คู่มือการปฏิบัติงาน (work...

35
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) เรื่อง การสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือสารวจ ส่วนสารวจทาแผนที่ภาคพื้นดิน สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน สิงหาคม 2562

Upload: others

Post on 07-Sep-2021

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

เรื่อง การสอบเทียบมาตรฐานเครือ่งมือส ารวจ

ส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน

สิงหาคม 2562

Page 2: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

เรือ่ง การสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมอืส ารวจ

รหัสคู่มือ สสธ./ ผสพ. 2 /2562 หน่วยงานที่จัดท า ฝ่ายวิศวกรรม และฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพื้นดินที่ 1-17 ส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพื้นดิน ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ที่ปรึกษา ผู้อ านวยการส านักส ารวจดา้นวิศวกรรมและธรณีวิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านวศิวกรรมส ารวจ ผู้อ านวยการส่วนส ารวจท าแผนทีภ่าคพื้นดิน พิมพ์ครั้งท่ี 1 จ านวน 1 เล่ม เดือนสิงหาคม 2562 หมวดหมู ่ส ารวจ

Page 3: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน
Page 4: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

เรื่อง การสอบเทียบมาตรฐานเครือ่งมือส ารวจ

จัดท ำโดย

ชื่อ-สกุล นำยสมยศ แก้วโมรำ ต ำแหน่ง ผู้อ ำนวยกำรส่วนส ำรวจท ำแผนที่ภำคพื้นดิน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยวันชัย พูลสวัสดิ์ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยปรีชำ เสำร์เขียว ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยโกเมศ คงแก้ว ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยสมชำติ มำกเพ็ง ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยโพธิ์ทอง ศรีวงษำ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยประสิทธิ์ แดงสกุล ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยสมชำย อินทร์เหย่ียว ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยสุรพงษ์ เลิศรัตนศำสตร์ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยวัลลภ จ ำนงค์พล ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยประยูร สำยศรีโกศล ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ

Page 5: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

ชื่อ-สกุล นำยอุดร นันกลำง ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยภูริพัฒน์ ช่วยควำมดี ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล สิบโทแสนคม รักษำชนม์ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยบรรจง ภู่แก้ว ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยเสวก พุทธ์แก้ว ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยสิทธิ์ ศรีริภำพ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยไชยรัตน์ ทองสันตติ์ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจอำวุโส สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยณัฐดนัย ต่วนมิหน้ำ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจช ำนำญงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำงสมปอง วงษ์ชัย ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจช ำนำญงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยธิษณะ เสรีคชหิรัญ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจช ำนำญงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชือ่-สกุล นำยโสยิ่ง แสนย่ำง ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจช ำนำญงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยธีรวัฒน์ ชนะภัย ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจช ำนำญงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยณรงค์ศักดิ์ โสภำวรำรัตน์ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจปฏิบัติงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยเจตนำ ไชยสิทธิ์ ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจปฏิบัติงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ ชื่อ-สกุล นำยชำตรี ชมเมือง ต ำแหน่ง นำยช่ำงส ำรวจปฏิบัติงำน สังกัดส ำนักส ำรวจด้ำนวิศวกรรมและธรณีวิทยำ

สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียด/ข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ที่อยู่ ฝ่ายวิศวกรรม ส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพื้นดิน

ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา เบอร์โทรศัพท์ 02 6695022

Page 6: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

ค าน า

การจัดท าคู่มือการปฏิบัติงาน ส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน มีวัตถุประสงค์รวบรวมองค์ความรู้ที่มีในองค์กร พัฒนา ปรับปรุงองค์ความรู้ให้เป็นระบบและมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการจัดท าแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ ของกรมชลประทาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2564 โดยใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ซึ่งด าเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management) ระบุให้ส่วนราชการก าหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า และการสนับสนุนจากยุทธศาสตร์ พันธกิจ รวมถึงความต้องการของผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของส่วนราชการ

คู่มือการปฏิบัติงานคู่มือ เรื่อง การสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือส ารวจ ของส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา ที่จัดท าขึ้นด้วยการรวบรวมข้ันตอนการปฏิบัติงานการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือส ารวจ ตามมาตรฐานสากลและมาตรฐานเครื่องมือในการส ารวจท าแผนที่ของส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา คุณภาพงานตามระเบียบ เอกสารหรือแบบฟอร์มที่ใช้ เงื่อนไขการปฏิบัติงานเป็นตัวควบคุม รวมถึงระบบติดตามประเมินผล ที่มีตัวชี้วัดกระบวนการในจุดวิกฤตเป็นตัวควบคุม

คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์และแนวทางส าหรับการปฏิบัติงานให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถน าไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นมาตรฐานเดียวกัน

คณะผู้จัดท า ส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

กรมชลประทาน

Page 7: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

สารบัญ

หน้า

วัตถุประสงค์ 1

ขอบเขต 1

ค าจ ากัดความ 1

หน้าที่ความรับผิดชอบ 2

Work Flow กระบวนการ 4

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 9

ระบบติดตามประเมินผล 12

เอกสารอ้างอิง 13

แบบฟอร์มที่ใช้ 13

ภาคผนวก 14

1) มาตรฐานเกณฑ์งานส ารวจชั้นที่ 3 15

2) ตัวอย่างเครื่องมือส ารวจที่ใช้ในการปฏิบัติงานส ารวจท าแผนที่

ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา 18

3) มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ 23

Page 8: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

1. วัตถุประสงค ์ 1.1 เพ่ือให้กรมชลประทานมีคู่มือกระบวนการการปฏิบัติงานที่ชัดเจน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ที่แสดงถึงรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานตามกระบวนต่างๆ ของหน่วยงาน และสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานที่มุ่งไปสู่การบริหารคุณภาพภายในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลงานที่ได้มาตรฐานเป็นไปตามเป้าหมาย ได้ผลิตผลหรือการบริการที่มีคุณภาพ และบรรลุข้อก าหนดที่ส าคัญของกระบวนงาน 1.2 เพ่ือเป็นหลักฐานแสดงวิธีการท างานด้านการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือส ารวจ ที่สามารถถ่ายทอดให้กับช่างส ารวจผู้ เข้ามาปฏิบัติงานใหม่ พัฒนาให้การท างานเป็นมืออาชีพ และใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร รวมทั้งแสดงหรือเผยแพร่ให้กับบุคคลภายนอก หรือผู้ใช้บริการให้สามารถเข้าใจและใช้ประโยชน์จากกระบวนการที่มีอยู่เพ่ือขอรับบริการที่ตรงกับความต้องการ 1.3 เพื่อให้การปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการส ารวจ ภายในส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา มีเครื่องมือที่ได้มาตรฐานพร้อมใช้ในการปฏิบัติงาน ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดท าแผนที่

2. ขอบเขต คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง การสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือส ารวจ ของส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน นี้ครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการลงทะเบียนรับ/ไม่รับ ส่งคืนเครื่องมือส ารวจ กระบวนการตรวจสอบเครื่องมือส ารวจเบื้ องต้น กระบวนการปรับแก้ เครื่องมือส ารวจสอบเทียบด้วยเครื่อง Collimator กระบวนการตรวจสอบเครื่องมือส ารวจในภาคสนาม จนถึงกระบวนการส่งให้ผู้รับบริการ ซึ่งเป็นหน่วยงานภายในส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา หรือหน่วยงานอื่นของกรมชลประทาน

3. ค ำจ ำกัดควำม มาตรฐาน หมายถึง สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์ที่รับรองกันทั่วไปหรือ สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์ส าหรับเทียบก าหนดทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2554) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Performance Standard) หมายถึง ผลการปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่งซึ่งถือเป็นเกณฑ์ท่ีน่าพอใจหรืออยู่ในระดับที่ผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่ท าได้ โดยจะมีกรอบในการพิจารณาก าหนดมาตรฐานหลายๆด้าน อาทิ ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติและผู้ใช้บริการ การสอบเทียบ (Calibration) หมายถึง กระบวนการหนึ่งในอุตสาหกรรมที่ใช้สร้างความมั่นใจว่าเครื่องมือวัดที่ใช้งานอยู่นั้น ยังคงมีคุณภาพและมาตรฐานถูกต้อง เหมาะสมแก่การน าไปใช้งานในกระบวนการผลิต เพ่ือน าไปสู่ผลลัพธ์สุดท้ายก็คือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานที่โรงงานก าหนด โดยการสอบเทียบเครื่องมือวัด คือการเปรียบเทียบค่าของเครื่องมือวัดของโรงงาน กับค่ามาตรฐานของห้องปฏิบัติการสอบเทียบที่สามารถสอบกลับได้สู่มาตรฐานแห่งชาติ หรือมาตรฐานระหว่างชาติได้ โดยในการสอบเทียบเครื่องมือวัด จะต้องรายงานค่าความไม่แน่นอนของการวัด (Uncertainty) ด้วยทุกครั้ง

คู่มือกำรปฏิบัตงิำน

เรื่อง กำรสอบเทียบมำตรฐำนเครื่องมอืส ำรวจ

Page 9: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

แท่น Collimator หมายถึง อุปกรณ์แสงส าหรับสอบเทียบสายใยเครื่องมือส ารวจ ให้ได้ในแนวดิ่งและแนวราบตามมาตรฐานสากล ตรวจสอบเครื่องมือส ำรวจภำคสนำม หมายถึง กำรทดสอบเครื่องมือส ำรวจในกระบวนกำรที่ก ำหนดในกำรใช้งำนภำคสนำมจริง หลังจำกสอบเทียบด้วยเครื่องมือสอบเทียบด้วยแท่น Collimator ISO 17123 หมายถึง มาตรฐานสากลส าหรับกระบวนการตรวจสอบอุปกรณ์กล้องส ารวจภาคสนาม มี 7 ส่วน ครอบคลุมอุปกรณ์กล้องส ารวจ กล้องประมวลผลรวม เลเซอร์ และGNSS 4. หน้ำที่ควำมรับผิดชอบ 4.1 ผู้อ านวยการส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา รับทราบและลงนาม 4.2 ผู้อ านวยการส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน ให้ค าปรึกษา แนะน า ถ่ายทอดความรู้ด้านส ารวจภาคพ้ืนดิน แก่หน่วยงานภายใน รวมถึงหน่วยงานอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้เข้าใจและสามารถเตรียมเครื่องมือส ารวจให้มรความพร้อม ส าหรับปฏิบัติงานส ารวจทางพ้ืนดินได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ เห็นชอบ ติดตาม ก ากับ ดูแล ตรวจสอบและลงนาม เสนอผู้อ านวยการส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา 4.3 หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม ติดตาม ก ากับ ดูแล ตรวจสอบ จัดหา บ ารุงรักษา สอบเทียบเครื่องมือส ารวจที่อยู่ในครอบครอง ของฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดิน 1 – 17 ให้มคีวามพร้อมใช้งาน ได้มาตรฐานสากล และตามมาตรฐานการส ารวจของกรมชลประทาน เพื่อใช้ในการท างาน 4.4 หัวหน้าฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดินที่ 1 - 17 ตดิตาม ก ากับ ดูแล ตรวจสอบ จัดหา บ ารุงรักษา สอบเทียบเครื่องมือส ารวจที่อยู่ในครอบครอง ของฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดิน 1 – 17 ให้มีความพร้อมใช้งาน ได้มาตรฐานสากล และตามมาตรฐานการส ารวจของกรมชลประทาน เพ่ือใช้ในการท างาน

Page 10: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

สรุปกระบวนกำร กำรสอบเทียบมำตรฐำนเครื่องมือส ำรวจ

กระบวนการ การสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือส ารวจ ประกอบด้วยขั้นตอนส าคัญ ดังนี้ 1. ลงทะเบียนรับ/ไม่รับ ส่งคืนเครื่องมือส ารวจ 2. ตรวจสอบเครื่องมือส ารวจเบื้องต้น 3. ปรับแก้เครื่องมือส ารวจสอบเทียบด้วยเครื่อง Collimator 4. ตรวจสอบเครื่องมือส ารวจในภาคสนาม 5. ส่งให้ผู้รับบริการ

Page 11: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

Work Flow กระบวนกำร เรื่อง กำรสอบเทียบมำตรฐำนเครื่องมือส ำรวจ

ล าดับที่ ผังกระบวนการ เวลา

1 1 วัน

2 1 เครื่อง /วัน

3

1 เครื่อง /วัน

4 1 เครื่อง /วัน

5 3 วัน

รวมเวลำทั้งหมด 7 วัน

ตรวจสอบเครื่องมือส ารวจ ในภาคสนาม

ลงทะเบียนรับ/ไม่รับ ส่งคืนเครื่องมือส ารวจ

YES

YES

ส่งให้ผู้รับบริการ

ปรับแกเ้ครื่องมือส ารวจ

สอบเทียบด้วยเครื่อง Collimator

ตรวจสอบ เครื่องมือเบื้องต้น

YES

NO

NO

Page 12: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

5. Work Flow กระบวนกำร ชื่อกระบวนกำร : กำรสอบเทียบมำตรฐำนเครื่องมือส ำรวจ ตัวช้ีวัดผลลัพธ์กระบวนกำรจัดท ำคู่มือกำรปฏิบัติงำน : ร้อยละของเครื่องมือส ารวจได้รับการสอบเทียบอย่างมีมาตรฐาน พร้อมใช้งานทันเวลาที่ก าหนด ล ำดับ

ผังกระบวนกำร ระยะเวลำ รำยละเอียดงำน มำตรฐำนคุณภำพงำน ผู้รับผิดชอบ

1

1 วัน

1. ลงทะเบียนรับ/ไม่รับ ส่งคืนเครื่องมือส ารวจ

1.1 ลงทะเบียนรับ 1.2 กรณีไม่สามารถสอบเทียบได้ เนื่องจากช ารุด

ให้ส่งคืน

มาตรฐาน ISO 17123-1 ISO 17123-2 ISO 17123-3 ISO 17123-4 ISO 17123-5 ISO 17123-6 (ดูในภาคผนวกหน้า 23-28)

หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม และ หัวหน้าฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดินที่ 1 - 17

ลงทะเบียน รับ/ไม่รับส่งคืน เครื่องมือส ารวจ

NO

Page 13: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

ล ำดับ

ผังกระบวนกำร ระยะเวลำ รำยละเอียดงำน มำตรฐำนคุณภำพงำน ผู้รับผิดชอบ

2

1 วัน/เครื่อง

2. ตรวจสอบเครื่องมือส ารวจเบื้องต้น

2.1 สอบถามสภาพทั่วไปของเครื่องมือส ารวจ 2.1.1 ตรวจสอบหน้าเลนส์ กระจกรับแสง

ต่างๆ 2.1.2 ตรวจสอบหลอดระดับฟองกลม และ

ฟองยาว 2.1.3 ตรวจสอบควงสามเส้าสกรูติดแท่นกล้อง 2.1.4 ตรวจสอบควงสัมผัสทางราบ ทางดิ่ง 2.1.5 ตรวจสอบควงปรับละเอียดองศาราบ

องศาดิ่ง 2.1.6 ตรวจสอบควงยึดองศาราบ องศาดิ่ง 2.1.7 ตรวจสอบช่องมองภาพ eyepiece 2.1.8 ตรวจสอบที่หมายเล็งจ าลอง 2.1.9 ตรวจสอบช่องใส่แบตเตอรี่ 2.1.10 ตรวจสอบควงปรับความชัดภาพ

สายใย 2.1.11 ตรวจสอบหน้าจอแสดงผล

มาตรฐานงานส ารวจของส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา และ มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจในสนาม ISO 17123-1, ISO 17123-2, ISO 17123-3 ISO 17123-4, ISO 17123-5, ISO 17123-6

(ดูในภาคผนวกหน้า 23-28)

ตรวจสอบเครื่องมือ เบื้องต้น

YES

NO

Page 14: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

ล ำดับ

ผังกระบวนกำร ระยะเวลำ รำยละเอียดงำน มำตรฐำนคุณภำพงำน ผู้รับผิดชอบ

3

1 วัน/เครื่อง

2.2 ตรวจสอบกล้องส่องหัวหมุด (Plummet) 2.2.1 ตรวจสอบช่องมองหัวหมุด 2.2.2 ตรวจสอบควงปรับความชัดมองหัวหมุด 2.2.3 ตรวจสอบแนวดิ่ง plum line

3. ปรับแกเ้ครื่องมือส ารวจสอบเทียบกับเครื่อง Collimator

3.1 ตรวจสอบปรับแก้ collimation กับ collimator

3.2 ตรวจสอบปรับแก้ plummet

3.3 ตรวจสอบปรับแก้หลอดระดับฟองกลม ฟองยาว

3.4 ตรวจสอบปรับแก้ควงสามเส้า และควงอื่นๆ

3.5 ท าความสะอาดเครื่องมือส ารวจ และกล่องบรรจุ

ปรับแกเ้ครื่องมือส ารวจ สอบเทียบด้วยเครื่อง

Collimator

NO

Page 15: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

ล ำดับ

ผังกระบวนกำร ระยะเวลำ รำยละเอียดงำน มำตรฐำนคุณภำพงำน ผู้รับผิดชอบ

4

5

1 วัน/เครื่อง

3 วัน

4. การตรวจสอบเครื่องมือส ารวจภาคสนาม 4.1 การตรวจสอบภาคสนาม ตามมาตรฐานการ

ทดสอบเครื่องมือส ารวจในสนาม

ISO 17123-1,ISO 17123-2,ISO 17123-3 ISO 17123-4,ISO 17123-5,ISO 17123-6

(ดูในภาคผนวกหน้า 23-28)

5. ส่งเครื่องมือส ารวจให้ผู้รับบริการ

ส่งให้

ผู้รับบริกำร

ตรวจสอบเครื่องมือส ำรวจ ในภำคสนำม

YES

NO

Page 16: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

6. ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน

รำยละเอียดงำน ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน ระเบียบ เอกสำร บันทึก แนวทำงแบบฟอร์มที่ใช้

ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขกำรปฏิบัติงำน

1. ลงทะเบียนรับ/ไม่รับ ส่งคืนเครื่องมือส ารวจ

1. ลงทะเบียนรับ/ไม่รับ ส่งคืนเครื่องมือส ารวจ 1.1 ลงทะเบียนรับเครื่องมือ 1.1.1 บันทึกข้อมูลในสมุดลงทะเบียน ได้แก่วันที่

ชื่อหน่วยงานเจ้าของ ยี่ห้อ รุ่น หมายเลข จ านวนเครื่องมือส ารวจ

1.1.2 บันทึกอาการเบื้องต้น ความเสียหาย 1.1.3 แจ้งงบประมาณท่ีใช้ (ถ้ามี) 1.1.4 แจ้งระยะเวลาที่ใช้สอบเทียบ 1.2 บันทึกอุปกรณ์ทุกชิ้น พร้อมถ่ายภาพเก็บใว้

1.3 กรณีไม่สามารถสอบเทียบได้ เนื่องจากช ารุดให้ส่งคืนทันที

สมุดลงทะเบียน รับ/คืน การสอบเทียบเครื่องมือส ารวจ (ดูในหน้า 13)

หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม และ หัวหน้าฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดินที่ 1 - 17

Page 17: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๐

รำยละเอียดงำน ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน ระเบียบ เอกสำร บันทึก แนวทำงแบบฟอร์มที่ใช้

ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขกำรปฏิบัติงำน

2. ตรวจสอบเครื่องมือส ารวจเบื้องต้น

2. ตรวจสอบเครื่องมือส ารวจเบื้องต้น 2.1 ตรวจสอบสภาพทั่วไปของเครื่องมือส ารวจ

2.1.1 ตรวจสอบหน้าเลนส์ กระจกรับแสงต่างๆ 2.1.2 ตรวจสอบหลอดระดับฟองกลม และฟองยาว 2.1.3 ตรวจสอบควงสามเส้า สกรูติดแท่นกล้อง 2.1.4 ตรวจสอบควงสัมผัสทางราบ ทางดิ่ง 2.1.5 ตรวจสอบควงปรับละเอียดองศาราบ องศาดิ่ง 2.1.6 ตรวจสอบควงยึดองศาราบ องศาดิ่ง 2.1.7 ตรวจสอบช่องมองภาพ eyepiece 2.1.8 ตรวจสอบที่หมายเล็งจ าลอง 2.1.9 ตรวจสอบช่องใส่แบตเตอรี่ 2.1.10 ตรวจสอบควงปรับความชัดภาพสายใย 2.1.11 ตรวจสอบหน้าจอแสดงผล

2.2 ตรวจสอบกล้องส่องหัวหมุด (Plummet)

2.2.1 ตรวจสอบช่องมองหัวหมุด 2.2.2 ตรวจสอบควงปรับความชัดมองหัวหมุด

2.2.3 ตรวจสอบแนวดิ่ง plum line

หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม และ หัวหน้าฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดินที่ 1 - 17

Page 18: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๑

รำยละเอียดงำน ขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน ระเบียบ เอกสำร บันทึก แนวทำงแบบฟอร์มที่ใช้

ผู้รับผิดชอบ เงื่อนไขกำรปฏิบัติงำน

3. ปรับแกเ้ครื่องมือส ารวจสอบเทียบกับเครื่อง Collimator

4. การตรวจสอบเครื่องมือส ารวจภาคสนาม

5. ส่งเครื่องมือส ารวจให้ผู้รับบริการ

3. ปรับแก้เครื่องมือส ารวจสอบเทียบกับเครื่อง Collimator

3.1 ตรวจสอบปรับแก้ collimation กับ collimator

3.2 ตรวจสอบปรับแก้ plummet

3.3 ตรวจสอบปรับแก้หลอดระดับฟองกลม ฟองยาว

3.4 ตรวจสอบปรับแก้ควงสามเส้า และควงอื่นๆ

3.5 ท าความสะอาดเครื่องมือส ารวจ และกล่องบรรจุ

4. การตรวจสอบเครื่องมือส ารวจภาคสนาม 4.1 การตรวจสอบภาคสนาม มาตรฐานการทดสอบ

เครื่องมือส ารวจในภาคสนาม ให้ได้ตามมาตรฐาน ISO 17123-1,ISO 17123-2,ISO 17123-3 ISO 17123-4,ISO 17123-5,ISO 17123-7

(ดูในภาคผนวกหน้า 23-28)

5. ส่งเครื่องมือส ารวจให้ผู้รับบริการ

หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม และ หัวหน้าฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดินที่ 1 - 17

Page 19: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๒

7. ระบบติดตำมประเมินผล กำรสอบเทียบมำตรฐำนเครื่องมือส ำรวจ

กระบวนกำร มำตรฐำน/คุณภำพงำน วิธีกำรติดตำมประเมินผล ผู้ติดตำม/ประเมิน ข้อเสนอแนะ

1. ลงทะเบียนรับ/ไม่รับ ส่งคืนเครื่องมือส ารวจ

2. ตรวจสอบเครื่องมือส ารวจเบื้องต้น

3. ปรับแก้เครื่องมือส ารวจสอบเทียบกับเครื่อง Collimator

4. การตรวจสอบเครื่องมือส ารวจภาคสนาม

5. ส่งเครื่องมือส ารวจให้ผู้รับบริการ

มีความพร้อมในการด าเนินงาน สอดคล้องกับอัตราก าลังที่มีอยู่และงบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ

การด าเนินงานตามระยะเวลาที่ก าหนดไว้

เครื่องมือส ารวจสอบเทียบ ตามมาตรฐาน ISO 17123-1-6

(ดูในภาคผนวกหน้า 23-28)

งานส ารวจและผลิตแผนที่ เป็นไปตามมาตรฐานของส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

ตามมาตรฐาน ISO 17123

ตรวจสอบและลงนาม

ก ากับ ดูแลการปฏิบัติงานตามหลักการสอบเทียบเครื่องมือส ารวจ

ตรวจสอบข้อมูลครบถ้วน ถูกต้องตามเกณฑ์งานที่ก าหนด

ก ากับ ดูแลการปฏิบัติงานตามหลักการส ารวจ

หัวหน้าฝ่ายวิศวกรรม และ หัวหน้าฝ่ายส ารวจท าแผนที่ทางพ้ืนดินที่ 1 - 17

ผู้อ านวยการส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน

ผู้อ านวยการส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

Page 20: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๓

8. เอกสำรอ้ำงอิง

ส่วนส ารวจท าแผนที่ภาคพ้ืนดิน ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา. คู่มือปฏิบัติงาน กระบวนการหลักการส ารวจและท าแผนที่ กรมชลประทาน ปี พ.ศ. 2548

มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ ISO 17123-1, ISO 17123-2, ISO 17123-3, ISO 17123-4, ISO 17123-5, ISO 17123-6

รายละเอียดตามเอกสารภาคผนวกท่ีแนบ

9. แบบฟอร์มที่ใช้

9.1 สมุดลงทะเบียน รับ/คืน การสอบเทียบเครื่องมือส ารวจ

Page 21: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๔

ภาคผนวก

Page 22: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๕

1) มาตรฐานงานส ารวจเกณฑ์งานส ารวจชั้นที่ 3

มาตรฐานเชิงคุณภาพ

มาตรฐานของงานส ารวจ ใช้ความละเอียดของงานเป็นเกณฑ์ก าหนดเชิงคุณภาพ โดยความละเอียดของงานส ารวจจะขึ้นอยู่กับ เครื่องมือ วิธีการ และช่างผู้ปฏิบัติงาน งานที่มีความละเอียดสูง ต้องด าเนินการด้วยเครื่องมือที่มีสมรรถนะสูง ก าหนดวิธีการด าเนินการโดยช่างผู้ปฏิบัติงานที่มีความช านาญ

งานโยงค่าพิกัดด้วยวิธีการวงรอบชั้นที่ 3 1. ข้อก าหนดเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้อง

1.1 การวัดมุม 1.1.1 ใช้กล้องวัดมุมที่มีความละเอียด 1 ลิปดา หรือดีกว่า กรณีที่ใช้กล้องวัดมุม

อีเล็กทรอนิคส์ต้องมีความละเอียด 20 ฟิลิปดา หรือดีกว่า 1.1.2 จ านวนศูนย์ของการวัด 2 ศูนย ์1.1.3 ความต่างของแต่ละศูนย์กับค่าปานกลางไม่เกิน 10 ฟิลิปดา 1.1.4 สถานีแรกและสถานีสุดท้ายของการวัดมุมต้องไม่เป็นหมุดเดียวกัน

1.2 การวัดระยะ 1.2.1 ใช้เครื่องวัดระยะอิเลคทรอนิคส์ หรือโซ่ลานเหล็ก (STEEL TAPE) 1.2.2 ความละเอียดของการวัดระยะ 1/7,500 หรือดีกว่า

1.3 การวัดอาซิมุทดาราศาสตร์ 1.3.1 ท าการรังวัดอาซิมุท ทุก 30 – 40 มุม 1.3.2 จ านวนศูนย์ของการวัด 8 – 12 ศูนย ์1.3.3 Probable Error ของผลปานกลางไม่เกิน 5 ฟิลิปดา 1.3.4 จ านวนแก้ของมุมวงรอบเมื่อตรวจสอบกับค่าอาซิมุท ไม่เกินมุมละ 5

ฟิลิปดา หรือ 15 ฟิลิปดาN (N เป็นจ านวนมุม) 1.3.5 ความคลาดเคลื่อนในการบรรจบทางต าแหน่ง เมื่อปรับแก้มุมแล้วไม่เกิน

1/5,000 2. การกรุยแนวและสร้างหมุดหลักฐาน

2.1 ค้นหาหมุดหลักฐานที่จะใช้ออกงานและเข้าบรรจบ ซึ่งเป็นหมุดหลักฐานชั้นที่ 3 หรือชั้นที่สูงกว่า

2.2 กรุยแนวเส้นวงรอบจากหมุดหลักฐานที่ทราบค่าแล้ว เข้าเขตโครงการพร้อมทั้งก าหนดต าแหน่ง ของหมุดวงรอบและต าแหน่งที่จะสร้างหมุดหลักฐานถาวร

2.3 สร้างหมุดหลักฐานถาวร แบบ ข. เป็นคู่ทุกระยะ 4 – 5 กม. และ แบบ ค. เป็นคู่ทุกระยะ 2 กม.

2.4 สร้างหมุดชั่วคราว (หมุดไม้) ทุกหมุดวงรอบ 3. การวัดมุมและวัดระยะ

3.1 วัดมุมทุกหมุดวงรอบ 3.2 วัดระยะระหว่างหมุดวงรอบ 3.3 วัดอาซิมุทดาราศาสตร์ เพ่ือควบคุมทิศทางของเส้นวงรอบทุก 40 มุม

หรือน้อยกว่า

Page 23: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๖

4. การค านวณ ค านวณและตรวจสอบค่ามุมและระยะให้อยู่ในเกณฑ์ตามข้อ 1. และค านวณค่าพิกัดในระบบพิกัด ยู ที เอ็ม

งานโยงค่าระดับ โดยวิธีการระดับชั้นที่ 3

1. ข้อก าหนดเฉพาะและมาตรฐานความถูกต้อง 1.1 เครื่องมือและอุปกรณ์

1.1.1 ใช้กล้องระดับอตัโนมัติ หรือกล้องTilting ซึ่งมีความไวของหลอดระดับ 60 ฟิลิปดา ต่อ 2 มม. หรือดีกว่า

1.1.2 ใช้ไม้แบ่งส่วนเมตร แบบธรรมดา หรือ 1.1.3 ใช้กล้องระดับดิจิตอล (Digital Level) ซึ่งมีก าลังขยายของกล้องส่อง ไม่

น้อยกว่า 24 เท่า และความเบี่ยงเบนมาตรฐานของการท าระดับไป – กลับ 2.0 มม./กม. หรือดีกว่า

1.1.4 ใช้ไม้แบ่งส่วนเมตร ชนิดแถบรหัส (Bar Code) มีหลอดระดับฟองกลมประกอบ และเหล็กรองรับไม้แบ่งส่วนเมตร (Ground Plates)

1.2 การปฏิบัติงานสนาม 1.2.1 ความยาวของสายการระดับ ไม่เกิน 40 กม. 1.2.2 ท าระดับเที่ยวเดียว (Single Run) ถ้าหมุดหลักฐานที่ใช้ออกงานและเข้า

บรรจบ อยู่ห่างกันไม่เกิน 20 กม. ถ้าเกิน 20 กม.ให้ท าระดับแบบไป – กลับ

1.2.3 ถ้าไม่มีหมุดหลักฐานเข้าบรรจบ ให้ท าระดับแบบไป – กลับ โดยเดินระดับเท่ียว ท ากลับ ผ่านหมุดหลักฐานทุกหมุดของเที่ยวท าไป

1.2.4 แบ่งสายการระดับออกเป็นตอน ความยาวตอนละ 1 – 3 กม. 1.2.5 การอ่านค่าระดับให้อ่านทั้งสามสายใย คือ สายใยบน ( U) สายใยกลาง

(M) และสายใยล่าง (L) โดยให้ ผลบวกของสายใยบนกับสายใยล่าง เทียบกับ 2เท่าของสายใยกลาง ต้องไม่เกิน 2 มม.

1.2.6 ระยะไกลสุดระหว่างกล้องกับไม้ระดับ ไม่เกิน 100 ม. 1.2.7 หมุดออกงาน และหมุดบรรจบต้องไม่ใช่หมุดเดียวกัน 1.2.8 ความคลาดเคลื่อนระหว่างเที่ยวท าไปกับเท่ียวท ากลับ และในการเข้า

บรรจบหมุดไม่เกิน 12 มม.K (K= ระยะทางเป็น กม.) 1.3 การกรุยแนวและสร้างหมุดหลักฐาน

1.3.1 ค้นหาหมุดหลักฐาน การระดับชั้นที่ 3 หรือชั้นสูงกว่า เพ่ือใช้ออกงานและเข้าบรรจบ

1.3.2 กรุยแนวสายการระดับ และก าหนดต าแหน่งที่จะสร้างหมุดหลักฐาน 1.3.3 สร้างหมุดหลักฐานถาวร แบบ ข. ทุกระยะ 4 – 5 กม. และ แบบ ค.

ทุกระยะ 2 กม. 1.4 การวัดระดับ

1.4.1 เครื่องมือ วิธีการวัด และค านวณปรับแก้ให้เป็นไปตามเกณฑ์ก าหนดของงานระดับชั้นที่ 3

Page 24: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๗

มาตรฐานระยะเวลา อัตราก าลัง และเครื่องมือ

การส ารวจโยงค่าพิกัดและระดับภูมิประเทศ ชั้นที่ 3 วัตถุประสงค์เพ่ือหาค่าพิกัด หรือหาค่าระดับของหมุดหลักฐานที่สร้างขึ้นใหม่ในเขตงานซึ่งจะใช้เป็นค่าอ้างอิงส าหรับงานส ารวจท าแผนที่ งานส ารวจด้านวิศวกรรมและงานส ารวจเพ่ือการก่อสร้าง 1. งานส ารวจโยงค่าพิกัด โดยวิธีวงรอบพิกัดชั้นที่ 3 เพ่ือหาค่าพิกัด UTM หรือพิกัดฉาก และฝังหมุดหลักฐานแบบ ข. ทุกระยะ 4-5 กิโลเมตร และแบบ ค. ทุกระยะ 2 กิโลเมตร • ชุดส ารวจ 1 ชุด ประกอบด้วย 1. ช่างส ารวจ 2 คน 2. พนักงานขับรถยนต์ 1 คน 3. คนงานปฏิบัติงานสนาม 7 คน • ระยะเวลาท างาน 22 วัน/เดือน • ผลงาน 1. ภูมิประเทศเป็นที่ราบหรือไร่นาปนป่า 52 กม./เดือน 2. ภูมปิระเทศเป็นป่าโปร่ง หรือ ลูกเนิน 44 กม./เดือน 3. ภูมิประเทศเป็นป่าทึบ ภูเขา พรุ หรือ 36 กม./เดือน เขตชุมชนหนาแน่น • เครื่องมือ 1. กล้อง Total Station (พร้อมอุปกรณ์) 1 ชุด 2. อุปกรณ์และเครื่องมืออ่ืนๆตามมาตรฐานงานส ารวจ 2. งานโยงค่าระดับโดยวิธีระดับชั้น 3 เพ่ือหาค่าระดับ (รทก.) ของหมุดหลักฐานและฝังหมุดหลักฐานถาวรแบบ ข. ทุกระยะ 4-5 กิโลเมตร และ แบบ ค. ทุกระยะ 2 กิโลเมตร • ชุดส ารวจ 1 ชุด ประกอบด้วย 1. ช่างส ารวจ 2 คน 2. พนักงานขับรถยนต์ 1 คน 3. คนงานปฏิบัติงานสนาม 8 คน • ระยะเวลาท างาน 22 วัน/เดือน • ผลงาน 1. ภูมิประเทศเป็นที่ราบหรือไร่นาปนป่า 68 กม./เดือน 2. ภูมิประเทศเป็นป่าโปร่ง หรือ ลูกเนิน 56 กม./เดือน 3. ภูมิประเทศเป็นป่าทึบ ภูเขา พรุ หรือ 36 กม./เดือน เขตชุมชนหนาแน่น • เครื่องมือ 1. กล้องระดับ (พร้อมอุปกรณ์) 2 ชุด 2. อุปกรณ์และเครื่องมืออ่ืนๆตามมาตรฐานงานส ารวจ

Page 25: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๘

2. ส่วนประกอบของเครื่องมือส ารวจที่ใช้ในการปฏิบัติงานส ารวจท าแผนที่ ส านักส ารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

ส่วนประกอบของกล้องระดับ

Page 26: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๑๙

ส่วนประกอบของกล้องระดับอัตโนมตัิ

1. หน้าเลนส์ 2. แนวเล็ง 3. กระจกรับแสง 4. หลอดระดับฟองกลม 5. สกรูติดขากล้อง 6. ควงสามเส้า 7. ควงสัมผัสทางราบ 8. เลนส์ช่องตามอง 9. ควงปรับระยะชัด 10. ล ากล้อง 11.ควงสัมผัสทางราบ 12. จานองศา 13. ฐานกล้อง

Page 27: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๐

ส่วนประกอบของกล้องวัดมุม และกล้องประมวลผลรวม(Total station)

Page 28: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๑

รายละเอียดคุณลักษณะของชุดสอบเทียบเครื่องมือส ารวจ Collimator system

Page 29: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๒

ภาพแสดงการสอบเทียบเครื่องมือส ารวจ Collimator system

Page 30: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๓

3. มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ

มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ ISO 17123-1

Page 31: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๔

มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ ISO 17123-2

Page 32: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๕

มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ ISO 17123-3

Page 33: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๖

มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ ISO 17123-4

Page 34: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๗

มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ ISO 17123-5

Page 35: คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)mapsurvey.rid.go.th/map/wp-content/uploads/2019/10/6... · 2019. 10. 31. · คู่มือการปฏิบัติงาน

๒๘

มาตรฐานการทดสอบเครื่องมือส ารวจ ISO 17123-6