรรณในการใช้

สารสนเทศวิธีการศึกษาค้นคว้า / วิจยั และการเขียนอ้างอิง

2. ร่วมมือกบัอาจารยผ์ูส้อน สอนการรู้สารสนเทศ

34

Web Tutorial

University of Wisconsin-Parkside. 2007 : Online

35

Web Tutorial

Five Colleges of Ohio. 2007 : Online

36

Web Tutorial

George Mason University Libraries. 2007 : Online

37

Web Tutorial

มหาวทิยาลยัขอนแก่น. ภาควชิาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. 2007 : Online

38

University of Hawai'i Libraries Information Literacy Committee. 2007 : Online

top related