กลุ มงานห ุด - parliament...กล มงานห ด ส าน องสม...

53

Upload: others

Post on 06-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ
Page 2: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

คํานํา

วารสารวิชาการ เปนสื่อความรูประเภทหนึ่งที่มีความสําคัญตอการศึกษาคนควา อางอิง ที่ทันตอเหตุการณ ทําใหทราบถึงความกาวหนา และผลงานใหมๆ ในแขนงวิชาตางๆ กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ ไดคัดเลือกบทความที่นาสนใจจากวารสารที่มีใหบริการในหองสมุด มาจัดทําสาระสังเขปรายเดือนเพื่อชวยอํานวยความสะดวกใหกับสมาชิกรัฐสภาและผูใช ไดเขาถึงวารสารและเปนคูมือในการติดตามเลือกอานบทความที่สนใจจากวารสารที่ตองการไดอยางรวดเร็วและมากที่สุด สาระสังเขปบทความวารสาร ฉบับนี้ไดดําเนินมาเปนปที่ 4 หากผูใชทานใดมีความประสงคจะอานบทความ หรือวารสารฉบับใด โปรดติดตอที่เคานเตอรบริการสารสนเทศ หองสมุดรัฐสภา สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร อาคารรัฐสภา 3 ช้ัน 1 ถนนอูทองใน เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 หมายเลขโทรศัพท 0 2244 1287, 0 2244 1375 หรือ e-mail : [email protected], และ [email protected]

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร

สิงหาคม 2550

Page 3: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

คําช้ีแจง

สาระสังเขปบทความวารสารเลมนี้ เปนการสรุปยอเนื้อหาของบทความจากวารสารตางๆ ทั้งวารสารภาษาไทยและวารสารภาษาอังกฤษ โดยจดัเรียงตามลําดบัชื่อวารสาร ภายใตช่ือวารสารจัดเรียงตามลําดับอักษรชื่อบทความ ตั้งแต ก-ฮ หรือ A-Z รายละเอียดประกอบดวย

ช่ือวารสาร

กฎหมาย คณะนิติศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1. “กฎหมายแรงงาน ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน”. / โดย อุดม งามเมืองสกุล. ว.กฎหมาย คณะ นิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 21-42.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ซึ่งกฎหมาย ฉบับนี้ไดบัญญัติเรื่อง การคุมครองลูกจางในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไวเปนกรณีเฉพาะในมาตรา 23 โดยแบงเนื้อหาออกเปน 6 สวน คือ สวนที่ 1 บทนํา สวนที่ 2 แนวคิดวาดวยการคุมครองการทํางานของผูปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 มาตรา 23 สวนที่ 3 สาระสําคัญของกฎกระทรวงซึ่งออกตามบทบัญญัติ มาตรา 23 สวนที่ 4 เรื่องใหมที่บัญญัติในกฎกระทรวงซึ่งออกตามบทบัญญัติ มาตรา 23 เชน คณะกรรมการคุมครองประจําสถาบัน เปนตน สวนที่ 5 ขอพิจารณาเกี่ยวกับกฎกระทรวงซึ่งออกตามบทบัญญัติมาตรา 23 เชน ปญหาเกี่ยวกับการกําหนดภารงานแนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับบทบัญญัติ มาตรา 23 และกฎหมายแรงงานสัมพันธ เปนตน และสวนที่ 6 บทสรุป

Page 4: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

สารบญั

หนา คํานํา.............................................................................................................................................................ก

คําชี้แจงวิธีใช............................................................................................................................................... ข

สารบัญ ......................................................................................................................................................ค-ง

กฎหมาย คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย ...................................................................................... 1

กฎหมายใหม ................................................................................................................................................ 2

กรมบัญชีกลาง ............................................................................................................................................. 4

การเงินธนาคาร ............................................................................................................................................ 6

QUALITY.................................................................................................................................................... 8

ดํารงราชานุภาพ ......................................................................................................................................... 10

ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกจิ ..................................................................................................................... 13

ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายภาษอีากร .............................................................................................................. 16

นโยบายพลังงาน ........................................................................................................................................ 18

บริหารธุรกิจ ............................................................................................................................................... 20

ผูจัดการ ...................................................................................................................................................... 24

ผูสงออก ..................................................................................................................................................... 25

Page 5: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร.

หนา

สารบญั

วิชาการศาลปกครอง .................................................................................................................................. 28

เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร ......................................................................................................................... 31

สมุนไพรเพื่อสุขภาพ (Herb for Health) ..................................................................................................... 34

โลกสีเขียว .................................................................................................................................................. 35

อาหารและยา .............................................................................................................................................. 36

ASIAN SURVEY ...................................................................................................................................... 40

FOREIGN POLICY .................................................................................................................................. 42

HAVARD BUSINESS REVIEW.............................................................................................................. 44

THE REVIEW OF POLITICS .................................................................................................................. 46

Page 6: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 1

สาระสังเขป

กฎหมาย คณะนิติศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1. “กฎหมายแรงงาน ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน”. / โดย อุดม งามเมืองสกุล. ว.กฎหมาย คณะ นิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 21-42.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 ซึ่งกฎหมาย ฉบับนี้ไดบัญญัติเรื่อง การคุมครองลูกจางในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนไวเปนกรณีเฉพาะในมาตรา 23 โดยแบงเนื้อหาออกเปน 6 สวน คือ สวนที่ 1 บทนํา สวนที่ 2 แนวคิดวาดวยการคุมครองการทํางานของผูปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 มาตรา 23 สวนที่ 3 สาระสําคัญของกฎกระทรวงซึ่งออกตามบทบัญญัติ มาตรา 23 สวนที่ 4 เรื่องใหมที่บัญญัติในกฎกระทรวงซึ่งออกตามบทบัญญัติ มาตรา 23 เชน คณะกรรมการคุมครองประจําสถาบัน เปนตน สวนที่ 5 ขอพิจารณาเกี่ยวกับกฎกระทรวงซึ่งออกตามบทบัญญัติมาตรา 23 เชน ปญหาเกี่ยวกับการกําหนดภาระงานแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับบทบัญญัติ มาตรา 23 และกฎหมายแรงงานสัมพันธ เปนตน และสวนที่ 6 บทสรุป 2. “สนธิสัญญาวาดวยการสงเสริมและคุมครองการลงทุน (Bilateral Inrestment Treaty-BIT)”.

/ โดย กรมสนธิสัญญา กระทรวงตางประเทศ. ว.กฎหมาย คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ปที่ 26 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2550) : 107-137.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง สนธิสัญญาวาดวยการสงเสริมและคุมครองการลงทุน ซึ่งแบง เนื้อหาออกเปน 5 สวน คือ สวนที่ 1 ความเปนมาและวัตถุประสงคของการจัดทําสนธิสัญญาฯ (BIT) สวนที่ 2 ขอพิจารณาของการคุมครองการลงทุนในแงกฎหมายระหวางประเทศ สวนที่ 3 ขอบทสําคัญของสนธิสัญญาสงเสริมและคุมครองการลงทุน สวนที่ 4 กฎหมายอนุวัติการใหเปนไปตามพันธกรณี BIT และ สวนที่ 5 การระงับขอพิพาทตามสนธิสัญญาสงเสริมและคุมครองการลงทุน นอกจากนี้ในตอนทายไดมีรายละเอียดของความตกลงระหวางราชอาณาจักรไทยและสาธารณรัฐตุรกีเพื่อการสงเสริมและคุมครองการลงทุนตางตอบแทนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประกอบดวย

บทความวารสาร

Page 7: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 2

สาระสังเขป

กฎหมายใหม

1. “คดีเรียกคาทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสรางจากการถูกเวนคืน”. / โดย ธนะชัย ผดุงธิติ. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 85 (กรกฎาคม 2550) : 40-43.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง คดีเรียกคาทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสรางจากการถูกเวนคืน โดย ผูเขียนไดนําคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 8071/2549 มานําเสนอ เพ่ือแสดงใหเห็นถึงการวางหลักเกณฑการพิจารณาในการกําหนดคาทดแทนที่ดินและสิ่งปลูกสรางจากการถูกเวนคืนใหแกประชาชน ซึ่งคดีนี้มีประเด็นที่ศาลฎีกาไดวินิจฉัยวางหลักไว อาทิเชน ประเด็นเกี่ยวกับอธิบดีกรมทางหลวงซึ่งเปนเจาหนาที่เวนคืนตามพระราชกฤษฎีกาฯ มีอํานาจฟองหรือไม? ประเด็นเกี่ยวกับเงินคาทดแทนที่ดินและเงินทดแทนสิ่งปลูกสรางที่รัฐมนตรีฯ วินิจฉัยใหจายเพิ่มขึ้นแกโจทกนั้นเปนธรรมหรือไมอยางไร และประเด็นเกี่ยวกับวันเริ่มตน คํานวณดอกเบี้ยของยอดเงินทดแทนในกรณีจําเลยไดวางเงินคาทดแทนอสังหาริมทรัพยโดยฝากไวกับธนาคารออมสินแลว ในกรณีโจทกทําสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพยกับจําเลยและในกรณีโจทกไมไดทําสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพยกับจําเลย ซึ่งหลักการหาวันเริ่มตนคํานวณดอกเบี้ยของยอดเงินคาทดแทนอสังหาริมทรัพยแตกตางกัน

2. “ความเห็นนอกศาล ( off-Bench Judicial Comment)”. / โดย ชุติมา หัตถธรรมนูญ. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 85 (กรกฎาคม 2550) : 46-48.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึง บทบาทหนาที่ของตุลาการแสดงออกหรือแสดงความคิดเห็น นอกศาล ซึ่งมีประเด็นปญหาวา ตุลาการสามารถแสดงออกหรือแสดงความคิดเห็นนอกศาลไดมากนอยเพียงใดและในกรณีใดบาง โดยไดมีการเปรียบเทียบบทบาทหนาที่ของตุลาการจากประเทศตางๆ อาทิเชน ศาลประเทศสหรัฐอเมริกา ศาลประเทศอังกฤษ ศาลไอริชในประเทศไอรแลนด กับประมวลจริยธรรมขาราชการตุลาการของประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอยางการแสดงความคิดเห็นนอกศาลของตุลาการประเทศตางๆ วาทําไดแคไหน เพียงใด เชน การเขียนบทความวิชาการ การเปนอาจารยมหาวิทยาลัย เปนตน

บทความวารสาร

Page 8: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 3

สาระสังเขป

3. “พ.ร.บ.ความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร”. / โดย อัศวิน อาชาไนย. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 85 (กรกฎาคม 2550) : 4-12.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ซึ่งประกาศลงใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2550 และมีผลบังคับใชต้ังแตวันที่ 18 กรกฎาคม 2550 เปนตนไป โดยบทความนี้จะแบงการอธิบายเปน 3 สวน คือ 1) นิยามของศัพททางกฎหมายที่ใชในพระราชบัญญัตินี้ เชน คําวา “ระบบคอมพิวเตอร” คําวา “ขอมูลคอมพิวเตอร” คําวา “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” เปนตน 2) ภาคความผิด ซึ่ง พ.ร.บ. นี้กําหนดการกระทําที่เปนความผิดไวหลายประการ เชน การเผยแพรเนื้อหาอันไมเหมาะสม การเผยแพรภาพตัดตอของผูอื่นใหเสียหาย การสงขอมูลโดยปกปดแหลงขอมูล เปนตน พรอมบทลงโทษของความผิดแตละประเภท และ 3) ภาคพนักงานเจาหนาที่ซึ่งเปนการกําหนดอํานาจหนาที่ของเจาหนาที่ที่กระทําไดเอง และอํานาจหนาที่ที่เจาหนาที่ตองขออนุญาตศาลกอน รวมทั้งอธิบายอํานาจหนาที่ของเจาหนาที่ทั้งหมดอยาละเอียด เชน การยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร ใหขอมูลจากคอมพิวเตอรอางเปนพยานหลักฐานได เปนตน นอกจากนี้ในตอนทายของบทความยังมีพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ประกอบดวย

4. “ราง พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคง อํานาจรัฐซอนรัฐ?”. / โดย เมธี ศรีอนุสรณ. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 85 (กรกฎาคม 2550) : 23-26.

บทความเรื่องนี้ เปนการวิพากษ วิจารณรางพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงใน

ราชอาณาจักร พ.ศ.... วาราง พ.ร.บ. ฉบับนี้ใหอํานาจทหารมากไปหรือไม และมีการถวงดุลท่ีเหมาะสมหรือไม โดยเริ่มอธิบายจากหลักการและเหตุผลของราง พ.ร.บ. นี้ นิยามศัพทกฎหมาย โครงสรางคณะกรรมการรักษาความมั่นคงภายในในระดับประเทศ ระดับภาคและระดับจังหวัด การใชอํานาจของเจาหนาที่ เชน อํานาจบัญชาการหนวยงานของรัฐ อํานาจบัญชาการประชาชน เปนตน ขอยกเวนความรับผิด และบทกําหนดโทษ และผูเขียนเองยังไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับราง พ.ร.บ. นี้ ในตอนทายของบทความ โดยการวิเคราะหแตละมาตราตามบทบัญญัติของกฎหมาย และวิเคราะหปญหาของการบังคับใชกฎหมายที่จะเกิดขึ้นในอนาคตดวย

บทความวารสาร

Page 9: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 4

สาระสังเขป

5. “อํานาจการประเมินภาษีตามมาตรา 18 แหงประมวลรัษฎากร”. / โดย เถลิงศักดิ์ วงศวานิช. ว.กฎหมายใหม. ปที่ 5 ฉบับที่ 85 (กรกฎาคม 2550) : 44-45.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง การประเมินภาษีของเจาพนักงานประเมินตามมาตรา 18 แหง ประมวลรัษฎากร โดยผูเขียนจะเริ่มอธิบายจากวิธีการเสียภาษีที่มีอยูดวยกัน 3 วิธี คือ 1) วิธีประเมินตนเอง 2) วิธีประเมินโดยเจาพนักงานประเมิน และ 3) วิธีหักภาษี ณ ที่จาย แตจะเนนรายละเอียดวิธีประเมินโดยเจาพนักงานประเมินซึ่งมี 2 กรณี คือ 1) กรณีที่ผูเสียภาษีมีเงินไดแตไมยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีหรือนําสงภาษีไมถูกตองครบถวน 2) กรณีผูเสียภาษีแสดงการคํานวณภาษีไวไมถูกตองในรายละเอียดตางๆ เชน คํานวณตัวเลขผิดพลาด หักคาใชจายไมถูกตอง หักคาลดหยอนผิด เปนตน ซึ่งในกรณีที่ 2 นี้ เจาพนักงานมีอํานาจประเมินภาษีตามมาตรา 18 แหงประมวลรัษฎากร บทความนี้จึงไดอธิบายการประเมินภาษีตามมาตรา 18 แหงประมวลรัษฎากรอยางละเอียดวามีวิธีใชอยางไร มีขอจํากัดอยางไร ใชในกรณีใดบาง และมีวิธีการอุทธรณอยางไร เพื่อเปนประโยชนตอผูเสียภาษี

กรมบญัชีกลาง

1. “การใชยาอยางสมเหตุผลกับบัญชียาหลักแหงชาติ”. / โดย กลุมงานสวัสดิการรักษาพยาบาล ขาราชการ กรมบัญชีกลาง. ว.กรมบัญชีกลาง. ปที่ 48 เลมที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2550) : 1.

ประเทศไทยมีการบริโภคยาประมาณปละ 67,000 ลานบาท ซึ่งสูงมากเมื่อ เทียบกับ ประเทศเพื่อนบานและประเทศที่พัฒนาแลว ทําใหประเทศไทยตองนําเขายาสําเร็จรูปและวัตถุดิบจํานวนมหาศาล ขณะที่สุขภาพของคนไทยมิไดดีไปกวาประเทศอื่นที่มีการบริโภคตํ่ากวา ซึ่งขอเขียนไดนี้ไดมุงที่จะนําเสนอความรูความเขาใจที่ถูกตองในการบริโภคยาและรูจักการใชยาอยางสมเหตุผลและสอดคลองกับการรักษาโรคที่เปนอยูอยางแทจริง นําไปสูการลดคาใชจายและความเสี่ยงที่ไดรับจากการใชยา

บทความวารสาร

Page 10: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 5

สาระสังเขป

2. “การปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง พ.ศ. 2538”. / โดย อาณัติ ชวนะเกรียงไกร. ว.กรมบัญชีกลาง. ปที่ 48 เลมที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2550) : 37.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึง การปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติ เงินเดือนและเงินประจํา ตําแหนง พ.ศ. 2538 ประกอบดวย หัวขอท่ีสําคัญ คือ ความเปนมาและสภาพปญหา แนวคิดในการกําหนดคาตอบแทนภาครัฐ แนวทางในการกําหนดคาตอบแทนภาครัฐของตางประเทศ ไดแก ประเทศออสเตรเลีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุน รวมถึงแนวคิดในการปรับปรุงพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง พ.ศ. 2538 การปรับปรุงแกไขกฎหมาย และสถานะของรางกฎหมาย

3. “พัฒนาการกําหนดคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ”. / โดย นิโลบล แวววับศรี และ วรรณวิมล ศังขวณิช. ว.กรมบัญชีกลาง. ปที่ 48 เลมที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2550) : 27.

นําเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับการกําหนดการเบิกจายคาตอบแทนจากการปฏิบัติงานนอก เวลาราชการ ประกอบดวย พัฒนาการจากอดีต-ปจจุบัน แนวทางการพิจารณา การปรับปรุงระเบียบฯ ครั้งลาสุด เหตุผลความจําเปนในการกําหนดระเบียบใหม สาระสําคัญของระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 นอกจากนี้ ไดอธิบายถึงการเบิกจายคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการของลูกจางและพนักงานราชการวาจะใชหลักกฎหมายใดอางอิงเพื่อเบิกจาย

4. “สาระสําคัญของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทาง

ละเมิดของเจาหนาที่ พ .ศ . 2539”. / โดย สุวัฒน ปนนิกร และ รวิภา ดวงแดงโชติ . ว.กรมบัญชกลาง. ปที่ 48 เลมที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2550) : 7.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึง สาระสําคัญของพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. 2539 ในสวนที่เปนวิธีสบัญญัติ ไดแก การรองขอใหหนวยงานของรัฐชดใชคาสินไหมทดแทน การเรียกใหเจาหนาที่ผูกระทําละเมิดชดเชยใชเงินใหแกหนวยงานของรัฐ การผอนผันการชําระเงิน และการดําเนินคดีในศาล รวมทั้งอายุความในการใชสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทน

บทความวารสาร

Page 11: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 6

สาระสังเขป

การเงนิธนาคาร

1. บุคคลธรรมดาเตรียมพรอม!! สรรพากรสั่งทําบัญชีรับ-จาย”. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 303 (กรกฎาคม 2550) : 184.

กรมสรรพากรไดออกประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได (ฉบับที่ 161) เรื่อง การกําหนดให ผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา และมิไดเปนผูประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่มจัดทําบัญชี หรือรายงานแสดงรายไดและรายจายใหกับกรมสรรพากร โดยใหมีผลบังคับใชต้ังแตวันที่ออกประกาศ คือ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เปนตนไป ทั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมใหบุคคลธรรมดาที่ทําธุรกิจรายเล็ก รายนอย รู จักทําบัญชีอยางงายๆ กอนจะพัฒนาไปสูการทําบัญชีที่ เปนมาตรฐานสากล เปนบันไดสําคัญของการขยายกิจการใหเติบโตอยางมีคุณภาพ และเพื่อประโยชนในการประเมินภาษีเงินไดใหใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด

2. “ปฏิรูปกฎหมายไทย : หนทางยาวไกลที่ตองเดิน”. / โดย กิติพงศ อุรพีพัฒนพงศ. ว.การเงิน ธนาคาร. ฉบับที่ 303 (กรกฎาคม 2550) : 200.

บทความเรื่องนี้ นําเสนอความเหน็ในเรื่องคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายที่ไดมีการกําหนด ไวในรางมาตรา 80 (5) และ (6) วาสมควรจะทําอยางไรจึงจะมีประสิทธิภาพในรางรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบัน โดยอธิบายในหัวขอตางๆ ไดแก ปญหา อุปสรรค องคกรปฏิรูปกฎหมายอิสระ : รูปแบบที่เหมาะสมและหนาที่และองคประกอบของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย ทั้งนี้ผูเขียนไดแสดงทัศนะวาหากไมมีการปฏิรูปกฎหมายโดยคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายที่มีความอิสระและมีความรูอยางแทจริงนั้น วงจรการเมือง เศรษฐกิจและสังคมของไทยก็อาจจะตองเปนวงจรย่ําอยูกับที่ ไมสามารถแกไขปญหาตางๆ ได และในเวลาเดียวกันการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมนั้น สิ่งสําคัญ คือ การยกระดับมาตรฐานจริยธรรมและคุณธรรมของนักกฎหมายในทุกภาคสวนของนักกฎหมายใหสูงขึ้นไปพรอมกันดวย

บทความวารสาร

Page 12: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 7

สาระสังเขป

3. “10 ปวิกฤติเศรษฐกิจบทเรียนที่คนไทยหามลืม”. ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 303 (กรกฎาคม 2550) : 63.

นําเสนอการวิเคราะหเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับการเกิดวิกฤตการณทาง เศรษฐกิจในป 2540 ประเทศไทยจะมีโอกาสเกิดวิกฤตการณนั้นอีกหรือไม ทั้งนี้หลายฝายไดแสดงทัศนะไปในทิศทางที่แตกตางกันโดยมีเหตุผลสนับสนุนความเปนไปได ในดานรัฐบาลมีความเชื่อวาโอกาสที่ประเทศไทยจะเกิดวิกฤติเหมือนป 2540 มีนอยมาก เนื่องจากตลอด 10 ปที่ผานมาประเทศไทยไดมีการปฏิรูปภายในประเทศหลายดาน จนกระทั่งโครงสรางและระบบบริหารเศรษฐกิจของประเทศมีความเขมแข็งขึ้น ขณะเดียวกันฝายที่มีความเชื่อวาวิกฤติเศรษฐกิจป 2540 กําลังรออยูในอนาคต ไดแสดงทัศนะวาประเทศไทยยังเรียนรูไมเพียงพอ โดยเฉพาะการปรับตัวเพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขัน ซึ่งการสูญเสียความสามารถในการแขงขัน จะเปนสาเหตุหน่ึงที่เรงใหไทยเขาสูวิกฤตป 2540 ทั้งนี้หากทุกภาคสวนไดเรียนรูใหเทาทันและไมประมาทก็จะสามารถทําใหเศรษฐกิจของไทยกาวเดินตอไปได 4. “หลักเกณฑและข้ันตอนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจฉบับใหม”. / โดย พิชิตพล เอี่ยมมงคลชัย.

ว.การเงินธนาคาร. ฉบับที่ 303 (กรกฎาคม 2550) : 197. คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติการกําหนดกิจการ หลักเกณฑ

และขั้นตอนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2550 ซึ่งเสนอโดยกระทรวงการคลัง กฎหมายฉบับใหมนี้เปนเรื่องของการกําหนดประเภทกิจการ รวมถึงหลักเกณฑตางๆ ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจในอนาคต โดยมีสาระสําคัญ ไดแก 1) การยกเลิกพระราชบัญญัติรัฐวิสาหกิจ 2) การกําหนดมูลคาสินทรัพยและกิจการเพื่อการแปรรูป 3) ผลของการแปรรูปกับอํานาจเดิมของรัฐวิสาหกิจ 4) ขอจํากัดของการประกอบกิจการ 5) การจัดตั้งคณะกรรมการตางๆ 6) การกํากับดูแล 7) การโอนสิทธิหนาที่และความรับผิดชอบของรัฐวิสาหกิจ 5. “อนาคตประเทศไทย : โลกพลิกโฉมความมั่งค่ังในนิยามใหม”. / โดย สุวิทย เมษินทรีย. ว.การเงิน ธนาคาร. ฉบับที่ 303 (กรกฎาคม 2550) : 28.

กลาวถึงการเปลี่ยนแปลงในระบบทุนนิยมและกระแสโลกาภิวัตนที่มีอิทธิพลอยางมากตอ วิถีการเปลี่ยนผานจากสังคมหนึ่งสูอีกสังคมหนึ่ง หรือการเปลี่ยนผานจากโลกของสังคมฐานความรูไปสูโลกหลังสังคมฐานความรู ซึ่งอธิบายทั้งมิติดานเศรษฐกิจ ดานสังคม และดานการเมือง เปนการเปลี่ยนแปลงที่ทําใหโครงสรางความสัมพันธทางสังคมจากการพึ่งพิงมาสูการพึ่งพาอาศัยกันมากขึ้น

บทความวารสาร

Page 13: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 8

สาระสังเขป

QUALITY

1. “การนําหลักพฤติกรรมศาสตรไปปรับใชในองคการ”. / โดย พิชัย ลีพิพัฒนไพบูลย. ว.Quality. ปที่ 14 ฉบับที่ 117 (กรกฎาคม 2550) : 73.

ภาวะผูนํากับการบริหารเปนของคูกัน และการจะทําใหเปาประสงคขององคการประสบ ความสําเร็จไดนั้นผูบริหารตองใชทั้งภาวะผูนําและการบริหารคูกันเสมอ จึงจะทําใหบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบของผูบริหารประสบความสําเร็จ ดังนั้นจึงทําใหผูบริหารจํา เปนตองมีขีดความสามารถหลายดาน ซึ่งบทความเรื่องนี้ไดอธิบายในรายละเอียดของแนวคิดทางดานพฤติกรรมศาสตรมาปรับใชในองคการ โดยมีหัวขอท่ีนาสนใจประกอบดวย ความสําคัญของพฤติกรรมศาสตรกับภาวะผูนํา ความสําเร็จกับความลมเหลวของการใชวิทยาศาสตร ความหมายของการบริหารและขีดความสามารถของภาวะผูนํา

2. “ความเสี่ยงที่บริหารไมได”. / โดย ประเวศน มหารัตนสกุล. ว.Quality. ปที่ 14 ฉบับที่ 117 (กรกฎาคม 2550) : 85.

ความเสี่ยง หมายถึงโอกาสที่จะเกิดเหตุการณไมพึงประสงคที่ทําใหงานไมประสบผลสําเร็จ ตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด โดยบทความเรื่องนี้ไดชี้ใหเห็นถึงปจจัยเสี่ยงทั้งหลายที่อาจเกิดขึ้นไดในองคกรตางๆ และแนวทางการศึกษาเพื่อจัดการความเสี่ยง โดยมีทั้งการวิเคราะหหาความเสี่ยงและขนาดของความเสี่ยงเพื่อวางแผนการจัดการ

3. “บริษัทรถไฟฟากรุงเทพฯ กับระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS/TIS

18001 : 1999”. / โดย พรามร ศรีปาลวิทย. ว.Quality. ปที่ 14 ฉบับที่ 117 (กรกฎาคม 2550) : 30.

บริษัทรถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ไดรับการตรวจรับรองระบบการจัดการอาชีวอนา มัยและความปลอดภัย หรือ OHSAS/TIS 18001 : 1999 การไดรับการรับรองมาตรฐานดังกลาว ถือเปนความสําเร็จในการดําเนินงานอีกขั้นหนึ่งของบริษัทที่แสดงใหเห็นถึงวิสัยทัศนและเจตนารมณของบริษัท ซึ่งขอเขียนนี้ไดนําเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับความสําคัญของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ

บทความวารสาร

Page 14: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 9

สาระสังเขป

ความปลอดภัย OHSAS/TIS 18001 : 1999 ของบริษัทฯ โดยมีแนวทางเพื่อลดความเสี่ยงตออันตรายและอุบัติเหตุตางๆ ของพนักงานและผูที่เกี่ยวของ และการสรางภาพลักษณความรับผิดชอบของบริษัทตอพนักงานในบริษัทฯ

4. มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก. 1800”. ว.Quality. ปที่ 14 ฉบับ ที่ 117 (กรกฎาคม 2550) : 27.

กลาวถึงรายละเอียดการกําหนดมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เพ่ือเปนแนวทางในการปรับปรุงการดําเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในองคการ และยังมีเนื้อหาครอบคลุมถึงแนวทางในการปองกันมิใหเกิดปญหาดานสุขภาพและอุบัติเหตุตางๆ ตอผูปฏิบัติงานทั้งในองคการและภายนอกองคการหรือชุมชนใกลเคียง นอกจากนี้ยังใชเปนขอกําหนดในการตรวจประเมิน เพ่ือใหการรับรองระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยขององคการ

5. “ลดความเสี่ยงในการทํางานดวยมาตรฐาน OHSAS 18001”. / โดย พรามร ศรีปาลวิทย. ว.Quality. ปที่ 14 ฉบับที่ 117 (กรกฎาคม 2550) : 32.

มาตรฐาน OHSAS 18001 เปนระบบการจัดการดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึ่ง ออกแบบมาเพื่อใหองคการสามารถนําไปใชในการจัดการควบคุมความเสี่ยงจากการเกิดอันตรายจากกิจการภายในองคการ เพ่ือจัดการสภาพแวดลอมในการทํางานใหเกิดความปลอดภัย โดยมีหัวขอท่ีนําเสนอประกอบดวย รูจักกับมาตรฐาน OHSAS 18001/TIS 18001 ประโยชนของ OHSAS 18001 ตอภาคอุตสาหกรรมและความรวมมือของภาครัฐทางดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 6. “Worldwide responsible apparel production : WRAP”. / โดย พงศภัค บุญยประสพ และ ธิชาภัทร โลหจินดา. ว.Quality. ปที่ 14 ฉบับที่ 117 (กรกฎาคม 2550) : 38.

WRAP คือ มาตรฐานความรับผิดชอบทางสังคมระดับสากลของกลุมผูผลิตเครื่องนุงหม ซึ่งบทความเรื่องนี้ไดนําเสนอในราละเอียดเนื่องจากเปนมาตรฐานที่นาสนใจที่สุดมาตรฐานหนึ่ง เพราะมีขอกําหนดที่สอดคลองกับกฎหมายไทยในเรื่องของชั่วโมงการทํางานมากที่สุดเมื่อเทียบกับมาตรฐานอื่นๆ และยังมีขอกําหนดที่ครอบคลุมถึงเรื่องของสิ่งแวดลอม ขอกําหนดของศุลกากร และการรักษาความปลอดภัย โดยอธิบายในหัวขอตางๆ ไดแก ความเปนมาของมาตรฐาน WRAP การจัดทํามาตรฐาน WRAP หลักการของ WRAP วิธีการขอรับรองมาตรฐาน WRAP และขอดีของสถานประกอบการที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน WRAP

บทความวารสาร

Page 15: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 10

สาระสังเขป

7. “ISO 20252 มาตรฐานการพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ตอนที่ 1”. / โดย กิตติพงศ โรจนจึงประเสริฐ. ว.Quality. ปที่ 14 ฉบับที่ 117 (กรกฎาคม 2550) : 52.

ธุรกิจดานการวิจัยในปจจุบันจัดไดวาเปนธุรกิจขนาดใหญในระดับโลก และสงผลตอการคา ระหวางประเทศเปนอยางมาก รวมทั้งองคการธุรกิจและหนวยงานตางๆ ในสังคมใหการยอมรับในบทบาทของรายงานการวิจัย ไมวาจะเปนการวิจัยทางดานการตลาด การวิจัยทางดานสังคม หรือการสํารวจความคิดเห็นในประเด็นตางๆ เพ่ือนําไปใชในการตัดสินใจและการดําเนินการขององคกร บทความเรื่องนี้ไดนําเสนอรายละเอียดของมาตรฐาน ISO 20252 ซึ่งเปนมาตรฐานสากลฉบับใหมที่ไดรับการพัฒนาขึ้นเพ่ืออธิบายถึงขอกําหนดในการพัฒนาคุณภาพของการวิจัยทางการตลาด หัวขอท่ีนําเสนอไดแก ความเปนมาของมาตรฐาน ISO 20252 ประโยชนที่จะไดรับ การขอการรับรอง ขอกําหนด ขอกําหนดระบบบริหารคุณภาพและการบริหารจัดการองคประกอบของการวิจัย

ดํารงราชานุภาพ 1. “การจัดการความรู : จากทฤษฎีสูการปฏิบัติ”. / โดย วันเพ็ญ ทรงวิวัฒน. ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 1.

บทความเรื่องนี้ นําเสนอรายละเอียดการจัดการความรู โดยมีเนื้อหาที่นาสนใจ ประกอบดวย ความเปนมา พัฒนาจากขอมูลเปนความรู : เกิดสินทรัพยทางปญญา กระบวนการจัดการความรู การสรางความรู กลยุทธของการสรางและใชความรู เทคนิคการจัดการความรู การจัดการความรูเพ่ือสนับสนุนและพัฒนาการทํางาน เครื่องมือเพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู และปจจัยที่จะทําให KM ไดรับความสําเร็จ

บทความวารสาร

Page 16: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 11

สาระสังเขป

2. “การเรียนรูจากการจัดทําแผนการจัดการความรูของจังหวัด”. / โดย สุรชาติ ณ หนองคาย. ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 52.

ขอเขียนนี้มีลักษณะเปนงานวิจัย มีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินความพรอมของที่ปรึกษาใน การใหคําปรึกษาดานการจัดการความรูจังหวัด และเปนการประเมินระดับการเปนองคการแหงการเรียนรูของจังหวัด มีการวิเคราะหและสรุปรายงานในลักษณะภาพรวม และเปรียบเทียบกับแนวคิดของนักวิชาการตางประเทศในประเด็นสําคัญ ไดแก การจัดการความรูคืออะไร องคการแหงการเรียนรูคืออะไร การประเมินการเรียนรูและองคการแหงการเรียนรู และความสัมพันธระหวางการจัดการความรูกับการเปนองคการแหงการเรียนรู 3. “การเสริมสรางพฤติกรรมการแบงปนแลกเปล่ียนความรู”. / โดย ฐิติพัฒน พิชญธาดาพงศ.

ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 76. บทความเรื่องนี้อธิบายถึงการแบงปนแลกเปลี่ยนความรู (Knowledge Sharing) ซึ่งหมายถึง

พฤติกรรมการถายทอด แบงปน และแลกเปลี่ยนความรูระหวางพนักงานคนหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง หากการแบงปนแลกเปลี่ยนความรูระหวางพนักงานในองคกรเปนระบบที่ดี จะชวยลดความซ้ําซอน และลดเวลาในการแสวงหาความรูใหมที่จะนําไปสูการแกปญหาในการทํางานไดรวดเร็วขึ้น พรอมกันนี้ไดอธิบายการแบงปนแลกเปลี่ยนความรูใน 2 มุมมอง คือ มุมมองดานพฤติกรรม และมุมมองดานระบบเทคโนโลยี และแนวทางการเสริมสรางใหพนักงานมีพฤติกรรมการแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ไดแก 1) ผูบริหารระดับสูง 2) การพัฒนาระบบการบริหารและจัดการองคความรูใหมีประสิทธิภาพ และ 3) การพัฒนาพนักงานใหมีทักษะ ความรู ความสามารถ และมีประสบการณตรงในการแบงปนแลกเปลี่ยนความรู ซึ่งจะสงผลใหพนักงานรับรูความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมการแบงปนแลกเปลี่ยนความรูของตนเองใหสูงขึ้น

4. “ขอมูลความรูเรื่อง Knowledge management เรียนรูจากประสบการณของ ปตท.สผ.”. / โดย สงวน ธีระกุล. ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 17.

นําเสนอแนวทางการดําเนินการพัฒนาองคกรแหงการเรียนรู โดยมีเนื้อหาภายในบทความ ประกอบดวย ความคิดเรื่องการบริหารจัดการความรู ประโยชนของ Knowledge Management ประเภทและแหลงความรูขององคกร องคประกอบสําคัญของ Knowledge Management โครงสรางของความรูในองคกร วิธีพัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนเพิ่มพูนความรูที่ไดผล นอกจากนี้ไดนําเสนอ

บทความวารสาร

Page 17: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 12

สาระสังเขป

กรณีศึกษา การพัฒนา (Learning Organization) LO และ KM ของ ปตท.สผ. ซึ่งไดดําเนินการและมีการพัฒนามาโดยตอเนื่องตลอดระยะเวลากวา 10 ป

5. “ขับเคลื่อน KM อยางไรใหเปนจริง”. / โดย โสพิศ หมัดปองตัว. ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2550) : 33.

นําเสนอรายละเอียดการดําเนินการดานการบริหารจัดการความรูในองคกร (Knowledge Management : KM) ของสํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน โดยมีรายละเอียด ไดแก กาวแรกของการเดินทาง รูปแบบของการบริหารจัดการความรูที่เปนลักษณะเฉพาะของตนเอง การดําเนินการของกิจกรรมสูคลังความรู กลไกขับเคลื่อนสําคัญ และปจจัยสูความสําเร็จ

6. “ประสบการณการจัดการความรูสํานักงานเกษตรจังหวัดนครพนม”. / โดย ทวี มาสขาว. ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 71.

นําเสนอประสบการณการจัดการความรูของสํานักงานเกษตรจังหวัดนครพนม โดยมี เปาหมายสูงสุดคือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกษตรกรใหเกิดการเรียนรู มีความชํานาญ และมีทัศนคติที่ดีตอการประกอบอาชีพ และเปนการถายทอดเทคโนโลยีไปสูเกษตรกร เนื้อหาที่นําเสนอในบทความ ไดแก ความเปนมา เครื่องมือท่ีใชในการดําเนินการ แนวทางการดําเนินงาน ประเด็นแหงความสําเร็จ และขอคิดเห็นในการจัดการความรูใหประสบความสําเร็จ

7. “ผูนําสถานศึกษากับการสรางโรงเรียนแหงการเรียนรู”. / โดย สุเทพ พงศศรีวัฒน. ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 107.

บทความเรื่องนี้นําเสนอ แนวคิดในการสรางองคการแหงการเรียนรู ในสวนที่เกี่ยวของกับ สถานศึกษา โดยเฉพาะการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการบริหารจัดการสถานศึกษา จากแนวทางดําเนินการแบบเดิมไปสูการพัฒนาสถานศึกษาใหมีความเปน “โรงเรียนแหงการเรียนรู หรือ Learning School” ซึ่งเนื้อหาในบทความไดแบงเปน 4 สวน ไดแก สวนที่ 1 เปนแนวคิดและหลักการทั่วไปเกี่ยวกับองคการแหงการเรียนรู และโรงเรียนแหงการเรียนรู สวนที่ 2 เรื่องแนวทางการสรางชุมชนแหงวิชาชีพขึ้นในโรงเรียนแหงการเรียนรู สวนที่ 3 กลาวถึงบทบาทของผูนําสถานศึกษาตอการสรางโรงเรียนแหงการเรียนรู และ สวนที่ 4 เปนแบบประเมินความเปนชุมชนแหงผูเรียนรูของสถานศึกษา

บทความวารสาร

Page 18: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 13

สาระสังเขป

8. “สํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยกับการจัดการความรู”. / โดย ณิทฐา แสวงทอง. ว.ดํารงราชานุภาพ. ปที่ 6 ฉบับที่ 21 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 28.

นําเสนอประสบการณและขอคิดจากการจัดการความรูของสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ไดแก การเตรียมและเริ่มดําเนินงานในเบื้องตน การจัดทําแผนตามที่สํานักงาน ก.พ.ร. กําหนด การดําเนินการตามแผน กิจกรรม KM ที่นาสนใจของสํานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ปญหาและอุปสรรคตอการดําเนินงานที่ผานมา และขอเสนอแนะ 1. “การจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรมในกรุงเทพมหานคร (ตอนที่ 2)”. / โดย

ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ

กองบรรณาธิการ. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 55 (กรกฎาคม 2550) : 86-90. บทความเรื่องนี้ อธิบายถึงการจัดสรรที่ดิน เพ่ือท่ีอยูอาศัยและพาณิชยกรรมในกรุงเทพมหานคร

ในสวนที่เกี่ยวกับขอกําหนดเพื่อประโยชนเกี่ยวกับการสาธารณสุขและการรักษาสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนเรื่องของระบบการระบายน้ําในโครงการหรือจะเปนในเรื่องระบบบําบัดน้ําเสีย โดยใน สวนแรกไดอธิบายรายละเอียดของการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร รวมถึงสมการการคํานวณการระบายน้ํา สวนที่ 2 อธิบายถึงรายละเอียดระบบการระบายน้ําของโครงการจัดสรรที่ดิน การจัดทํารายการคํานวณระบบการระบายน้ําและเงื่อนไขตางๆ ที่ตองปฏิบัติในการจัดทําแผนผั งระบบการระบายน้ํ า และ สวนที่ 3 ระบบบํ าบัดน้ํ า เสี ย ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 2. “ควันหลง O-NET”. / โดย นองแบม. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 55 (กรกฎาคม 2550) : 95-100.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง การฟองคดีปกครองเกี่ยวกับการขอใหเพิกถอนมติของ สทศ. และ คณะกรรมการบริหารฯ ที่กําหนดใหดําเนินการจัดสอบ O-NET แกนักเรียนขั้น ม.6 หรือเทียบเทาไดเพียงคนละครั้ง การให สทศ. และ คณะกรรมการบริหารฯ รับสมัครผูฟองคดีเขาสอบ O-NET

บทความวารสาร

Page 19: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 14

สาระสังเขป

ประจําปการศึกษา 2549 และการใหที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทยรับพิจารณาคะแนนการสอบ O-NET ที่สอบในครั้งที่ 2 เพ่ือนําไปคัดเลือกเขาศึกษาตอในมหาวิทยาลัย โดยผูฟองคดีไดขอใหศาลปกครองกําหนดวิธีการซึ่งคราวกอนการพิพากษาโดยระงับไมให สกอ. และคณะกรรมการบริหารฯ นํามติของที่ประชุมอธิการบดีแหงประเทศไทยที่ใหนําผลคะนน O-NET ครั้งแรกครั้งเดียวมาใชในการพิจารณาคัดเลือกบุคคลเขาศึกษาตอในระดับมหาวิทยาลัยในระบบ ADMISSIONS มาใชบังคับไวกอน ผูเขียนจึงไดอธิบายความรูเบื้องตนเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวกอนการพิพากษาตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 หลักการและเหตุผลที่ศาลปกครองขอนแกนมีคําสั่งคุมครองชั่วคราวกอนพิพากษาและเหตุผลที่ศาลปกครองสูงสุดยกเลิกคําสั่งคุมครองชั่วคราวกอนพิพากษา ซึ่งพิจารณาจากเงื่อนไขสําคัญ 3 ประการ ตอนขอ 72 วรรคสาม ของระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด วาดวยวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2543

3. “สวัสดิการพนักงาน ผลกระทบทางภาษีอากรที่ฝายบุคคลตองระมัดระวัง”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.ธรรมนิติฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 55 (กรกฎาคม 2550) : 6-19.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ผลกระทบทางภาษีในการจัดสวัสดิการใหแกพนักงานโดยแบง การพิจารณาเปน 2 ประเด็น คือ 1) ดานนายจาง จะถือวาเปนรายจายของกิจการไดหรือไม ตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มและตองหักภาษีเงินได ณ ที่จายพนักงานหรือไม 2) ดานลูกจาง จะถือวาเปนเงินไดของลูกจางหรือไม หากถือวาเปนเงินไดจะตองถูกหักภาษีเงินได ณ ที่จายหรือไม และจะไดรับการยกเวนภาษีเงินไดหรือไม ดังนั้นจึงตองพิจารณาสวัสดิการเปนกรณีๆ ไป ซึ่งบทความนี้ไดยกตัวอยางสวัสดิการที่มักจะมีปญหาดังตอไปนี้ เบี้ยเลี้ยงเดินทาง บานที่นายจางใหลูกจางอยูโดยไมเสียคาเชา คาเบี้ยประกันภัย เครื่องแบบพนักงาน การรับประทานอาหารและเครื่องดื่มฟรี กูยืมเงินโดยไมคิดดอกเบี้ย พนักงานกูยืมเพื่อใชในยามฉุกเฉิน พนักงานและกรรมการบริษัทกูยืมเงินพนักงานของบริษัทในเครือกูยืมเงินโดยมีอัตราดอกเบี้ยตํ่ากวาราคาตลาด ดอกเบี้ยเงินกูยืมเพื่อสวัสดิการพนักงานและกูยืมเงินซื้อเครื่องคอมพิวเตอร ผูเขียนไดอธิบายหลักกฎหมายของสวัสดิการตางๆ อยางละเอียดพรอมยกตัวอยางของหนังสือของกรมสรรพากรในแตละกรณีดวย

บทความวารสาร

Page 20: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 15

สาระสังเขป

4. “หลักเกณฑการจาย คาจาง คาลวงเวลา คาลวงเวลาในวันหยุด และคาทํางานในวันหยุด”. / โดย พงษรัตน เครือกลิ่น. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 55 (กรกฎาคม 2550) : 27-34.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง หลักเกณฑการจาย คาจาง คาลวงเวลา คาลวงเวลาในวันหยุดและ คาทํางานในวันหยุด ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) ตองจายโดยเสมอภาคระหวางลูกจางชายและหญิง 2) ตองจายดวยเงินตราไทย 3) ตองจาย ณ สถานที่ลูกจางทํางาน 4) ตองจายอยางนอยเดือนละครั้ง 5) ความรับผิดในเรื่องดอกเบี้ยและเงินเพิ่ม และ 6) หามหักคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุดและคาลวงเวลาในวันหยุด โดยผูเขียนไดอธิบายหลักกฎหมายตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และยกตัวอยางในกรณีตางๆ พรอมทั้งคําพิพากษาศาลฎีกาที่เกี่ยวของดวย

5. “โอนหุน โดยไมตองทําเปนหนังสือ”. / โดย ชาย กิตติคุณาภรณ. ว.ธรรมนิติ ฉบับกฎหมายธุรกิจ. ปที่ 5 ฉบับที่ 55 (กรกฎาคม 2550) : 24-26.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง หลักเกณฑตามกฎหมายของการโอนหุนวาจะตองทําเปนหนังสือ หรือไม และการโอนหุนสามารถทําโดยเสรีไดหรือไม ผูเขียนจึงอธิบายหลักกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยในมาตรา 1129 อธิบายถึงวิธีการโอนหุนชนิดระบุชื่อ จะตองทําเปนหนังสือลงลายมือชื่อผูโอน ผูรับโอน และพยานใหถูกตอง มาตรา 1134 อธิบายถึง การออกใบหุนชนิดออกใหกับผูถือ และ มาตรา 1135 อธิบายถึง การออกใบหุนชนิดออกใหกับผูถือสามารถโอนกันไดโดยการสงมอบ นอกจากนี้ยังอธิบายมาตราที่เกี่ยวของกับใบหุนเพิ่มเติม เชน มาตรา 8 มาตรา 25 ตามพระราชบัญญัติกําหนดความผิดเกี่ยวกับหางหุนสวนจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ. 2499 และมาตรา 1127 และมาตรา 1128 ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

บทความวารสาร

Page 21: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 16

สาระสังเขป

ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร

1. “การเสียภาษีเงินไดของผูถึงแกความตาย และกองมรดก (ตอนที่ 1)”. / โดย ชัยสิทธิ ตราชูธรรม และ ดุลยลักษณ ตราชูธรรม. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 310 (กรกฎาคม 2550) : 108-110.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง หลักเกณฑการเสียภาษีเงินไดของผูถึงแกความตายในระหวางป ภาษี โดยมาตรา 57 ทวิ วรรคหนึ่ง ประมวลรัษฎากรไดบัญญัติขึ้นเพื่อตอบคําถามที่วาถาผูมีเงินไดถึงแกความตายในระหวางปภาษี (ปภาษีถือปปฏิทิน วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม) และกองมรดกของผูนั้นยังมีเงินไดอยู จะตองเสียภาษีในนามของผูตายหรือเสียภาษีในนามของกองมรดก ซึ่งมาตรา 57 ทวิ วรรคหนึ่ง ไดบัญญัติไวโดยชัดแจงวาใหเสียภาษีในนามของผูตาย กรณีนี้จึงไมสามารถนําบทบัญญัติประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 1599 มาใชได ผูเขียนไดอธิบายบทบัญญัติของหลักกฎหมายที่เกี่ยวของพรอมทั้งยกตัวอยางกรณีศึกษาเพื่อใหสามารถเขาใจไดงาย 2. “คาชดเชยและภาษี : ขอพิจารณาที่นายจางและลูกจางไมควรมองขาม (ตอนที่ 1)”. / โดย ฤกษฤทธิ์

เพชรวรกุล. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 310 (กรกฎาคม 2550) : 92-98. บทความเรื่องนี้ ไดสรุปหลักกฎหมายและนําเสนอถึงประเด็นตางๆ ที่นายจางและลูกจาง

พึงนํามาพิจารณาเพื่อปกปองสิทธิของตนเมื่อมีการเลิกจางเกิดขึ้นดังตอไปนี้ คือ ลูกจางที่มีสิทธิไดรับคาชดเชย อัตราคาชดเชย คาจางอัตราสุดทาย อายุความฟองเรียกคาชดเชย ขอยกเวนการจายคาชดเชยและการใหเหตุผลในการเลิกจาง ดอกเบี้ยของคาชดเชย คาชดเชยพิเศษและมีการยกตัวอยางกรณีศึกษาพรอมทั้งคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1694-2544 ประกอบ นอกจากนี้ไดมีตารางเปรียบเทียบระหวางเงินคาจางและเงินสวัสดิการ โดยอธิบายหลักกฎหมายและยกตัวอยางคําพิพากษาศาลฎีกาประกอบ ซึ่งจะเปนประโยชนตอการคํานวณคาชดเชยดวย

บทความวารสาร

Page 22: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 17

สาระสังเขป

3. “ภาระภาษีเงินไดของคูสมรสที่ควรจะตองพิจารณา”. / โดย สมพงษ ตันติรจนาวงศ. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 310(กรกฎาคม 2550) : 121-127.

บทความเรื่องนี้ กลาวถึงการเสียภาษีเงินไดของคูสมรสที่จดทะเบียนโดยชอบดวยกฎหมาย ตามประมวลกฎหมายรัษฎากร โดยมีประเด็นที่นาสนใจ 7 ประเด็น คือ 1) ประเด็นคาใชจายของหญิงที่มีสามี เมื่อมีเงินไดตามมาตรา 40 (1) และ 40 (2) 2) ประเด็นการลดหยอนบุตรของคูสมรสตามนัยมาตรา 47 (2) 3) ประเด็นในสวนคาลดหยอนที่ไมสนับสนุนการที่คูสมรสตางฝายตางมีเงินไดในการซื้อบานกอนสมรส 4) ประเด็นในสวนคาลดหยอนเงินบริจาคการกุศล 5) เปนการอธิบายในสวนของสาระสําคัญของบทบัญญัติมาตรา 57 ตรี แหงประมวลรัษฎากร 6) กรณีภริยามีเงินไดสามีไมมีเงินไดไมอยูในบังคับตามมาตรา 57 ตรี และ 7) ความชอบดวยรัฐธรรมนูญของบทบัญญัติมาตรา 57 ตรี และ 57 เบญจ ในการอธิบายแตละสวนนั้น ผูเขียนไดอธิบายบทบัญญัติของหลักกฎหมายตามประมวลรัษฎากร พรอมทั้งยกตัวอยางกรณีศึกษาประกอบเพื่อใหเขาใจไดงาย รวมถึงอธิบายแนววินิจฉัยคําพิพากษาศาลฎีกาในแตละประเด็นที่เกี่ยวของดวย 4. สัญญาทางธุรกิจกับภาระภาษีอากร : “สัญญาการเปนหางหุนสวนสามัญ/คณะบุคคล”. / โดย

เพ่ิมบุญ แกวเขียว. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษีอากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 310 (กรกฎาคม 2550) : 99-107.

บทความเรื่องนี้ อธิบายความแตกตางของ การจัดตั้งเปน “หางหุนสวนสามัญ” (Ordinary Partnerships) กับ การเปน “คณะบุคคล” (Non-juriaticbody of persons) ซึ่งมีผลตอการเสียภาษีอากรเนื่องจากเปนหนวยภาษีสําหรับการวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) ตามประมวลรัษฎากร โดยแบงเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 ประเด็นในแงของกฎหมายทางธุรกิจ ซึ่งมีรูปแบบและลักษณะแตกตางกันตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย รวมถึงยังมีคําอธิบายจากหนังสือตอบขอหารือกรมสรรพากร เลขที่ กค 0706/7021 ในกรณีการเสียภาษีจากการใหเชาที่ดินในนามคณะบุคคล และเลขที่ กค 0706/229 ในกรณีการถอนชื่อผูรวมคณะบุคคล สวนที่ 2 ประเด็นในแงกฎหมายภาษีอากรตามลักษณะของภาษีอากรที่เกี่ยวของทั้งภาษีเงินได ภาษีมูลคาเพิ่ม อากรแสตมป รวมถึงภาษีอากรตามกฎหมายอื่น นอกจากนี้ยังมีตัวอยางสัญญาการเปนหางหุนสวนสามัญ สัญญาจัดต้ังคณะบุคคล และประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได (ฉบับที่ 161) เรื่องการกําหนดใหผูมีหนาที่เสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา และมิไดเปนผูประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลคาเพิ่ม จัดทําบัญชีหรือรายงานแสดงรายไดและรายจาย

บทความวารสาร

Page 23: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 18

สาระสังเขป

5. “หัก ณ ที่จายอยางไรจึงจะไมเวียนหัว”. / โดย กองบรรณาธิการ. ว.ธรรมนิติ ฉบับเอกสารภาษี อากร. ปที่ 26 ฉบับที่ 310 (กรกฎาคม 2550) : 23-32.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึง การหักภาษีเงินได ณ ที่จายตามมาตรา 3 เตรสแหงประมวล รัษฎากร ซึ่งกฎหมายใหอํานาจอธิบดีกรมสรรพากรสั่งใหมีการหักภาษีจากการจายเงินไดพึงประเมินตามมาตรา 40 โดยไดกําหนดหลักเกณฑที่สําคัญไวในคําสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. 4/2528 จึงไดอธิบายเนื้อหาที่สําคัญดังตอไปนี้ 1) ผูมีหนาที่หักภาษี ณ ที่จาย 2) ผูถูกหักภาษี ณ ที่จาย 3) เงินไดที่ตองหักภาษี ณ ที่จายตามมาตรา 40 แหงประมวลรัษฎากร 4) เงื่อนไขการหักภาษี ณ ที่จาย 5) หลักเกณฑการหักภาษี ณ ที่จาย ซึ่งมีการคํานวณหักภาษีในอัตราที่แตกตางกัน อาทิเชน การจายเงินซื้อสินคาหักในอัตรารอยละ 0.75 เฉพาะผูจายเงิน การจายเงินคาโฆษณาหักในอัตรารอยละ 2.0 การจายงานคาขนสงหักในอัตรารอยละ 1.0 การจายเงินคาบริการอื่นๆ หักในอัตรารอยละ 3.0 เปนตน และ 7) ขอยกเวนไมตองหักภาษี ณ ที่จาย เมื่อทําความเขาใจหลักเกณฑการหักภาษี ณ ที่จายขางตนแลว จะทําใหสามารถหักภาษีไดถูกตองและครบถวน

นโยบายพลงังาน

1. ความรวมมือดานพลังงานในเวทีนานาชาติ”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 74 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 28-31.

บทความเรื่องนี้กลาวถึงมาตรการในการประหยัดการใชพลังงาน เนื่องจากในปจจุบันแต ละประเทศตางตระหนักถึงการคนหาพลังงานทดแทน เนื่องจากพลังงานที่มีอยูมีราคาแพง จากการที่ประเทศฟลิปปนสเปนเจาภาพจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ครั้งที่ 2 โดยมีประเด็นหลักประกอบดวย ความมั่นคงดานพลังงาน พลังงานทดแทน การอนุรักษพลังงานและการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ

บทความวารสาร

Page 24: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 19

สาระสังเขป

2. “ไทย-ลาว สานสัมพันธ บานพี่เมืองนอง”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 74 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 32-34.

บทความเรื่องนี้กลาวถึงการลงนามบันทึกความเขาใจ (Memorandum of Understanding MOU) ระหวางไทยกับลาว ที่จะสงเสริมและใหความรวมมือในการพัฒนาไฟฟาใน สปป.ลาว เพ่ือจําหนายใหแกประเทศไทยปริมาณ 1,500 เมกะวัตต ตอมาไดมีการปรับปริมาณการรับซื้อเพิ่มเปน 3,000 เมกะวัตต การรับซื้อไฟฟาจาก สปป.ลาว นอกจากจะทําให สปป.ลาว มีรายไดมากขึ้น สามารถนําเงินไปใชพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหดีขึ้นแลวยังชวยสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางไทยกับ สปป.ลาว อีกดวย 3. “แนวทางการกํากับดูแลกิจการไฟฟาและกาซธรรมชาติ”. ว.นโนบายพลังงาน. ฉบับที่ 74 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 23-27.

เปนที่ทราบกันดีวา พลังงานเปนปจจัยสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลจึงมีความจําเปนตองสรางเสริมความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ โดยกําหนดใหมีนโยบายปรับโครงสรางการบริหารกิจการพลังงาน เพ่ือใหมีพลังงานใชอยางเพียงพอทั่วถึงในราคาที่เหมาะสมและเปนธรรม โดยกําหนดใหมีการยกรางพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน เพื่อแยกงานนโยบายและการกํากับดูแลกิจการพลังงาน แยกออกจากกันใหชัดเจนโดยใหมีการกํากับดูแลกิจการไฟฟาและกิจการกาซธรรมชาติในระยะยาว

4. “พลังงานจากขยะ”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 74 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 8-11. บทความเรื่องนี้กลาวถึง พลังงานที่ไดจากขยะ เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจทําให

ปริมาณขยะมีมากขึ้น มีปริมาณขยะชุมชนทั่วประเทศประมาณ 14.3 ลานตันตอป ขยะที่เกิดทั้งหมดไดนําไปกําจัด โดยวาจางใหเอกชนไปกําจัดดวยวิธีการฝงกลบ ที่จังหวัดนครปฐม ประมาณ 6,000 ตันตอวัน กระทรวงพลังงาน โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ไดศึกษาความเปนไปไดในการผลิตพลังงานจากขยะ พบวาปริมาณขยะตอวันมีปริมาณมากเพียงพอ เพื่อความเหมาะสมทางดานเศรษฐศาสตรและการลงทุน โดยขยะ 100 ตัน ผลิตไฟฟาไดประมาณ 1MW

บทความวารสาร

Page 25: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 20

สาระสังเขป

5. “มาตรการปองกันการขาดแคลน กาซปโตรเลียมเหลวในประเทศ”. ว.นโยบายพลังงาน. ฉบับที่ 74 (ตุลาคม-ธันวาคม 2549) : 38-40.

กลาวถึงวิกฤตการณราคาน้ํามันดิบในชวงป พ.ศ. 2547-2549 ในตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น เรื่อยๆ ทําใหราคาน้ํามันในประเทศปรับตัวสูงขึ้นตามไปดวย และราคากาซปโตรเลียมเหลวที่มีราคาต่ํากวาทําใหประชาชนหันมาใชกาซปโตรเลียมเหลวในรถยนตแทนน้ํามันเบนซินมากขึ้นสงผลใหความตองการกาซปโตรเลียมเหลวมีมากขึ้น แตกาซปโตรเลียมผลิตไดชาและไมสามารถขยายการผลิตได ทําใหปริมาณความตองการใชในประเทศอยูในระดับใกลเคียงกับปริมาณการผลิต ซึ่งหากความตองการใชมีเพิ่มมากขึ้น ก็อาจทําใหการจัดหาตรึงตัวได

บรหิารธุรกจิ

1. “การกํากับดูแลกิจการที่ดีคืออะไร”. / โดย ศิลปพร ศรีจ่ันเพชร. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 113 (มกราคม-มีนาคม 2550) : 1.

นําเสนอสาระสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที่ดี ซึ่งเปนเรื่องสําคัญสําหรับหนวยงาน กํากับดูแลและผูบริหารขององคกร เพราะการกํากับดูแลกิจการที่ดีจะทําใหกิจการมีระบบการบริหารและการจัดการที่มีคุณภาพ มีการเปดเผยขอมูลท่ีโปรงใสและมีผลการปฏิบัติงานที่เปนมาตรฐาน ซึ่งบทความเรื่องนี้ไดอธิบายในรายละเอียด ประกอบดวย ความหมายของการกํากับดูแลกิจการที่ดี วัตถุประสงคของการกํากับดูแลกิจการ หลักการและขอพึงประพฤติของการกํากับดูแลกิจการ และองคประกอบของการกํากับดูแลกิจการ

บทความวารสาร

Page 26: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 21

สาระสังเขป

2. “การกําหนดราคาควบซื้อกิจการดวยกําไรเชิงเศรษฐศาสตร”. / โดย จิรัตน สังขแกว. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 114 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 7.

การควบรวมกิจการ เปนกลยุทธการขยายขอบเขตธุรกิจซึ่งอาจเปนไปในลักษณะแผกวาง จากฐานธุรกิจเดิม หรือลงลึกเพื่อครอบคลุมสายกระบวนการผลิต เพื่อหวังผลการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งบทความเรื่องนี้ไดอธิบายรายละเอียดการกําหนดราคาควบซื้อกิจการที่อยูบนฐานของขอสมมติฐานของตัวแปรตางๆ โดยมีรายละเอียดประกอบดวยมูลคาของกิจการเปาหมาย การกําหนดมูลคากิจการตามแนวคิดเดิม การกําหนดมูลคากิจการจากกําไรเชิงเศรษฐศาสตร การเปรียบเทียบการกําหนดราคาควบซื้อกิจการตามแนวคิด มูลคาปจจุบันสุทธิกับแนวคิดกําไรเชิงเศรษฐศาสตร และแนวคิดกําไรเชิงเศรษฐศาสตรนําไปสูความเขาใจตอปจจัยขับเคลื่อนมูลคาไดชัดเจนขึ้น

3. “การประเมินประสิทธิภาพองคกรดวยวิธีการ DEA : ตัวแบบ RCCR และการคํานวณดวย Excel”. / โดย ประสพชัย พสุนนท. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 114 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 25.

นําเสนอวิธีการประเมินประสิทธิภาพขององคกร ซึ่งบทความเรื่องนี้ไดนําเสนอตัวแบบ RCCR ของวิธีการ Data Envelopment Analysis (DEA) และการคํานวณดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel โดยมีเนื้อหาในบทความ ประกอบดวย 1) บทนํา เปนการปูพ้ืนฐานถึงลักษณะทั่วไปของวิธีการ DEA และการตัดสินใจเพื่อพิจารณาจากหลายปจจัย 2) ตัวอยางขอมูลจากรายงานวิจัยของ Kao and Hung 3) ความสัมพันธระหวางตัวแบบ CCR ตัวแบบ BCC และตัวแบบ RCCR เปนการแสดงความสัมพันธของทั้ง 3 ตัวแบบ 4) การคํานวณวิธีการ DEA ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel 5) สรุป

4. “การเพิ่มศักยภาพของธุรกิจโดยอาศัยการจัดจางภายนอกในกิจกรรมโลจิสติกส กรณีศึกษา :

ขบวนการตอบสนองคําสั่งซื้อสําหรับสงออกบริษัทปลาทูนากระปอง”. / โดย พงษชัย อธิคมรัตนกุล และ ณัฐพล พุทธิพงษ. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 114 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 39.

การจัดจางภายนอก คือ วิธีการในการบริหารจัดการรูปแบบหนึ่งโดยองคกรผูจัดจางทําการ มอบหมายกระบวนการหรือการบริการตางๆ ใหบุคคลภายนอกที่มีความชํานาญมาดําเนินการแทน บทความนี้นําเสนอในรูปแบบงานวิจัย เพ่ือประเมินถึงความเหมาะสมในการจัดจางภายนอก

บทความวารสาร

Page 27: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 22

สาระสังเขป

กิจกรรมโลจิสติกสของบริษัทที่ผลิตปลาทูนากระปอง โดยทําการศึกษาระบบตอบสนองคําสั่งซื้อ ประเด็นปญหาที่บริษัทประสบอยู และทําการวิเคราะหตนทุนโดยใชระบบบัญชีตนทุนตามกิจกรรมและระยะเวลาในการดําเนินการ

5. “จัดการ SMEs ดวยขอมูลทางบัญชี”. / โดย ศิลปพร ศรีจ่ันเพชร. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 114 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 1.

อธิบายถึง การมีระบบขอมูลทางการบัญชีในการประกอบธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ซึ่งขอมูลทางการบัญชีจะชวยผูประกอบการในการวางแผน การตัดสินใจ และควบคุมการดําเนินงานไปสูเปาหมาย โดยเฉพาะขอมูลภายในหนวยงานจําเปนตองมีการจัดเก็บอยางเปนระบบ เพื่อมิใหละเลยและอาจลืมจนไมไดนํามาประกอบการพิจารณา บทความเรื่องนี้ไดชี้ใหเห็นวาผูประกอบการSMEs ในปจจุบันยังไมไดใหความสําคัญในการจัดทําบัญชีและการนําเอาขอมูลทางการบัญชีมาใชประโยชนในทางการบริหารงานเทาที่ควร และไดอธิบายถึงการจัดทําบัญชีในสวนตางๆ ไวพอสังเขป 6. “Benchmarking กับการพัฒนาองคกร”. / โดย นภดล รมโพธิ์. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 114 (เมษายน-มิถุนายน 2550) : 4.

Benchmarking เปนแนวคิดที่ใหองคกรทําการเปรียบเทียบกับสิ่งที่ดีที่สุด และนําผลของ การเปรียบเทียบเพื่อมาใชปรับปรุงพัฒนาองคกร โดยมีหัวขอท่ีนําเสนอประกอบดวย ประเภทของ Benchmarking ประโยชนของ Benchmarking และขอควรระวังและปญหาในการนํา Benchmarking ไปใชในองคกร ทั้งนี้แนวคิด Benchmarking ไมใชเพียงแตการเปรียบเทียบตัววัดผลหรือการลอกเลียนแบบวิธีการทํางาน แตเปนแนวทางที่กระตุนใหองคกรตระหนักถึงสถานะของตนเองและศึกษาพัฒนาแนวทางการปฏิบัติงานที่ดีที่สุดที่จะทําใหองคกรสามารถพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่องและยั่งยืนในอนาคต 7. “มูลคาเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร (Economic Value Added) กับการเพิ่มผลิตภาพขององคกร”. / โดย นภดล รมโพธิ์. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 113 (มกราคม-มีนาคม 2550) : 7.

นําเสนอสาระสําคัญเกี่ยวกับมูลคาเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร หรือ EVA® ซึ่งเปนเครื่องมือ ทางการบริหารอยางหนึ่งซึ่งจะบงชี้วาแตละองคกรสามารถสรางผลตอบแทนไดมากกวาหรือนอยกวา

ตนทุนขององคกรอยางไร โดยผานตัววัดผลทางการเงิน EVA® จะชวยใหผูบริหารทราบวาองคกรไดรับผลตอบแทนเปนที่นาพอใจหรือไม แนวคิดนี้เปนการชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของสินทรัพยที่มีอยู

บทความวารสาร

Page 28: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 23

สาระสังเขป

ขององคกร จึงชวยใหผูบริหารและพนักงานของในองคกรตระหนักถึงความสําคัญในการนําสินทรัพยมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

8. “Strategic Alignment : บทบาทของ HRM ที่ยังไปไมถึง”. / โดย วิทยา ดานธํารงกุล. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 113 (มกราคม-มีนาคม 2550) : 10.

การยึดโยงทางกลยุทธ (Strategic Alignment) ถือไดวาเปนบทบาทขั้นสูงสุดบนปรามิด ความรับผิดชอบของงานบริหารทรัพยากรมนุษย และเปนอีกบทบาทหนึ่งที่เปลี่ยนไปของผูบริหารซึ่งจะตองยึดโยงงานของฝายบริหารทรัพยากรมนุษยเขากับพันธกิจและกลยุทธขององคกรอยางเปนเนื้อเดียวกัน จากการสํารวจของ U.S. Office of Personnel Management (OPM) ในป 1999 สะทอนใหเห็นวาความพยายามที่จะผลักดันฝายทรัพยยากรมนุษยใหมีบทบาทในเชิงกลยุทธมากขึ้นยังไมไดรับความสําเร็จเทาที่ควร โดยมีสาเหตุมาจากทั้งตัวผูบริหารระดับสูงและผูบริหารฝายทรัพยากรมนุษยที่มีมุมมองในดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยแตกตางกัน ทําใหเปนอุปสรรคตอการแสดงบทบาทในเชิงกลยุทธและการสรางการยึดโยงกับกลยุทธขององคกรฝายบริหารทรัพยากรมนุษย

9. “หมายเหตุดานเทคนิค Copula VaR และ Copula Expected Shortfall เพื่อการวัดระดับความเสี่ยง

ของพอรตตราสารหนี้ไทย”. / โดย อัญญา ขันธวิทย. ว.บริหารธุรกิจ. ปที่ 30 ฉบับที่ 113 (มกราคม-มีนาคม 2550) : 13.

ปจจุบันการลงทุนในกลุมตราสารหนี้ โดยเฉพาะตราสารหนี้ภาครัฐไดรับความนิยมมาก ในหมูนักลงทุนสถาบันและหมูผูลงทุนรายยอย ซึ่งบทความเรื่องนี้มุงชี้ใหเห็นวาอัตราผลตอบแทนของตราสารหนี้ไทยมิไดมีการแจกแจงแบบปกติ ทําใหการระบุระดับความเสี่ยงของพอรตตราสารหนี้ไทยโดยอิงคา Normality VaR ซึ่งนิยมใชกันแพรหลายในหมูผูบริหารการลงทุนมืออาชีพ อาจใหคาที่คลาดเคลื่อนจากระดับที่แทจริง การใชวิธี Copula เปนพัฒนาการใหมทางการเงินและการบริหารความเสี่ยงที่ใชแกปญหาทางเทคนิค โดยการพิจารณาการแจกแจงที่เปนจริงของตราสารหนี้ไทย

บทความวารสาร

Page 29: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 24

สาระสังเขป

ผูจัดการ

1. “เศรษฐกิจจีน “ขาลง” จริงหรือ?”. / โดย วริษฐ ลิ้มทองกุล. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 286 (กรกฎาคม 2550) : 63.

นําเสนอสถานการณเศรษฐกิจของจีนและคําอธิบายในเชิงปจจัยพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจจาก ผูเชี่ยวชาญและนักเศรษฐศาสตรระดับโลก โดยกลาวถึงทั้งในระดับมหภาคและระดับจุลภาค ซึ่งทําใหเห็นถึงรัฐบาลจีนมีปญหาเศรษฐกิจที่จะตองแกไขอยูหลายประการ โดยเฉพาะปญหาในระยะสั้นที่มีความจําเปนตองแกไขอยางเรงดวน ไมวาจะเปนปญหาคาครองชีพของประชากร การลดความรอนแรงของการเก็งกําไรในตลาดหลักทรัพยและอสังหาริมทรัพย รวมไปถึงการปรับเปลี่ยนคาเงินหยวนใหอยูในระดับที่เหมาะสม

2. “โอกาสของไทยจากวิกฤติโลกรอน”. / โดย พัชรพิมพ เสถบุตร. ว.ผูจัดการ. ปที่ 24 ฉบับที่ 286 (กรกฎาคม 2550) : 120.

กลาวถึงสถานการณวิกฤติโลกรอนในประเทศไทย ถึงแมภาวะโลกรอนจะกอใหเกิดความ เสียหายเปนสวนใหญตอมนุษยชาติ ตามที่นักวิทยาศาสตรคาดการณไว แตก็ยังเปดโอกาสใหประเทศตางๆ ในพื้นโลกไดทบทวนแนวทางการดําเนินงานดานตางๆ ในอดีตใหไปในทิศทางที่ถูกตองยิ่งขึ้น สําหรับประเทศไทยไดมีแนวทางตางๆ พอสมควร คือ ลดการนําเขาน้ํามัน-ถานหิน เพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวในเมือง ลดการตัดไมทําลายปา ทบทวนแผนการพัฒนาตางๆ ซึ่งแนวทางดังกลาวตองไดรับความรวมมือจากภาครัฐและเอกชน เพ่ือลดวิกฤติผลกระทบจากภาวะโลกรอนในประเทศใหประเทศเบาบางลง

บทความวารสาร

Page 30: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 25

สาระสังเขป

ผูสงออก

1. “กฎหมายการระบุสรรพคุณสินคาอาหารบนฉลากสินคาที่วางจําหนายในสหรัฐฯ”. / โดย สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 478 (ปกษแรก กรกฎาคม 2550) : 36.

อธิบายถึงวิธีการระบุสรรพคุณสินคาอาหารไวบนฉลากสินคาอาหารสําหรับวางจําหนาย ในตลาดสหรัฐฯ ซึ่งตองเปนไปตามกฎระเบียบของ USFDA ทั้งนี้การระบุสรรพคุณบนฉลากสินคาที่บังคับใชอยูในปจจุบันแยกออกเปน 4 ประเภท ไดแก 1) การอางสรรพคุณดานสุขภาพ 2) การอางสรรพคุณดานโครงสราง และ/หรือปฏิบัติการ 3) การอางสรรพคุณสวนประกอบที่เปนโภชนาการ และ 4) การอางสรรพคุณเรื่อง “Dietary”

2. “การประยุกตใช EPC&RFID สําหรับภาคอุตสาหกรรมและบริการ”. / โดย สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 479 (ปกษหลัง กรกฎาคม 2550) : 35.

เลขรหัสสินคาอิเล็กทรอนิกส (EPC) เปนโครงสรางใหมในการกําหนดเลขรหัสใหกับ สินคาที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย AUTO-ID Center ซึ่งจะทําใหการกําหนดเลขรหัสเพื่อบงชี้สินคาแตละหนวยยอยมีความแตกตางกัน ทําใหมีประสิทธิภาพดีกวาเลขรหัสบารโคดในระบบเดิม ซึ่งบทความเรื่องนี้ไดอธิบายรายละเอียดที่เกี่ยวของกับเลขรหัส EPC ประกอบดวย ประโยชนและขอแตกตางของ EPC และบารโคด โครงสรางหลักของเลขรหัส EPC สถานภาพและแนวโนมการใชตลอดจนการพัฒนา RFID ในปจจุบัน ผลกระทบของการใชและการพัฒนา RFID ตอประเทศไทย และขอเสนอแนะและมาตรการที่จําเปนเพื่อทําใหการใชและการพัฒนา RFID ของไทยขยายตัว

บทความวารสาร

Page 31: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 26

สาระสังเขป

3. “การควบคุมมาตรฐานสินคาสงออกขาวหอมมะลิไทย”. / โดย กอเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา และ กุลวัฒน บัวสวัสดิ์. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 478 (ปกษแรก กรกฎาคม 2550) : 39.

ขาวหอมมะลิไทยจัดเปนขาวที่มีคุณภาพสูง ทําใหมีผูไมหวังดีทําการปลอมปน ซึ่งสงผล ตอราคาขาวที่ตกต่ํา และขาดความเชื่อถือจากผูซื้อ และยังสงผลกระทบตอชื่อเสียงของประเทศและการสงออกของไทย ดังนั้นกระทรวงพาณิชยจึงไดกําหนดใหขาวหอมมะลิไทยเปนสินคามาตรฐาน โดยมีผลบังคับใช เมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2545 เปนตนมา และมีหลายหนวยงานเขามาเกี่ยวของในการกํากับดูแล ไมวาจะเปนการออกใบรับรองมาตรฐานสินคาโดยสภาหอการคาแหงประเทศไทย การตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานสินคาโดยสํานักงานมาตรฐานสินคา เพื่อใหสินคาถูกตองตามหลักเกณฑและวิธีการที่กฎหมายกําหนด

4. “ทําไมตองมีการลงทุนในอาเซียน”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 478 (ปกษแรก กรกฎาคม 2550) : 22.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึง ความสําคัญของการลงทุนในอาเซียน ประกอบดวย สาเหตุของ การลงทุนในอาเซียน การลงทุนและกฎระเบียบการลงทุนในประเทศอาเซียน ซึ่งบทความนี้กลาวถึงสองประเทศ คือ พมา และ มาเลเซีย ภายใตหัวขอท่ีสําคัญ คือ กฎกติกาพื้นฐานดานการคาในสหภาพพมา และมาเลเซีย แนวความคิดนําเสนอโครงการพัฒนาเขตนิคมอุตสาหกรรมพิเศษบริเวณ ชายแดน ประโยชนฝายพมา ประโยชนฝายไทย ประเด็นหลักในการจัดตั้งเขตนิคมอุตสาหกรรมพิเศษ และสินคาไทยที่มีศักยภาพในตลาดมาเลเซีย

5. “ธุรกิจบริการไทยหวัง JTEPA Welcome ลูกคาตางชาติ”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 479 (ปกษหลัง กรกฎาคม 2550) : 51.

ผลจากการที่ประเทศไทยมีการทํา JTEPA กับประเทศญี่ปุน สงผลใหเกิดการสงเสริมและ สนับสนุนดานการคา การลงทุนระหวางไทยกับญี่ปุน และเกิดการเคลื่อนยายประชากรระหวางกัน ทั้งการเดินทางทองเที่ยวหรือการพักอาศัยเพ่ือทํางาน รวมทั้งการรักษาพยาบาลซึ่งชาวญี่ปุนที่เขามารักษาพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชนของไทยมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งประเทศไทยจําเปนตองเตรียมความพรอมไวรองรับคนไขชาวญี่ปุนที่จะเพิ่มขึ้นในดานตางๆ ไมวาจะเปนการอบรมใหความรูบุคลากรทางการแพทยทั้งทางภาษา วัฒนธรรม เพื่อใหเขาใจอุปนิสัยและความตองการของชาวญี่ปุน และมีบุคลากรทางการแพทยที่ยังขาดแคลนใหเพียงพอตอความตองการของผูใชบริการ

บทความวารสาร

Page 32: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 27

สาระสังเขป

6. “ระดับน้ําทะเลในอาวไทยสูงข้ึนจริงหรือ?”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 479 (ปกษหลัง กรกฎาคม 2550) : 25.

คณะกรรมการระหวางประเทศวาดวยสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง (IPCC) ทํานายวาระดับ น้ําทะเลจะเพิ่มขึ้น 31, 366 และ 110 ซม. ในหนึ่งศตวรรษ จึงมีคําถามตามมาวา ระดับน้ําทะเลในอาวไทยสูงขึ้นจริงหรือและสูงขึ้นเทาไร และระดับน้ําทะเลสูงขึ้นจะมีผลเสียอยางไร และบทความนี้ไดนําเสนอสรุปสาเหตุหลักๆ เอาไว 4 ปจจัย ไดแก 1) อิทธิพลโลกรอนทําใหน้ําแข็งขั้วโลกละลาย 2) การยกตัวขึ้นและการทรุดตัวของแผนดินเมื่อเกิดเหตุการณแผนดินไหว 3) การกระทําของมนุษย เชน การสูบน้ําบาดาล และการกัดเซาะชายฝง และ 4) อิทธิพลของสมุทรศาสตรและภูมิอากาศ (เอล นิโญ) หรือ ลมมรสุมและกระแสน้ําในทะเล

7. “โลกรอนกับอนาคตอุตสาหกรรมอาหารของไทย”. ว.ผูสงออก. ปที่ 20 ฉบับที่ 478 (ปกษแรก กรกฎาคม 2550) : 25.

กลาวถึงภาวะโลกรอนที่สงผลกระทบตออุตสาหกรรมอาหารของไทย ที่สามารถเห็นได ชัดเจน คือ ความเสียหายตอผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะขาวซึ่งเปนสินคาเกษตรหลักของไทยจะมีปริมาณลดลงในอนาคต ซึ่งเปนผลมาจากสภาพภูมิอากาศแปรปรวนมีความรอนและแหงแลงมากขึ้น นอกจากนี้ในดานอุตสาหกรรมอาหารของไทยที่เห็นเดนชัด คือ ปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ ซึ่งจะทําใหผูประกอบการและผูบริโภคตองแบกรับภาระตนทุนของสินคาอาหารที่ปรับเพิ่มขึ้นอยางหลีกเลี่ยงไมได โดยมีการคาดการณวาในอีกไมเกิน 10 ปขางหนาราคาอาหารจะปรับเพิ่มปริมาณ 20-50 เทา ปญหาโลกรอนจึงเปนปญหาใกลตัวท่ีมีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคตอันใกลและยังสงผลกระทบเปนวงกวาง การทําความเขาใจถึงสาเหตุของปญหาและรวมมือกันหาทางแกไขจึงเปนแนวทางที่จําเปนตองทํา เพ่ือมิใหปญหารุนแรงเกินกวาจะแกไขได

บทความวารสาร

Page 33: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 28

สาระสังเขป

วิชาการศาลปกครอง

1. “...กับการคนหา “รัฐธรรมนูญที่ดี”. / โดย ชอง-มารี ครูซาติเยร. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 98-118.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง ลักษณะของรัฐธรรมนูญที่ดี โดยผูเขียนไดต้ังขอสังเกตบางประการ ในเรื่องทั่วๆ ไปเกี่ยวกับบรรดาเงื่อนไขตางๆ สําหรับการสถาปนารัฐธรรมนูญที่ดี และลักษณะของรัฐธรรมนูญที่ดี ซึ่งมีลักษณะดังตอไปนี้ 1) รัฐธรรมนูญพึงตองสอดคลองกับวัฒนธรรมและประเพณีทั้งหลายของชาติ 2) รัฐธรรมนูญที่ปกปองเสรีภาพของราษฎรแตละคนและของประชาคมทั้งมวลของรัฐ 3) รัฐธรรมนูญพึงตองสรางกลไกเพื่อกําหนดใหการใชอํานาจตองเปนไปตามกฎหมาย และ 4) รัฐธรรมนูญพึงกําหนดกรอบสําหรับกิจการทางการเมืองเพียงเทาที่เหมาะสมและจําเปน นอกจากนี้ผู เขียนยังใหความเห็นเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญของประเทศไทย และเสนอแนะแนวทางในการรางรัฐธรรมนูญเพื่อใหเปนรัฐธรรมนูญที่ดี และสามารถใชไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. “ขอสังเกตจากขอกฎหมายปกครองตามคําสั่งหรือคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุด”. / โดย อุดมศักดิ์ นิติมนตรี. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 23-39.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 636/2549 และที่ 640/2549 ซึ่งเปนคําสั่ง ที่ลงวันที่ 4 ตุลาคม 2549 วันเดียวกัน เปนเรื่องเกี่ยวกับการที่เจาหนาที่ของรัฐออกคําสั่งโดยไมชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลปกครองชั้นตนมีคําสั่งไมรับคําฟองไวพิจารณาและใหจําหนายคดีออกจากสารบบความ แตปรากฏวาคําสั่งคํารองอุทธรณคําสั่งไมรับคําฟองไวพิจารณาของศาลปกครองสูงสุดทั้งสองคดีดังกลาวแตกตางกัน โดยคําสั่งที่ 636/2549 ใหศาลปกครองชั้นตนดําเนินกระบวนพิจารณาตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบ แลวพิจารณาคําสั่งคําฟองตามเงื่อนไขแหงการฟองคดีตอไป สวนคําสั่งที่ 640/2549 มีคําสั่งยืนตามคําสั่งของศาลปกครองชั้นตนที่ไมรับคําฟองไวพิจารณา ซึ่งคําสั่งศาลปกครองสูงสุดดังกลาวขางตนขัดแยงกัน ผูเขียนจึงไดวิเคราะหประเด็นปญหากฎหมายจากคําสั่งศาลปกครองสูงสุดทั้งสองคําสั่งเปนขอสังเกตทังหมด 11 ประการ อาทิเชน ขอพิจารณาวา “คําสั่งอื่น กับ “การพิจารณาทางปกครอง” มีความหมายแตกตางกันหรือไม? ศาลปกครองสูงสุดมีแนวทางการวินิจฉัยในประเด็นปญหาดังกลาวขางตนอยางไร ปรากฎในคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.

บทความวารสาร

Page 34: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 29

สาระสังเขป

28/2547 (ประชุมใหญ) คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.69/2547 คําสั่งศาลปกครองสูงสุดที่ 29/2547 และคําสั่งที่ 452/2549 เปนตน

3. “ความเปนกลางของตุลาการและความเปนอิสระของศาลปกครอง”. / โดย บุบผา อัครพิมาน. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 48-81.

บทความเรื่องนี้ ศึกษาถึงระบบที่สงผลเปนการถวงดุลอคติสวนตัวของตุลาการและระบบ ที่จะทําใหตุลาการ รวมท้ังสถาบันตุลาการเปนอิสระหลุดพนจากอิทธิพลการแทรกแซงขององคกรภายนอก โดยจําเปนการศึกษาและนําเสนอในเชิงเปรียบเทียบระบบกระบวนการยุติธรรมทางปกครองของสองระบบ คือระบบของไทยและระบบของฝรั่งเศส ซึ่งแบงเนื้อหาเปน 3 สวน คือ สวนที่ 1 การประกันความเปนอิสระของตุลาการศาลปกครองโดยระบบวิธีพิจารณาคดีปกครอง สวนที่ 2 การประกันความเปนอิสระของตุลาการศาลปกครองโดยระบบการบริหารงานบุคคลของศาลทั้งระบบของประเทศไทยและฝรั่งเศส และสวนที่ 3 ตัวอยาคําวินิจฉัยของสภาแหงรัฐฝรั่งเศสในประเด็นความเปนอิสระของตุลาการเจาของสํานวน (C.E., 5 October 2005, Hoffer, RFDA n 5 Septembre-Octobre 2005, p. 942 et. S.) นอกจากนี้ยังมี่คําแถลงการณของ นาย Francois SENERS ตําแหนงสมาชิกสภาแหงรัฐระดับ maitre des requêtes ปฏิบัติหนาที่ผูแถลงคดีดวย 4. “คําพิพากษาของศาลแหงประเทศสวีเดน การเพิกถอนคําสั่งทางปกครองที่เปนการใหประโยชน”.

/ โดย นาตาชา วศินดิลก. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 172-175.

บทความเรื่องนี้ อธิบายถึงคําพิพากษาของศาลแหงประเทศสวี เดนในเรื่องการเพิกถอน คําสั่งทางปกครองที่เปนการใหประโยชน ซึ่งมีประเด็นที่ตองวินิจฉัย 4 ประเด็น คือ ประเด็นที่ 1 ประเทศสวีเดนมีหลักกฎหมายใดใหอํานาจหนวยงานของรัฐเปลี่ยนแปลงคําสั่งหรือคําวินิจฉัยเดิมอันเปนผลใหเกิดความเสียหายแกบุคคลหรือไม ประเด็นที่ 2 กฎหมายของประเทศสวีเดน มีขอยกเวนหลักเรื่องความแนนอนแหงคําสั่งทางปกครองหรือไม ประเด็นที่ 3 ความจําเปนในการพิจารณาทําคําสั่งทางปกครองใหมมีลักษณะอยางไร และประเด็นที่ 4 คําสั่งทางปกครองซึ่งเปนการใหประโยชนแกผูรับคําสั่งโดยไมไดกําหนดเวลาสิ้นสุดของการบังคับตามคําสั่งและไมมีขอสงวนสิทธิใหเปลี่ยนแปลงไวโดยชัดแจงนั้น ควรถือเปนคําสั่งที่มีเงื่อนไขใหเปลี่ยนแปลงหรือพิจารณาใหมไดหรือไม พรอมทั้งมีประเด็นหลักที่จะตองวินิจฉัยวาผูถูกฟองคดีมีสิทธิเปลี่ยนแปลงคําสั่งเดิมซึ่งไมไดกําหนดระยะเวลาการมีผลบังคับใหของคําสั่งและไมมีขอความกําหนดเงื่อนไขใหเปลี่ยนแปลงหรือขอ

บทความวารสาร

Page 35: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 30

สาระสังเขป

สงวนสิทธิในการเพิกถอนคําสั่งไว โดยมีคําสั่งใหมในทางที่ทําใหผูฟองคดีตองไดรับความเสียหายไดหรือไม ซึ่งผูแปลคําพิพากษาฉบับนี้ไดอธิบายขอเท็จจริงและคําพิพากษาอยางละเอียด พรอมทั้งอธิบายเหตุผลตามหลักกฎหมายในแตละประเด็นอยางละเอียด

5. “คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดโปรตุเกส บทสันนิษฐานความรับผิดกับภาระการพิสูจน”. / โดย ยงยุทธ อนุกูล. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 176-181.

บทความเรื่องนี้อธิบายถึงคําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดโปรตุเกสในเรื่องบทสันนิษฐาน ความรับผิดกับภาระการพิสูจน โดยมีขอเท็จจริงวาผูฟองคดีฟองเทศบาลวาละเลยตอหนาที่ไมดูแลรักษาฝาปดทอระบายน้ําเสียใหอยูในสภาพเรียบรอย ทําใหรถของบริษัทผูฟองคดีประสบอุบัติเหตุ ผูฟองคดีมีภาระตองพิสูจนวาฝายปกครองบกพรองตอหนาที่อยางไร จะนําหลักบทสันนิษฐานความรับผิดตามกฎหมายแพงมาใชกับกรณีนี้ไดหรือไม? คําพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดของโปรตุเกสจึงวางหลักกรณีความรับผิดของรัฐกระทําโดยไมชอบดวยกฎหมาย (fait illicite) โดยผลักภาระการพิสูจนไปใหอีกฝายหนึ่งแทนที่จะใชหลักตามประมวลกฎหมายแพงมาตรา 493 ซึ่งผูแปลคําพิพากษานี้ไดอธิบายขอเท็จจริงและคําพิพากษาอยางละเอียดพรอมทั้งอธิบายหลักกฎหมายของโปตุเกสที่เกี่ยวของอยางเปนระบบดวย 6. “ประสบการณรัฐธรรมนูญของประเทศตุรกีภายหลังการรัฐประหาร”. / โดย ดนัย ศรีโมรา.

ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 119-125. บทความเรื่องนี้กลาวถึง รัฐธรรมนูญของประเทศตุรกีภายหลังการรัฐประหาร โดยผูเขียน

ไดอธิบายถึงการรัฐประหาร 2 ครั้ง คือ เหตุการณการรัฐประหารในป ค.ศ. 1961 รวมถึงสาระสําคัญเกี่ยวกับการเลือกตั้งในรัฐธรรมนูญฉบับป ค.ศ. 1961 ซึ่งรางขึ้นใหมแทนรัฐธรรมนูญฉบับแรก ป ค.ศ. 1924 และเหตุการณการรัฐประหารในป ค.ศ. 1980 รวมถึงสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญป ค.ศ. 1982 ในสวนที่เกี่ยวกับการปฏิรูปโครงสรางฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหารและฝายตุลาการ นอกจากนี้ยังอธิบายถึงจุดเดนของรัฐธรรมนูญประเทศตุรกีจํานวน 9 ประการ อาทิเชน การตรวจสอบการทุจริตของขาราชการระดับสูงและนักการเมืองโดยศาลตรวจเงินแผนดิน การปองกันการรัฐประหารโดยกําหนดใหจัดตั้งสภาความมั่นคงแหงชาติ การปองกันการเกิดสูญญากาศทางการเมือง การปองกันมิใหรัฐบาลรักษาการในระหวางการเลือกตั้งใชอํานาจใหเปนคุณหรือเปนโทษแกผูสมัครรับเลือกตั้ง เปนตน

บทความวารสาร

Page 36: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 31

สาระสังเขป

7. “หลักการคุมครองความเชื่อถือหรือความไววางใจโดยสุจริตของประชาชน”. / โดย มานิตย วงศเสรี. ว.วิชาการศาลปกครอง. ปที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 40-47.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง หลักการคุมครองความเชื่อถือหรือความไววางใจโดยสุจริตของ ประชาชน (Vertrauensschutzprinzip) ซึ่งเปนหลักกฎหมายทั่วไปที่มีความสําคัญในระบบกฎหมายมหาชนของประเทศสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี แสดงใหเห็นถึงการรับรองคุมครองและรับประกันถึงเรื่องสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนและยังแสดงใหเห็นถึงการใหบทบาทความสําคัญ “หลักซื่อสัตยสุจริต (True und Glauben)” บทความนี้แบงเนื้อหาออกเปน 7 สวน คือ สวนที่ 1 คําเกริ่นนํา สวนที่ 2 ความทั่วไป สวนที่ 3 หลักการคุมครองความเชื่อถือหรือความไววางใจโดยสุจริตในบทบัญญัติของกฎหมาย สวนที่ 4 หลักการคุมครองเชื่อถือหรือความไววางใจโดยสุจริตในคําสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเปนการใหประโยชน สวนที่ 5 พ้ืนฐานทางกฎหมายของ “หลักการคุมครองความเชื่อถือหรือความไววางใจโดยสุจริตของประชาชน” สวนที่ 6 แนวทางการบังคับใช “หลักการคุมครองความเชื่อถือหรือความไววางใจโดยสุจริต” ในคําสั่งทางปกครองที่มีลักษณะเปนการใหประโยชน และสวนที่ 7 บทสรุป

เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร

1. “การประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรดานเนื้อไมของปาเขาหัวชางตําบลตะโหมด อําเภอตะโหมด

จังหวัดพัทลุง”. / โดย เสาวลักษณ รุงตะวันเรืองศรี. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 25 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2550) : 106-129.

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือประเมินมูลคาทางเศรษฐศาสตรของประโยชนในดานเนื้อไม จากปาชุมชนเขาหัวชาง ซึ่งมีพ้ืนที่ทั้งหมดประมาณ 2,000 ไร โดยแบงการประเมินมูลคาเปน 3 ประเภท คือ มูลคาไมใหญมูลคาไมหนุม และมูลคาลูกไมและกลาไม และทําการศึกษาถึงปริมาตรไมและความหนาแนนของหมูไมที่มีอยูในพื้นที่ปาชุมชนเขาหัวชาง โดยการวางแปลงสํารวจตัวอยางเพื่อใชในการหาปริมาณที่เปนตัวแทนของปาชุมชนเขาหัวชาง โดยในสวนของมูลคาไมใหญจะประเมิน

บทความวารสาร

Page 37: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 32

สาระสังเขป

เฉพาะมูลคาเนื้อไมทั้งหมดในปา สวนไมหนุมจะประเมินมูลคาดวยวิธีการตลาดคือใชราคาตลาดประเมิน

2. “ความสัมพันธระหวางมาตรฐานแรงงานกับการคาระหวางประเทศ : สํารวจพรมแดนแหงความรู”. / โดย นิรมล สุธรรมกิจ. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 25 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2550) : 68-105.

การศึกษาเรื่องนี้ต้ังประเด็นคําถามใหญวา หากเวทีการเจรจาการคาระหวางประเทศมีการ หยิบยกประเด็นเรื่องมาตรฐานแรงงานขึ้นมาใชเปนเงื่อนไขในการคาแลว ประเทศกําลังพัฒนาจะไดรับผลกระทบมากนอยเพียงใด โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาแนวคิดและกรอบการวิเคราะหทางทฤษฎีเศรษฐศาสตรที่เกี่ยวของกับมาตรฐานแรงงานในระเบียบเศรษฐศาสตรระหวางประเทศ ผลการศึกษาแบงไดเปน 3 ประเด็นใหญ ดังนี้ 1) กรอบทฤษฎีการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรที่มักใชวิเคราะหเรื่องความสัมพันธระหวางมาตรฐานแรงงานกับการคาระหวางประเทศนั้นมีอยูหลายทฤษฎี 2) การวิจัยพบวาไมสามารถสรุปความสัมพันธไดชัดเจนวาเปนความสัมพันธเชิงบวกหรือเชิงลบ และการผลักดันใหบังคับใชมาตรฐานแรงงานในประเทศกําลังพัฒนาจะเปนผลเสียมากกวาผลดี 3) การใชมาตรการคว่ําบาตรทางการคาจะสรางผลเสียตอประเทศผูสงออกที่เปนประเทศกําลังพัฒนา 3. “ผลกระทบของการเปดเสรีการคาและการปรับตัวในหวงโซอุปทานในภาคอุตสาหกรรมสิ่งทอ

ของไทย”. / โดย เกรียงไกร เตชกานนท และ ภัททา เกิดเรือง. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 25 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2550) : 1.

บทความเรื่องนี้ ศึกษาผลกระทบของการเปดเสรีการคาสิ่ งทอและเครื่องแตงกายตอ ความสัมพันธในหวงโซอุปทานระดับโลก และการปรับตัวของผูผลิตในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในชวงที่มีการทยอยการยกเลิกโควตาภายใตความตกลงวาดวยสิ่งทอและเครื่องนุงหม และภายหลังการยกเลิกโควตา โดยอาศัยขอมูลการสงออกเพื่อคํานวณดัชนีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบที่ปรากฏของไทยเทียบกับประเทศผูสงออกอื่นเพื่อดูแนวโนมการเปลี่ยนแปลง พรอมทั้งพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสวนแบงตลาดในตลาดโลก

บทความวารสาร

Page 38: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 33

สาระสังเขป

4. “ผลกระทบ nontraditional activities ที่มีตอประสิทธิภาพการดําเนินงานของธนาคารพาณิชยไทย”. / โดย เต็มศิริ เอื้อวิเศษวัฒนา. ว.เศรษฐศาสตรธรรมศาสตร. ปที่ 25 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน 2550) : 65.

นําเสนอรายละเอียดการศึกษาผลกระทบของ nontraditional activities ที่มีตอประสิทธิภาพ การดําเนินงานของธนาคารพาณิชย ซึ่งทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงทางดานการดําเนินธุรกิจดานการเงินของธนาคารพาณิชยแตละแหง ซึ่งจะเปนประโยชนในแงการวางแผนกลยุทธ และการบริหารงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายสูงสุดของกิจการ

5. “Firms’ Strategies and Market Structure in the Presence of Antidumping law”. / โดย Thammanoon Suimrojprasert, Sarut Wittayarungruanasri. ว.เศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร. ปที่ 25 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2550) : 47-67.

การลดบทบาทนโยบายกําแพงภาษี และนโยบายโควตานํา เขาในสมรภูมิการคาระหวาง ประเทศในปจจุบัน กอใหเกิดการผลักดันการใชนโยบายตอบโตการทุมตลาดอยางแพรหลาย บทความนี้ไดพัฒนาแบบจําลองดุลยภาพแยกสวนแบบ 2 ชวงเวลา เพ่ือใชศึกษาผลกระทบของกฎหมายการตอบโตการทุมตลาดที่มีตอพฤติกรรมการผลิตสินคาของผูผลิตจากแบบจําลองดังกลาว บริษัทผูผลิตในประเทศก็ถูกทุมตลาดมีแรงจูงใจในการวางกลยุทธการผลิตในชวงเวลาแรกเพื่อทําใหบริษัทที่ถูกทุมตลาดถูกเก็บภาษีจากการทุมตลาดมากยิ่งขึ้น และเปนการลดความสามารถในการแขงขันของบริษัททุมตลาดในชวงเวลาตอมา ขณะเดียวกันบริษัทที่ทุมตลาดก็มีแรงจูงใจในการปรับกลยุทธการผลิตในทิศทางตรงกันขาม และยังสามารถดําเนินกลยุทธทางเลือกอื่นไดอีก คือ บริษัทสามารถหยุดสงออกในชวงเวลาแรก เพ่ือปองกันการถูกเรียกเก็บภาษี โดยยอมใหบริษัทในประเทศที่ถูกทุมตลาดเปนผูผูกขาดตลาดในชวงเวลาแรก ดุลยภาพในตลาดทั้งสองประเทศสามารถเกิดเปนไดหลายกรณี ดุลยภาพสวนใหญมีแนวโนมที่จะทําใหการคาระหวางประเทศลดลง 6. “สองนครคาปลีกไทย : บทบาทของสถาบันและพลวัตบรรษัทคาปลีกขามชาติ”. / โดย วีระยุทธ กาญวนิชฉัตร. ว.เศรษฐศาสตร ธรรมศาสตร. ปที่ 25 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2550) : 1-46.

การวิเคราะหปรากฏการณการคาปลีกไทยยังคงจํากัดในแงการอธิบายปจจัยที่นําไปสู ผลลัพธหลังวิกฤตเศรษฐกิจป 2540 เนื่องจากวรรณกรรมที่มีอยูใชตรรกะการยึดกลไกตลาดเปนศูนยกลาง มองผลลัพธวา เมื่อประเทศกําลังพัฒนาผอนคลายกฎระเบียบ บรรษัทคาปลีกขามชาติก็เขามาเปดกิจการแลว รานคาปลีกทองถิ่นยอมไมสามารถแขงขันได บทความนี้มุงชี้ใหเห็นวาแมหลาย

บทความวารสาร

Page 39: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 34

สาระสังเขป

ประเทศในเอเชียตะวันออกจะเปดใหบรรษัทคาปลีกขามชาติกลุมเดียวกันเขามาลงทุนในชวงเวลาใกลเคียงกัน แตผลลัพธตลาดก็แตกตางกัน รัฐ กลุมทุนและวัฒนธรรมเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกติกาการเลนเกมในตลาดคาปลีกแตกตางกันออกไปในแตละประเทศ ผลลัพธการคาปลีกจึงมีความหลากหลาย ในกรณีของไทยนั้น รัฐเปดเสรีการคาปลีกเกินเลยกวากฎระเบียบมาตลอดนับแตกอนวิกฤตป 2540 วัฒนธรรมของสังคมไทยก็คอนขางสนับสนุนธุรกิจตางชาติ เอื้อตอการเติบโตของไฮเปอรมารเก็ตขามชาติ ทั้งนี้ควรมองกลไกตลาดเปนสถาบันหนึ่งที่ทํางานรวมกับสถาบันอื่นๆ ในระบบเศรษฐกิจและตองใหความสําคัญกับมิติทางการเมืองและวัฒนธรรมรวมกับมิติทางเศรษฐกิจดวย

สมุนไพรเพือ่สุขภาพ (Herb for Health)

1. “What is GABA rice? จับขาวน้ํานมไทยแปลงโฉมเปนแสนคมากคุณคาปลุกกระแสขนมสุขภาพ ...

โกอินเตอร”. / โดย นบสร วันชาญเวช และ เอกชัย สงศรีพันธ. ว.สมุนไพรเพื่อสุขภาพ (Herb for Health) ปที่ 7 ฉบับที่ 76 (เมษายน 2550) : 78-79.

กลาวถึงตํานานของ ขาวยาคู หรือ ขาวน้ํานมตั้งแตครั้งสมัยพุทธประวัติ ประโยชนของ ขาวยาคูจากพระไตรปฎก การวิจัยเกี่ยวกับขาวยาคูในประเทศญี่ปุน ซึ่งเรียกขาวชนิดนี้วา GABA Rice การศึกษาถึงประโยชนของขาวน้ํานม และการนําขาวน้ํานมมาทําเปนขนมเพื่อสุขภาพเพื่อการสงออก และเปนทางเลือกหนึ่งของคนรักสุขภาพ 2. “สงเสริมสุขภาพดวยการกินอยูอยางไทย”. / โดย มูลนิธิการแพทยแผนไทยพัฒนา. ว.สมุนไพร เพ่ือสุขภาพ (Herb for Health) ปที่ 7 ฉบับที่ 76 (เมษายน 2550) : 75-77.

บทความเรื่องนี้ไดกลาวถึงการจําแนกรสชาติของอาหารกับสรรพคุณในการบําบัดรักษา ในสวนของแพทยแผนไทย เชน รสฝาด สําหรับแกในทางสมานแผล แกทองรวง เปนตน การรับประทานอาหารใหสอดคลองกับฤดูกาลก็เปนสิ่งสําคัญและสงผลดีตอสุขภาพ ทําใหรางกายเกิด

บทความวารสาร

Page 40: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 35

สาระสังเขป

สมดุล ควรรับประทานสมุนไพร 3 ชนิด คือ สมอไทย สมอพิเภก มะขามปอม เปนตน นอกจากนี้ยังไดกลาวถึงหลักในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอีกดวย

โลกสเีขยีว

1. “ทําไมตองมีสวนสัตว วัตถุประสงคของสวนสัตว (ตอนที่ 7)”. / โดย รัฐพันธ พัฒนรังสรรค. ว.โลกสีเขียว. ปที่ 16 ฉบับที่ 91 (มีนาคม-เมษายน 2550) : 43-45.

กลาวถึงการเพาะขยายพันธุสัตวปาในสวนสัตว ซึ่งตองดูแลใหเปนไปตามความตองการ ของสัตว และยังมีเรื่องพฤติกรรมที่ตองจัดใหตามขั้นตอนการเกี้ยวพาราสี การจับคูกันของสัตว พฤติกรรมที่ตองคํานึงเปนพิเศษ คือ เรื่องปญหาอันเกิดจากพฤติกรรมฝงใจ ซึ่งจะเปนกันมากในพวกสัตวปา ที่ลูกสัตวจะจําสิ่งมีชีวิตสิ่งแรกที่เห็นวาเขาเปนสัตวชนิดนี้ ดังนั้นเราจึงอาจพบนกชนิดตางๆ จีบคน มีการรอง มีการเตนรําเพื่อเกี้ยวเหมือนกับนกพยายามจับนกดวยกัน สําหรับการจับคูนั้นสามารถบังคับไดกับสัตวบางชนิด คือเอาตัวผูไลกับตัวเมีย ตัวเมียอาจจะหวงอาอาณาเขตแตสูตัวผูไมได กลับกันหากเอาตัวเมียไปใสกรงตัวผูตัวเมียจะถูกทํารายได สัตวบางชนิดก็จะมีความกาวราวเปนพิเศษในชวงผสมพันธุ เชน ฮิบโป และมีสัตวบางชนิดที่มีพฤติกรรมฆาลูกออน

2. “เม่ือพืชสวน (ลวง) โลก”. / โดย สุพัตรา ศรีปจฉิม. ว.โลกสีเขียว. ปที่ 16 ฉบับที่ 91 (มีนาคม-เมษายน 2550) : 39-42.

กลาวถึง การจัดงานมหกรรมพืชสวนโลก ซึ่งจัดขึ้นที่ จ.เชียงใหม เผยเรื่องที่อยู เบื้องหลัง ความไมชอบมาพากลของการจัดงานครั้งนี้ หลังจากงานนี้จบสิ้นลงก็ไดคําตอบวาจะเปดพื้นที่จัดงานพืชสวนโลกเปนสวนสาธารณะ ซึ่งก็เกิดความกังวลใจในการหางบประมาณมาบริหารจัดการ เนื่องจากถึงแมจะมีนักทองเที่ยวจํานวนมากเขาชมงาน แตก็ยังไมเพียงพอกับรายจายที่สูงลิบลิ่ว ทั้งคาน้ํา คาไฟ คาคนงาน คาแสดง งานมหกรรมพืชสวนโลกนี้ตองใหประเทศเจาภาพเสนอตัวลวงหนา 4 ป ซึ่งประเทศไทยยังไมพรอมสําหรับการจัดงานแบบนี้ ทําใหเกิดความฉุกละหุก เปนการทํางานแบบลูบ

บทความวารสาร

Page 41: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 36

สาระสังเขป

หนาปะจมูก ยังดอยความรู เมื่องานเริ่มขึ้นก็เกิดปญหาตามมามากมาย ไมวาจะเปนเรื่องหองน้ํา หรือมารยาทของนักทองเที่ยว ซึ่งมักจะแอบเด็ดดอกไมและเดินลัดสนาม อีกทั้งยังเกิดปญหาแมคา พอคา รวมกันชุมนุมปดถนน อยางไรก็ตามความวุนวายครั้งใหญเริ่มเกิดขึ้นเมื่อพบการทุจริตงบประมาณของโครงการดังกลาว ทั้งการฮั้วประมูล บุกรุกพื้นที่อุทยานและการทุจริตอีกหลายดานสรางความเสียหายแกรัฐหลายรอยลานบาท

อาหารและยา

1. “การตรวจสอบพบสารเสพติดใน 5 จังหวัดภาคเหนือตอนลางระหวางป 2546-2548”. / โดย ศิริพร ทองประกายแสง และ พรพรรณ สมหวัง. ว.อาหารและยา. ปที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 50-54.

ปจจุบันยังไมมีขอมูลประจักษของการแกไขปญหาการใชยาเสพติดในเขตจังหวัด ภาคเหนือตอนลาง การศึกษานี้รวมรวมผลตรวจวิเคราะหสารเสพติดในปสสาวะ ต้ังแตเดือน พฤศจิกายน 2545 ถึง เดือน กรกฎาคม 2548 ทั้งสิน 2,272 ตัวอยาง นํามาตรวจหาสารเสพติดและวัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท รวม 6 ชนิด คือ ยาบา ยาอี กัญชา มอรฟน โคเคน และยากลอมประสาท กลุ ม เบนไซไดอะซีบี นส โดยการตรวจคั ดกรองด ว ยชุ ดทดสอบแบบภูมิ คุ ม กันวิ ทย า (Chromatoinmunoassay Test Kit) ผลการศึษาพบสารเสพติด 20.42% แบงเปนยาบา 16.11% กัญชา 1.85% เบนโซไดอะซีบีนส 0.48% ยาบารวมกับกัญชา 0.09% ยาอีรวมกับเบนไซไดอะซีบีนส 0.04% ยาบารวมกับมอรฟน 0.04% จากการศึกษาพบวากัญชาและเบนไซไดอะซีบีนสมีแนวโนมการใชเพ่ิมขึ้น และการใชสารเสพติดมากกวา 1 ชนิด

บทความวารสาร

Page 42: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 37

สาระสังเขป

2. “กัญชา มิติใหมทางการศึกษา”. / โดย ธีรธร มโนธรรม. ว.อาหารและยา. ปที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 23-31.

เปนที่ทราบกันดีวากัญชาเปนยาเสพติด ทําใหเกิดประสาทหลอน และเปนพิษตอรางกาย แตสารสังเคราะหสําคัญในพืชกัญชา หรือสารสกัดจากพืชกัญชาสามารถนํามาเปนสวนผสมของยา เพื่อนํามารักษาโรคไดและเปนที่รับรองใหขายในยุโรป และอเมริกา ในบางประเทศการใชกัญชาในทางการแพทยเปนเรื่องถูกกฎหมาย เชน ใชสําหรับผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับการรักษาแบบเคมีบําบัด เพ่ือลดอาการอาเจียนระหวางการรักษา ในบางประเทศเห็นความสําคัญของกัญชาจึงออกกฎหมายสําหรับการครอบครองเพื่อใชทางการแพทย แตจะตองครอบครองในน้ําหนักที่นอย คือ ไมเกิน 1 ออนซ ทั้งนี้ผูที่ครอบครองจะตองมีการลงทะเบียนเปนผูปวยและมีบัตรประจําตัว

3. “ความเปนหุนสวนระยะยาวระหวางภาครัฐ-ภาคเอกชน ในการคุมครองสิทธิทรัพยสินทางปญญา

เพื่อนโยบายและวัตถุประสงคทางสาธารณสุข.” / โดย สุชาติ จองประเสริฐ. ว.อาหารและยา. ปที่ 11 ฉบับที่1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 11-16.

บทความเรื่องนี้กลาวถึง การคุมครองสิทธิทรัพยสนิทางปญญา กรอบการกําหนดพันธะ กรณีการใหความคุมครองระหวางประเทศ คือ ทริปส คือ ขั้นตอนการเจรจาหาแนวทางในการคุมครองสิทธิทรัพยสินทางปญญาทามกลางที่ประชุมบรรดาสมาชิกขององคการการคาโลก ซึ่งนับวาเปนมาตรฐานที่ยอมรับกันทั่วโลก นําเสนอบทบัญญัติบางบทที่วาดวยบทบัญญัติท่ัวไป และหลักการพ้ืนฐานของขอตกลงทริปส ที่มักถูกมองขามในการตีความประเด็นบทบัญญัติตางๆ ซึ่งจะชวยใหเขาใจหลักการ เหตุผล และเจตนารมณของการคุมครองสิทธิทรัพยสินทางปญญาเปนอยางดี

4. “โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ เพื่อสรางมาตรฐานการผลิตและคุณภาพความปลอดภัยของ

ผลิตภัณฑเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุปดสนิทสําหรับผูผลิตขนาดเล็ก (ตอเนื่อง) ปงบประมาณ

2549”. / โดย หนวยตรวจสอบเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยดานอาหาร. ว.อาหารและยา. ปที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 55-65.

มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาสถานที่ผลิตเครื่องดื่มขนาดเล็ก และกลุมแมบานในการจัดการ กระบวนการผลิตและการควบคุมคุณภาพที่ไดมาตรฐาน เพ่ือใหผลิตภัณฑที่ผลิตมีความปลอดภัยตอผูบริโภค โดยมีหลักเกณฑในการคัดเลือกสถานประกอบการเพื่อรวมโครงการพัฒนาฯ คือ เปนสถานประกอบการขนาดเล็กที่มีปญหาการปนเปอนของจุลินทรียในผลิตภัณฑ แตมีความพรอมทางดานโครงสรางอาคารผลิตซึ่งพิจารณาจากผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพดานจุลินทรีย ตามเกณฑใน

บทความวารสาร

Page 43: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 38

สาระสังเขป

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2543 เรื่องเครื่องดื่มในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท และการตรวจประเมินสถานที่ผลิตโดยใชแบบประเมิน GMP (GMP Checklist) ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2543 เรื่องวิธีการผลิต เครื่องมือ เครื่องใชในการผลิตและการเก็บรักษาอาหาร

5. “แนวทางการเตรียมและการใชนมผงดัดแปลงสําหรับทารก เพื่อลดอันตรายจากการแปดเปอนของ

แบคทีเรีย”. / โดย ดวงทิพย หงษสมุทร และ สาวิตรี ตวงวิไล. ว.อาหารและยา. ปที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 5-10.

มีการตรวจพบเชื้อแบคทีเรียในนมผงสําหรับทารก ซึ่งมีผลกระทบกับทารกโดยตรง จึง ทําใหมีการเรียกคืนสินคาจากทองตลาดหลายรายการ แตจริงๆ แลวนมผงมีคุณคาทางอาหาร หากใชความรอนในการฆาเชื้อโรคจนหมด จะทําใหไมเหลือคุณคาทางอาหารเลย ซึ่งหากเกิดติดเชื้อแลวก็เปนอันตรายถึงชีวิตได จากที่ทราบกันแลววาหากใชความรอนสูง จะทําลายคุณคาทางโภชนาการของนมผงได ดังนั้นเพื่อลดโอกาสปนเปอนของเชื้อแบคทีเรีย จึงควรมีวิธีเก็บรักษานมผงที่เหมาะสม เพื่อปองกันการเพิ่มจํานวนของเชื้อแบคทีเรียท่ีทําใหเกิดอันตรายตอทารกไดอยางมีประสิทธิภาพ

6. “แนวโนมการดําเนินงานกํากับดูแลเครื่องสําอางของประเทศไทย เพื่อปรับเขาสูระบบการกํากับ

ดูแลเครื่องสําอางในอาเซียนตามขอตกลง ASEAN Cosmetic Harmonization”. / โดย สุภาวดี ธีระวัฒนสกุล. ว.อาหารและยา. ปที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 17-22.

ขอตกลงวาดวยแผนการปรับกฎระเบียบเครื่องสําอางใหสอดคลองกันแหงอาเซียน หรือ Agreement on the ASEAN Harmonized Cosmetic Regu latory Scheme หรือ AHCRs ซึ่งมีความสืบเนื่องมาจากป พ.ศ. 2540 เพื่อพิจารณาปรับกฎหมายเครื่องสําอางของประเทศสมาชิกอาเซียนใหสอดคลองกัน เพ่ือลดอุปสรรคทางการคา หรือขจัดขอจํากัดทางการคาที่ไมใชภาษี และสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกใหเครื่องสําอางที่วางตลาดในอาเซียนมีคุณภาพ มีความปลอดภัย และมีสรรพคุณตามที่กลาวอางในขอบเขตของเครื่องสําอางนําเสนอสาระสําคัญของขอตกลงนี้ แตทั้งนี้แตละประเทศยังมีความแตกตางกันทั้งดานศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม จึงทําใหในบางครั้งเปนอุปสรรคในการเจรจาขอตกลงนี้

บทความวารสาร

Page 44: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 39

สาระสังเขป

7. “มาตรฐานคลินิกเวชกรรมจังหวัดสงขลา”. / โดย นภดล อัครนพหงส. ว.อาหารและยา. ปที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2550) : 42.49.

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือสํารวจมาตรฐานคลินิกเวชกรรมในจังหวัดสงขลาตาม เกณฑมาตรฐานคลินิกเวชกรรมและคลินิกเวชกรรมเฉพาะทาง ผลการคํานวณขนาดตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณยามาเน ไดขนาดตัวอยาง 139 คลินิก โดยเก็บตัวอยางโดยวิธีการเลือกแบบบังเอิญดําเนินการระหวางเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2548 ผลการวิจัยพบวา คลิกนิกสวนใหญ สถานที่อยูในสภาพดี สะอาด และปลอดภัย รอยละ 96.40 ขอความโฆษณาสถานพยาบาลไมโออวด หรือสื่อใหเขาใจผิดรอยละ 93.50 ปายชื่อถูกตองตามหลักกฎหมายรอยละ 70.50 แสดงใบอนุญาตประกอบกิจการ และใบอนุญาตดําเนินการสถานพยาบาลไวที่เปดเผยรอยละ 59.00 จากผลการวิจัยพบวาคลินิกบางแหงยังไมสามารถปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานไดทุกเกณฑ จึงควรมีการประชาสัมพันธและทําความเขาใจกับผูรับอนุญาต เพ่ือใหเปนไปในแนวเดียวกันทั้งประเทศ

บทความวารสาร

Page 45: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 40

สาระสังเขป

ASIAN SURVEY

1. “Brand Buddha” in India’s West Bengal : the left reinvents itself”. / by Partha Pratim Basu. Asian Survey. Vol.47 No.2 (March-April 2007) : 288-306.

The reincarnation of the ruling Left Front through the selective assimilation of elements of capitalism under Chief Minister Buddhadeb Bhattacharjee largely accounted for the party’s victory in the 2006 state assembly elections in West Bengal. This article argues that “Brand Buddha” represents elements of both continuity and change and that the Left Front may find it hard to retain its disparate and evolving base in the future. 2. “Building the state in Timor-Leste”. / by Selver B. Sahin. Asian Survey. Vol.47 No.2 (March-April 2007) : 250-267.

The breakdown of law and order in Timor-Leste in 2006 has two important dimensions : internal power struggles and regional differences. This article discusses how the competitive development of the armed forces and the police and the reemergence of regional differences affected the process of creating a democratic state. 3. “China’s perceptions of U.S. intentions toward Taiwan : how hostile a hegemon?”. / by

Andrew Bingham Kennedy. Asian Survey. Vol.47 No.2 (March-April 2007) : 268-287.

While few Chinese observers currently suspect that Washington seeks formal Taiwanese independence, a sizable majority believes the United States is striving to preserve Taiwan’s de facto separation to check China’s rise. This view is both unduly pessimistic and destabilizing. Accordingly, Washington should work to correct it.

บทความวารสาร

Page 46: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 41

สาระสังเขป

4. “Democratization and changing anti-American sentiments in South Korea”. / by Chang Hun Oh and Celeste Arrington. Asian Survey. Vol.47 No.2 (March-April 2007) : 327-350.

This study takes a disaggregated approach to the analysis of recent anti-American sentiments in Korea. It examines how the political changes entailed in the processes of democratization and democratic consolidation in the arenas of civil society, political society, and the state have diversely affected anti U.S. sentiments in Korea.

5. “India and Bangladesh : will the twain ever meet?”. / by Harsh V. Pant. Asian Survey. Vol.47 No.2 (March-April 2007) : 231-249.

The interests of India and Bangladesh have been diverging for some years now, bringing the two countries to what is probably the nadir of their bilateral relations. This article examines the factors shaping these relations and argues that a host of structural and domestic political variables are pulling India and Bangladesh in opposite directions. This deterioration in ties can have important consequences for the two states, South Asia, and the international community at large. 6. “Persistent inequalities in funding for rural schooling in contemporary China”. / by Gang Guo. Asian Survey. Vol.47 No.2 (March-April 2007) : 213-230.

Decentralization in post-Mao China has widened regional gaps in the provision of basic education. Reforms since 1994 have not reversed that trend. More recently, the government started centralized spending projects or rural education, which have significantly narrowed the urban-rural gap in education spending since 2001. However, interprovincial disparities remain large and growing.

บทความวารสาร

Page 47: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 42

สาระสังเขป

7. “Rising Chinese influence in the South Pacific : Beijing’s Island Fever”. / by Tamara Renee Shie. Asian Survey. Vol.47 No.2 (March-April 2007) : 307-326.

The past five years have witnessed a leap in Chinese engagement in regions across the globe-even reaching as far as the South-Pacific. This essay examines China’s increasing activities there; the regional response; Beijing’s potential economic, political, and strategic motivations; and the implications for the U.S.

FOREIGN POLICY 1. “Europe”. / by Clive Crook. Foreign Policy. (July-August 2007) : 22-27.

It likes to pretend it is a kinder, gentler alternative to the United States. But stagnant economies, suffering immigrants, and elitist rhetoric don’t make a global powerhouse. The countries of Europe must either unite behind much-needed reforms, or watch their differences tear them apart. 2. “Flower power”. / by Amy Stewart. Foreign Policy. (July-August 2007) : 44-52.

Picking up a bouquet of flowers isn’t what it used to be. Biotech breakthroughs, aggressive new competitors, and eager customers who expect their blooms to be fresh and fragrant are radically reshaping the global flower market. The roses, tulips, and lilies that end up on your kitchen table are merely the end products of a long, global supply chain that increasingly relies on everything from the traffic in Amsterdam to the weather in Bogotá.

บทความวารสาร

Page 48: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 43

สาระสังเขป

3. “The debt frenzy”. / by David Bosco. Foreign Policy. (July-August 2007) 36-42. From Argentina to Zambia, investment firms are snatching up the poor world’s

debt. To turn a buck, they sue, harass, and otherwise claw their way into making debtor states pay. Poverty activists say these so-called vulture funds are preying on the impoverished. But they’re only doing what the international financial system can’t holding corrupt and irresponsible regimes to account. 4. “The ideology of development”. / by William Easterly. Foreign Policy. (July-August 2007) : 30-35.

The failed ideologies of the last century have come to an end. But a new one has risen to take their place. It is the ideology of Development-and it promises a solution to all the world’s ills. But like Communism, Fascism, and the others before it, Developmentalism is a dangerous and deadly failure. 5. “The failed states index”. Foreign Policy. (July-August 2007) : 54-63.

The world’s weakest states aren’t just a danger to themselves. They can threaten the progress and stability of countries half a world away. In the third annual Failed States Index, Foreign Policy and The Fund for Peace rank the countries where the risk of failure is running high. Find out who is on the brink, what it means to countries half a world away, and why failed states can be contagious.

บทความวารสาร

Page 49: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 44

สาระสังเขป

HARVARD BUSINESS REVIEW

1. “Companies and the customers who hate them”. / by Gail McGovern and Youngme Moon. Harvard Business Review. (June 2007) : 78-84.

If your company is on a slippery slop-extracting more and more value from customers through inscrutable contracts, hidden fees, and complicated offerings-expect punishment. This article shows how to recognize and purge those adversarial practices and gain an advantage by offering a customer-friendly alternative. 2. “Saving the internet”. / by Jonathan Zittrain. Harvard Business Review. (June 2007) : 49- 59.

The very openness and user adaptability that make the Internet a creative wellspring also allow for the propagation of assorted evils-spam, porn, predation, fraud, privacy violations-that threaten the integrity of the Internet itself. 3. “Scorched Earth : will environmental risks in China overwhelm its opportunities?”. / by

Elizabeth Economy and Kenneth Lieberthal. Harvard Business Review. (June 2007) : 88-96.

China’s environmental problems are so bad they’re beginning to constrain the country’s GDP growth. Why, then, are multinationals paying so little attention to them? Failure to factor environmental issues into corporate strategy may turn China’s seemingly enormous promise into a nightmare for many firms.

บทความวารสาร

Page 50: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 45

สาระสังเขป

4. “The innovation value chain”. / by Morten T. Hansen and Julian Birkinshaw. Harvard Business Review. (June 2007) : 121-130.

Subscribing to the latest innovation advice won’t help your business if you don’t understand your firm’s unique strengths and flaws. This article shows a framework for assessing your company’s innovation processes and determining which best practices will help you address weak spots. The chain-based view can help executives unleash a stream of new products and services. More important, it can help them finally realize the potential from their innovation investments. 5. “The new deal at the top”. / by Yves L. Doz and Mikko Kosonen. Harvard Business Review. (June 2007) : 98-104.

Consumers today want integrated solutions and services-so companies need integrated strategies. These won’t fly, however, as long as business units are run like fiefdoms, it’s time for interdependence and collaboration at the top. This article advise how to manage collaborations. Adopting an integrative model for the top team is only part of making the new deal work. And new-deal companies prize diversity and debate-not only at the top but all the way down the organization. The model isn’t easy to apply, but companies that can do so will be much likelier than their old-deal rivals to survive the vicissitudes of the new-deal economy.

บทความวารสาร

Page 51: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 46

สาระสังเขป

THE REVIEW OF POLITICS

1. Partisanship and the work of philosophy in Plato’s Timaeus”. / by Jacob Howland. The Review of Politics. Vol.69 No.1 (Winter 2007) : 1-27.

This article examines the political and philosophical problem of partisanship-the false inflation of a part into a semblance of a whole-in Plato’s Timaeus. Timaeus’s “likely story” about the cosmos both exemplifies and addresses this problem, which first comes to light in the dialogue’s opening pages. Reflection on the problem of partisanship allows us to grasp Timaeus’s understanding of the simultaneously erotic and thumotic work of philosophy, the work of making things whole. While Timaeus is moved by a Socratic love of wisdom, the author argue that he implicitly corrects the picture of the erotic philosopher Socrates sets forth in the Republic.

2. “Quentin Skinner in context”. / by Emile Perreau-Saussine. The Review of Politics. Vol.69 No.1 (Winter 2007) : 106-122.

As Quentin Skinner argues, political thinkers are best read in historical context. But in what context do Skinner’s own interpretations of the history of political thought belong? This essay places his denunciation of grand narratives in the context of the decline of Whig interpretations of history and presents his Republicanism as a substitute source of legitimacy in the wake of the collapse of the British Empire and of the loss of social influence of Christianity. This essay also argues that Skinner’s inquiries cannot be understood solely in the light of their historical context. His historical work is linked with his republican philosophy. The relation between his concept of liberty and his contextualism shows the dependence of his contextualist methodology on specific philosophical commitments.

บทความวารสาร

Page 52: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ

กลุมงานหองสมุด สํานักวิชาการ สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. 47

สาระสังเขป

3. “The fullness of being : Thomas Aquinas and the modern critique of natural law”. / by Michael Zuckert. The Review of Politics. Vol.69. No.1 (Winter 2007) : 28-47.

Interest in natural law theory regularly revives but the question of whether Aquinas’ classic version is viable depends on whether his doctrine has the resources to respond to the classic early modern critiques that were made of it. It is argued that he does have the resources to so respond, although the response pushes the ultimate philosophic question back to the issue of the validity of his natural theology.

บทความวารสาร

Page 53: กลุ มงานห ุด - Parliament...กล มงานห ด ส าน องสม ชาการกวส าน กงานเลขาธ การสภาผ