คูู มืือ การใช ระบบ e-learning...

72
คูมือ คูมือ การใชระบบ การใชระบบ e e - - L L e e a a r r n n i i n n g g Y Y R R U U สําหรับผูสอน สําหรับผูสอน ยุค ยุค I I C C T T โดย โดย อาจารยศิริชัย นามบุรี อาจารยศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต คณะวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการเกษตร เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 2 2 5 5 5 5 2 2

Upload: others

Post on 13-Mar-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

คูมือคูมือ

การใชระบบ การใชระบบ ee--LLeeaarrnniinngg YYRRUU

สําหรับผูสอนสําหรับผูสอนยุค ยุค IICCTT

โดยโดย อาจารยศิริชัย นามบุรีอาจารยศิริชัย นามบุรี

สาขาคอมพิวเตอร สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต

คณะวิทยาศาสตรคณะวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการเกษตรเทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

22555522

Page 2: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

คํานํา เอกสารคูมือ การใชระบบ e-Learning YRU สําหรับผูสอนยุค ICT ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อประกอบการอบรมปฏิบัติการสําหรับการพัฒนาการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่ง ผานระบบบริหารจัดการการเรียน e-Learning YRU มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ซ่ึงใชซอฟตแวรประเภทเปดเผยรหัส (Open Source) คือ Moodle (www.moodle.org) เปนระบบบริหารจัดการการเรียนรู หรือ LMS (Learning Management System) ที่มีประสิทธิภาพสูง

เปาหมายของเอกสารฉบับนี้ คือ ตองการใชเปนคูมือเบื้องตนสําหรับผูสอนที่เขาอบรมในโครงการพัฒนาการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่ง ประจําปการศึกษา 2552 คือ ตองการใหผูเขารับการอบรมซึ่งมีบทบาทเปนผูสอน (ผูทําหนาที่อํานวยความสะดวกและใหคําปรึกษา) ในระบบ e-Learing YRU สามารถสรางรายวิชา จัดทําแผนการสอน สรางเนื้อหา และสรางแหลงเรียนรูเปนเอกสารแบบหนาเว็บเพจ แบบลิงกไฟล และแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส รวมทั้งสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่งในเบื้องตน เชน การสรางแบบทดสอบ การมอบหมายการบาน การสรางกระดานถามตอบได การสรางอภิธานศัพท นอกจากนั้น ยังมีเปาหมายสําคัญอีกประการหนึ่งคือ การแนะนําใหผูสอนสามารถนํารายวิชาและบทเรียนที่สรางขึ้นในการอบรม ไปใชในการจัดการเรียนการสอนไดจริง สามารถนําคะแนนที่ไดจากระบบ e-Learing YRU ไปใชประเมินผลรวมกับคะแนนที่ไดการจัดการเรียนการสอนแบบปกติได จริงอีกดวย ทั้งนี้ เพื่อเปนการกระตุนใหผูเรียนมีความรับผิดชอบและเอาใจใสตอการเรียน ควบคุมการเรียนดวยตนเองผานระบบ e-Learning YRU

หวังเปนอยางยิ่งวา ผูเขาอบรมจะเกิดทัศนคติที่ดีตอการเปนผูสอนในระบบ e-Learing YRU ไดรับความรูและเกิดทักษะในบทบาทของผูสอน ผูเขียนยินดีนอมรับขอแนะนํา ขอเสนอแนะจากทุกทาน เพื่อการปรับปรุงเอกสารฉบับนี้ใหสมบูรณยิ่งขึ้นในโอกาสตอไป

ศิริชัย นามบุรี

ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต 2552

Page 3: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

สารบัญ แนะนําระบบ e-Learning YRU 1 สวนประกอบของ e-Learning YRU 1 การเขาสูระบบและการแกไขประวัติสวนตัว 4 คําขอสรางรายวิชา 6 การสรางรายวิชาและแผนการสอน 8 สวนประกอบโครงสรางรายวิชาและแผนการสอน 10 การปรับแตงสภาพหองเรียนรายวิชา 11 องคประกอบตาง ๆ ในหองเรียนรายวิชา 13 การจัดการแหลงเก็บขอมลู (แฟมขอมลู) ในรายวิชา 16 การสรางบทเรียนเบื้องตน 22 การสรางกิจกรรมการเรยีนการสอน 39 การนําคะแนนไปใชประเมินผล 59 การสํารองขอมูล 61 การประเมินผลความพึงพอใจ 65 เว็บไซตแหลงอางอิง 69

Page 4: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

เรียบเรียงโดย อ.ศิริชัย นามบุรี สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 1

การใชระบบ การใชระบบ ee--LLeeaarrnniinngg YYRRUU สําหรบัผูสอนยุค สําหรบัผูสอนยุค IICCTT

แนะนําระบบ e-Learning YRU ระบบ e-Learning YRU หรือ EL-YRU เปนระบบบริหารจัดการการเรียนรูในสภาพแวดลอมแบบอีเลิรนนิ่ง โดยใชซอฟตแวร Moodle (มูเดิ้ล) ซ่ึงเปนซอฟตแวรประเภทเปดเผยรหัส (Open Source Software) ทําหนาที่เปนระบบบริหารจัดการการเรียนรู ซ่ึงเรียกวา LMS (Learning Management System) Moodle ยอมาจากคําวา Modular Object Oriented Dynamic Learning Environment เปนซอฟตแวรเปดเผยรหัส (Open Source) สําหรับนํามาประยุกตใชงานเปนระบบบริหารจัดการเรียนรู หรือ LMS โดยพัฒนาขึ้นจากงานวิจัยในระดับปริญญาเอก โดย Martin Dougimas เมื่อป ค.ศ. 1999 โดยใชการออกแบบและพัฒนาตามแนวคิดและทฤษฎีการเรียนรูโดยเนนการเปนสังคมแหงการเรียนรูหรือสังคมสรางสรรคการเรียนรู (Social Constructivist) และการเรียนรูแบบรวมมือกัน (Collaborative Learning) เปนสําคัญ สถิติจากเว็บไซต www.moodle.org เมื่อเดือนกุมภาพันธ ป ค. ศ. 2009 มีเว็บไซตลงทะเบียนนํา Moodle ไปใชและลงทะเบียนมากกวา 48,600 เว็บไซต จํานวนผูใชทั่วโลกในระบบมากกวา 27.8 ลานคน มีผูสอนในระบบของ Moodleมากกวา 1.8 ลานคน ใน 170 กวาประเทศทั่วโลก

http://www.moodle.org

Page 5: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 2 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 2

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา โดยงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร ศูนยคอมพิวเตอร ไดนํา Moodle มาทดลองติดตั้ง เพื่อจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิ่งในลักษณะเปนสื่อเสริมมาตั้งแตป 2549 โดยเริ่มจากสาขาวิชาคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการเกษตร โดยผูชวยศาสตราจารยธนากร ปามุทา หัวหนาภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต และอาจารยสุนิตย โรจนสุวรรณ คณบดีคณะวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการเกษตร รวมกับ ศูนยคอมพิวเตอร จัดใหมีโครงการอบรมปฏิบัติการ เร่ือง การพัฒนาหองเรียนเสมือน (Virtual Classroom) ในระบบอีเลิรนนิ่งดวย Moodle LMS เมื่อวันที่ 2-3 สิงหาคม 2549 โดยไดรับเกียรติจาก ผูชวยศาสตราจารย นิพนธ บาดกลาง รองอธิการบดีฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนประธานเปดการอบรม มีผูเขาอบรม คือ คณาจารยคณะวิทยาศาสตรฯ และคณาจารยของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาจากตางคณะบางสวน จํานวนประมาณ 30 คน มีวิทยากรหลักในการบรรยายและปฏิบัติการคือ อาจารย ศิริชัย นามบุรี และอาจารยอัจฉราพร ยกขุน เปนผูแนะนําใหคณาจารยใชระบบบริหารจัดการการเรียนรูแบบ อีเลิรนนิ่ง โดยทดลองใชจัดการเรียนการสอนดวยเครื่องแมขาย (Server) ของคณะวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการเกษตร (http://science.yru.ac.th/elearning/) ในป 2550 งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร (หนวยพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกสและอีเลรนนิ่ง) จัดใหมีโครงการจัดหาเครื่องแมขายประสิทธิภาพสูง เพื่อรองรับการพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบ อีเลิรนนิ่งของมหาวิทยาลัย ดวยงบประมาณ กศ.บป. จํานวน 160,000 บาท จัดซื้อคอมพิวเตอรแมขาย IBM Server รุน X3600 โดยทําการติดตั้งซอฟตแวรระบบปฏิบัติการเครือขาย FreeBSD 6.0 และระบบบริหารจัดการการเรียนรู Moodle version 1.83 กําหนดชื่อระบบจัดการเรียนการสอนเพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการวา e-Learning YRU หรือเว็บไซต http://e-learning.yru.ac.th โดยเปดใหคณาจารยที่สนใจพัฒนาการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่ง สมัครเปนผูสอนในระบบอีเลิรนนิ่ง และใหบริการจัดการเรียนการสอนตั้งแตนั้นเปนตนมา

สําหรับในปงบประมาณ 2551 นี้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดใหมีโครงการนํารองพัฒนาการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่ง โดยใชงบประมาณ กศ.ปช. ประมาณ 110,000 บาท มีเปาหมายเพื่อรับสมัครและคัดเลือกคณาจารยที่สนใจพัฒนาการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่งผานระบบ e-Learning YRU จํานวน 30 หนวยการเรียน (บท) โดยใหการสนับสนุนงบประมาณการจัดอบรม วัสดุ และคาพิมพและประกอบเนื้อหาบทเรียนบางสวน โดยใหโควตากับอาจารยผูสอนภาควิชาละ 2 คน และใหโควตาอาจารยที่เคยมีบทเรียนหรือมีประสบการณจัดการเรียนการสอนในระบบอีเลิรนนิ่งของมหาวิทยาลัยเขารวมโครงการพัฒนาบทเรียนในระบบ e-Learning YRU คนละ 1 รายวิชา วิชาละ 1 หนวยการเรียน โดยกําหนดใหสวนประกอบ คือ แผนการสอนรายวิชา เนื้อหาบทเรียนแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส 1 บท การจัดกิจกรรมการสอน แบบทดสอบ และการนําคะแนนไปใชในการประเมินผลการเรียนการสอนอยางนอย 10% โดยผูเขาโครงการนี้ จะตองทําขอตกลงกับมหาวิทยาลัยเพื่อยืนยันการเขารวมโครงการ โดยมีคณบดี หัวหนาภาควิชา เปนผูลงนามรับทราบ

Page 6: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 3 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 3

สวนประกอบของ e-Learning YRU

ขาว/ประกาศจากผูบริหารระบบ

Login เขาสูระบบ

แสดงประเภท/กลุมรายวิชาที่เปดสอนในระบบ e-Learning YRU แยก

ตามคณะและภาควิชา

คนหารายวิชาในระบบ e-Learning YRU

แสดงประเภท/กลุมรายวิชาที่เปดสอน

เมนูหลักของระบบ e-Learning YRU

รายละเอียดการติดตอกับผูดูแลระบบ

ลิงกไปยังเว็บไซต www.moodle.org

ปฏิทินเวลาและกิจกรรม

บล็อกแสดงขาวลาสุด,กิจกรรมลาสุด,

ทรัพยากรการเรียนรู, บทความ, กิจกรรมที่

กําลังจะมีขึ้น

แสดงชื่อผูกําลังเขาสูระบบและสถิติ

สถิติผูเรียน ผูสอนและรายวิชาในระบบ

Page 7: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 4 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 4

การเขาสูระบบและการแกไขประวัติสวนตัว

การเขาสูระบบในบทบาทของผูสอนของระบบ e-Learning YRU มี 2 ประเภทคือ ผูสรางรายวิชา (Course Creator) และผูสอน (Teacher) ในเอกสารนี้ จะอธิบายขั้นตอนการสรางรายวิชาและบริหารรายวิชาในฐานะเปน Course Creator ที่มีบทบาทเปนทั้งผูสรางและผูสอนในรายวิชา และสามารถกําหนดสิทธิ์ใหผูอ่ืนที่มีสิทธิ์ต่ํากวา เชน นักเรียน บทบาท Course Creator จะตองถูกกําหนดโดยผูบริหารระบบ (Administrator) กอน จึงจะมีสิทธิ์เขาใชงานระบบ Moodle ได อาจารยที่มีความประสงคจะเปนผูสรางรายวิชาและผูสอนใหแจงของใชบริการไดที่งานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร ศูนยคอมพิวเตอร หรือแจงผานระบบ e-Office ของมหาวิทยาลัย ผูสรางรายวิชา (Course creator) ที่มีสิทธิ์ในการสรางและบริหารรายวชิา รวมทั้งสิทธิ์ในการสอน สามารถเขาสูระบบดวย ชื่อผูใช (login) และ รหัสผาน (password) ดังรูป

เมื่อเขาสูระบบไดแลว ระบบ e-Learning YRU จะแสดงชื่อผูใชในระบบในฐานะผูสรางรายวิชาอยูดานบนของจอภาพดานบน ทางขวามือ หรือแสดงชื่อผูใชเขาระบบอยูดานลางสุดของจอภาพ ดงัรูป

เขาสูระบบดวยช่ือและรหัสผาน

หรือ Click เพื่อกรอกขอมูลเขาสูระบบ

Click ที่ช่ือเพื่อแกไข ขอมูลสวนตัว (profile)

Page 8: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 5 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 5

เมื่อแกไขถูกตองแลว ใหเลือกปุมนี้เพื่อบันทึกขอมูลประวัติสวนตัว

ตองกรอกรายละเอียด (อะไรก็ได) ระบบจึงจะยอมใหบันทึก

เลือกเพื่อ upload ภาพผูสอน ไฟลประเภท *.jpg หรือ *.gif

Page 9: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 6 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 6

คําขอสรางรายวิชา การสรางรายวชิาในระบบ e-Learning YRU นั้น ผูสอนจะตองทําการ Login เขาสูระบบใหไดกอน แลวเลือกเมนู คําขอสรางรายวิชา เพื่อเขียนคําขอสรางรายวิชา ดังรูป

ระบบจะแสดงแบบฟอรมสําหรับกรอกรายละเอียดเกีย่วกับวิชาที่ตองการสอนในระบบ ผูสอนจะตองกรอกรายละเอยีดใหครบถวน ดังรูป

คําขอสรางรายวิชา ผูสอนสามารถกรอกแบบฟอรม

ไดจากเมนูนี้

กรอกชื่อวิชา และกรอก รหัสวิชาตามหลักสูตร

กรอกคําอธิบายรายวิชาหรือแนวคิดรวบยอดเกี่ยวกับวิชา

รหัสผานเขาเรียน ใชเพื่อปองกันนักเรียนที่ไมไดลงทะเบียนจโดยผูสอน ทําการสมัครเขาเรียน

ดวยตนเอง

Page 10: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 7 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 7

เมื่อคําขอถูกบันทึกในระบบ e-Learning YRU แลว ผูบริหารระบบ (Admin EL-YRU) จะตรวจสอบคํารองขอสรางรายวิชา จากนั้นจะทําการอนุมัติใหสรางรายละเอียดเกี่ยวกับวิชา สรางเนื้อหาและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได ซ่ึงหลังจากนี้ไป ผูสอนจะเปนผูจัดการบริหารในรายวิชาของตนเองในฐานะผูสอนไดอยางเต็มรูปแบบ ยกเวนการนํานักเรียนเขาสูระบบ EL-YRU คร้ังแรก จะใชวิธีการสงไฟลรายชื่อท่ีไดจากระบบของกองบริการการศึกษา โดยผูสอนสงมาใหผูบริหารระบบทํางาน Upload เขาสูระบบ ท้ังนี้ เพื่อความปลอดภัยของขอมูลในระบบ (หลังจากนักศึกษามีรายชื่อในระบบแลว สามารถเลือกลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดก็ไดที่มีอยูในระบบ EL-YRU ถาผูสอนอนุญาต)

ผูบริหารเขาสูระบบ ทําการตรวจสอบรายวิชากําลังรอการตัดสินใจ

อนุมัติ และทําการอนุมัติใหสรางและสอนในระบบ

ผลการอนุมัติ จะสงรายละเอียดไปยัง e-mail ของผูสอน เพื่อแจงใหทราบ และใหทําการยืนยัน

เปนผูสอนในระบบ e-Learning YRU

Page 11: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 8 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 8

การสรางรายวิชาและแผนการสอน การสรางรายวชิาและแผนการสอน เปนขั้นตอนแรกในการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิรนนิ่ง ซ่ึงตองดําเนินการโดยผูสอนเอง ตั้งแตขั้นตอนการวางแผนการสอน การสรางเนื้อหา การดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน รวมถึงการประเมินผล เมื่อผูสอนเขาสูระบบเรียบรอยแลว จะแสดงรายชื่อวิชาที่ขอเปดสอน และไดรับการอนุมัติจากผูบริหารระบบแลว โดยเลือกชื่อรายวิชาจากบล็อก วิชาเรียนของฉัน ในกรอบดานซายมือของจอภาพ ดังรูป

เลือกรายวิชาที่ตองการแกไขหรือจัดการบริหาร

โครงสรางในรายวิชาที่ยังไมไดสรางแผนการสอน ,เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนการสอน ใหเลือกเมนู การตั้งคาเพื่อกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับวิชาและ

โครงสรางรายวิชา

Page 12: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 9 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 9

กรอกคําอธิบายโดยยอหรือกรอบแนวคิดของวิชา

ตรวจสอบขอมูลใหสมบูรณ แลวบันทึกขอมูล ระบบจะแสดงโครงสรางของวิชาใหผูสราง รายวิชากําหนดสวนประกอบตาง ๆ ของแผนการสอนตอไป

เลือกประเภทรายวิชาที่ตองการใหรายวิชาสรางใหมไปสังกัดอยู

กรอกรหัสวิชาตามหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนจริง

เลือกจัดการเรียนการสอนเปนระบบกลุม

(มองเห็นสมาชิกกลุมอื่น)

Page 13: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 10 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 10

สวนประกอบโครงสรางรายวิชาและแผนการสอน เมื่อสรางรายวชิาใหมเรียบรอยแลว ระบบ e-Learning YRU จะแสดง หองเรียนเสมือน (Vitural Classroom) แสดงใหเปนองคประกอบของโครงสรางรายวิชา ผูสรางรายวิชาสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน เลือกแหลงเรียนรูสําหรับรายวิชาของตนเองไดตามความตองการ

สภาพหองเรียนเสมือนมุมมองปกติ สวนของผูสอนมี สวนประกอบเบื้องตน ดังนี ้

ช่ือบท (ที่) หรือสัปดาห (ที่) โครงสรางของรายวิชา

บริเวณแสดงบล็อก (Block) ตาง ๆ เปนองคประกอบของ

หองเรียนเสมือน

บริเวณสรางสวนนํา กิจกรรมและทรัพยากรการเรียนรูของวิชา

เมนูการจัดการรายวิชา เกี่ยวกับสมาชิก ไฟล คะแนน

ทั้งหมด และอื่น ๆ

ปุมคําสั่งเมื่อตองการ เริ่มแกไข/ปรับแตงหองเรียน

แสดงผูเขาระบบ สามารถ click เพื่อแกไขขอมูลของผูสรางรายวิชา หรือ ออกจากระบบ

ไดจาก [ออกจากระบบ]

Page 14: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 11 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 11

การปรับแตงสภาพหองเรียนรายวิชา

เมื่อตองการปรับแตงหองเรียน โครงสรางรายวิชา การสรางกิจกรรมการเรียนการสอน และสราง

ทรัพยากรสําหรับการเรียนรู ใหผูสรางรายวิชา click ปุมคําสั่ง เพื่อเปลี่ยนไปเปนโหมด การปรับแตงหรือแกไข สภาพหองเรียนเสมือน ผูสรางรายวิชา สามารถปรับแตงหองเรียน โดย ใชสัญลักษณตางๆ ที่จัดเตรียมไวใหโดยระบบ สามารถใชงานงายและสะดวก แตละสัญลักษณคือคําสั่งสําหรับปรับแตง โดยจะมี ขอความแนะนํา (Tools tip) วาสัญลักษณนั้น ทํางานเกี่ยวของกับงานใด ดังภาพ

เมื่อผูสรางรายวิชาตองการกลับมาสูโหมด มุมมองแบบปกติ ก็ click เลือกปุม เพื่อกลับไปเปนจอภาพปกติไดทันที ทําใหสะดวกตอการปรับปรุงและแกไขสภาพแวดลอมของรายวิชา เนื่องจากจอภาพขณะที่ผูสอนปรับปรุงแกไข ระบบก็จะแสดงผลใกลเคียงกับผลลัพธหลังมีการปรับแตงแลว ทําใหผูใชมองเห็นผลลัพธไดทันที

เมื่อเลือกปุม ระบบจะเปลี่ยน โหมดเปนจอภาพแกไข ผูสรางรายวิชาจะมีสิทธิ์ในการจัดการแกไข ปรับเปลี่ยนหนารายวิชาไดทุกสวน โดยใชปุมสัญลักษณคําสั่งตาง ๆ ซ่ึงมีลักษณะและความหมายตาง ๆ ดังรูปในหนาตอไป

ปุมสําหรับเปด และ ปด การแกไขสภาพแวดลอม

ของรายวิชา

เลือกเปลี่ยนบทบาทของตนเองเพื่อทดลอง เชน ทดลองเปน

นักเรียน

Page 15: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 12 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 12

จากรูปสวนประกอบตาง ๆ ของหองเรียน มีสัญลักษณมาตรฐานในระบบ Moodle สําหรับการปรับแตงและแกไข มีรายละเอียดเบื้องตน ดังตารางในหนาตอไป

ช่ือกิจกรรมกระดานเสวนาหรือกระดานขาว

เพิ่มแหลงขอมูลหรือทรัพยากรการเรียนรูแตละบทหรือสัปดาห

เพิ่มกิจกรรมการเรียนการสอนแตละบทหรือแตละ

สัปดาห การจัดการรายวิชาหรือหองเรียนเชน การแกไขคาเริ่มรายวิชาใหม

ปุมคําสั่งควบคุม การยอ-ขยาย การซอน การเนน

การยายลําดับบทหรือสัปดาห

เพิ่มและจัดการกรอบ หรือ block ของระบบ

Page 16: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 13 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 13

สัญลักษณ ความหมาย สัญลักษณ ความหมาย

Help with แสดงคําอธิบายหรือขอความชวยเหลือเพิ่มเติมในงานหรือจุดทีก่ําลังทํางานดวย

เลือกเปลี่ยนบทบาทของผูใชเปนบทบาทอื่น ๆ

เพิ่มแหลงขอมลูสําหรับการเรียนรู เชน หนาเว็บเพจ

เพิ่มกิจกรรมสําหรับการเรียนรู เชน กระดานเสวนา หองสนทนา

แกไขบทคัดยอ หรือแกไขคาเร่ิมตนของกิจกรรมหรือเนื้อหา

ลบหัวขอหรือเนื้อหาหรือกจิกรรม

ยายไปทางขวา ยายไปทางซาย

ยายไปขางลาง ยายไปขางบน

ยายตําแหนง การมอบหมายบทบาท

แสดงผลหรือหัวขอ ซอนการแสดงผลหรือหัวขอ

เรียนรวมกันไมแบงกลุม เรียนหรือทํากจิกรรมแบบแบงกลุม

แสดงเฉพาะหวัขอนี้หรือบทนี ้ กําหนดบทนี้เปนหัวขอปจจบุัน

องคประกอบตาง ๆ ในหองเรียนรายวิชา องคประกอบของแตละสวนของหองเรียน หรือรายวิชา จะแสดงเปนสวน ๆ เรียกวา กรอบหรือบล็อก ซ่ึงเปนองคที่ระบบ Moodle จัดเตรียมไวเปนมาตรฐาน โดยมีองคประกอบที่สําคัญ ดังตอไปนี ้

• สวนชื่อระบบ ชื่อวิชาและแสดงชื่อผูใช และปุมแกไข

แสดงชื่อวิชา และรหัสวิชา พรอมกับแสดงชื่อผูสรางรายวิชาที่เขาสูระบบ รวมทั้งสวนที่เปนเมนูในการเขาถึง (Navigator) หนาเว็บแตละระดบั

Page 17: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 14 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 14

• บล็อกองคประกอบในรายวิชา

สําหรับแสดงรายละเอียดของสมาชิกของรายวิชา ซ่ึงอาจเปนนักเรียนหรือบคุคลทั่วไป ถาอนุญาตใหบุคคลทั่วไปเขาเรยีนได

บล็อคคนกระดานเสวนา สําหรับการคนขอความในกระดานเสวนา ซ่ึงเปนเครื่องมือสําคัญในการสรางกิจกรรมการเรียนรูในรายวิชา

บล็อคการจัดการ เปนบล็อกแสดงเมนูสําหรบัจัดการรายวิชาทั้งหมด โดยเฉพาะการตั้งคา การมอบหมายบทบาท การจัดกลุมเรยีนในรายวิชา การสํารองขอมลู การกูคืนขอมูล การนําเขาสื่อการเรียนรู การยกเลอก การแสดงรายงานประจําวิชา การจัดการระบบไฟลขอมูลเพื่อจัดเก็บ

ขอมูลประกอบของรายวิชา การสรางธนาคารขอสอบ การแสดงคะแนนท้ังหมด รวมท้ังการออกจากเปนสมาชิกในรายวิชา  

บล็อควิชาเรียนของฉัน แสดงรายวิชาทีเ่ปนผูสอนหรือผูเรียนในระบบนี้ทั้งหมด

สวนนําของวชิา ขอมูล แหลงเรียนรู และกิจกรรมตาง ๆ ที่เปนภาพรวมของรายวิชา เชน การแสดงรายละเอียดเกีย่วกับวิชา คําอธิบายรายวิชา การวัดและประเมินผล แหลงเรียนรูเพิ่มเติม กระดานถาม-ตามประจําวิชา รวมท้ังประวัติผูสอน รายละเอยีดเหลานี้สามารถกําหนดไดตามความตองการของผูสรางรายวิชา

Page 18: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 15 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 15

โครงสรางของแตละบทหรือสัปดาห แสดงหัวขอบท หวัขอหลัก หัวขอรอง ซ่ึงออกแบบเปนแหลงขอมูลประเภทตาง ๆ โดยใชเครื่องมือสรางทรัพยากรสําหรับการเรียนรูและกจิกรรมตาง ๆ ในแตละบท เชน กระดานเสวนา งานมอบหมาย แบบฝกหัด แบบทดสอบ

บล็อกขาวลาสุด แสดงขาวลาสุดจากผูสอน ที่สงขาวถึงผูเรียน เปนการสื่อสารระหวางผูสอนกบัผูเรียน

บล็อกกิจกรรมที่กําลังจะมีขึ้น แสดงกจิกรรมที่กําลังจะมขีึ้นตามปฏิทินหรือชวงเวลาที่ผูสรางรายวิชาหรือผูสอนกําหนดไวลวงหนา เพื่อส่ือสารใหผูเรียนทราบกอนมีกิจกรรมจริง

บล็อกกิจกรรมลาสุด แสดงกิจกรรมลาสุดที่ผูสรางรายวิชา ผูสอน ไดกําหนดหรือสรางขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดตดิตามการเปลีย่นแปลง

Page 19: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 16 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 16

บล็อกจัดการกรอบ คือ บล็อกที่ใชกําหนดกรอบหรือบล็อกเพิ่มเติมในหนาของรายวิชา เชน ขอความ ผลการทําแบบทดสอบ สมาชิกออนไลน เมนูเนื้อเร่ือง เมื่อเลือกใชหรือกําหนด แตละบล็อกก็จะไปสรางกรอบในหนาของรายวชิา

การจัดการแหลงเกบ็ขอมูล (แฟมขอมลู) ในรายวิชา การจัดการเรยีนการสอนในระบบ e-Learning YRU ผูสอนจะตองจัดเตรียมทรัพยากรการเรียน ไดแก ไฟลขอมูล ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง ซ่ึงเปนเอกสารหรือขอมูลอิเล็กทรอนิกสขึ้นไปประกอบเปนบทเรียน ดังนัน้ จึงตองเตรียมการสรางแหลงเก็บขอมูล คือ Folder, Sub-Folder ใหเปนระบบ เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บทรัพยากรการเรียนการสอนของแตละวิชา โดยระบบจะจดัเก็บขอมูล 2 สวน คือ

1. สวนที่เปนฐานขอมูล (Database) ซ่ึงบริหารจัดการโดยระบบ Moodle โดยอัตโนมัติติดตั้งไวตั้งแตขั้นตอนของการติดตั้ง Moodle ยกตัวอยางเชน ขอมูลของแหลงเรียนรูแบบทดสอบของรายวิชา สวนใหญจะจัดเก็บไวในฐานขอมูล สามารถนํากลับมาแกไขเปลี่ยนแปลงได

2. สวนที่เปนแฟมขอมูลประเภทตาง ๆ ที่ upload ขึ้นไปเปนสวนหนึ่งของรายวิชา จะถูกจัดเก็บไวภายใต Directory แหลงเก็บไดเรกทอรี่และไฟลของ Moodle ช่ือ Moodledata และไฟลขอมูลประกอบของแตละวิชา ก็จะถูกจัดเก็บภายในไดเรกทอรี่นี้ดวย

ดังนั้น เพื่อใหการบริหารจัดการไดเรกทอรี่และไฟลขอมูลประเภทตาง ๆ ของรายวิชาอยางมีประสิทธิภาพ ผูสรางรายวิชาจึงควรบริหารจัดการแฟมขอมูลอยางเปนระบบผานคําสั่งในบล็อกไฟล ซ่ึงมีคําสั่ง ดังรูปในหนาตอไป

Page 20: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 17 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 17

• การสรางไดเรกทอรี่ เพื่อจัดโครงสรางไดเรกทอรี่หรือโฟลเดอร จัดเกบ็ทรัพยากรการเรียนรูที่

เปนไฟลประเภทตาง ๆ ไวอยางเปนระบบ เชน สรางโฟลเดอรแยกเปนรายบท แตละบทสรางโฟลเดอรยอย (sub folder) สําหรับเก็บเอกสารแตละประเภท ดังตวัอยางการสรางโฟลเดอร ดังรูป

แสดงการสรางโฟลเดอรสําหรับเก็บเอกสารหรือไฟลแยกเปนบท ดังรูป

แสดงการสราง sub-folder ยอย ๆ ในบทที่ 1 เพื่อเก็บเอกสารแยกตามชนิด ดังรูป

คําสั่งสําหรับการจัดการไดเรกทอรีและไฟลของรายวิชา

สรางโฟลเดอรใหม สําหรับเก็บขอมูลในรายวิชาใหเปนระบบ

Page 21: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 18 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 18

• การ Upload ไฟลทรัพยากรการเรียนรู การ upload ไฟลเพื่อนําไปใชประกอบการออกแบบการเรียนรูในระบบ Moodle สามารถทําการ upload ผานคําสั่งชุดจัดการไฟล หรือจะทําการ upload ขณะแกไขขอมูลใน Text Editor โดยใชแถบคําสั่งการแทรกภาพ (upload ภาพ) แทรกลิงก (upload ไฟลเอกสารประกอบ) ก็ไดเชนกัน ดังรูปตอไปนี้ เปนการเลือก upload ไฟลเพือ่นําไปจัดเก็บไวที่ระบบไฟลของ รายวิชา ท301 ใน Folder ช่ือ chapter1 และ sub-folder ช่ือ images

เมื่อเลือกปุม [อัปโหลดไฟล] ระบบจะแสดงกรอบโตตอบใหเลือกไฟลจากเครื่อง PC ของเรา เพื่อทําการ upload ขึ้นไปยังระบบ Moodle เก็บในตําแหนงที่เลือกไว ดังรูป

เลือกปุมคําสั่งอัปโหลดไฟลเพื่อเลือกไฟลจากคอมพิวเตอร

ของเรา

Page 22: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 19 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 19

เม่ือ upload สําเร็จแลวจะปรากฏรายชื่อไฟลใหเห็น และไฟลที่ upload ขึ้นไปแลว สามารถเปลี่ยนแปลงได เชน ยาย ไฟล ลบ หรือบีบอัด รวมทั้งเปลี่ยนชื่อไฟล

สําหรับการแทรกไฟลหรือนําไฟลท่ีได upload ไปใชประโยชน ทําไดหลายลักษณะ เชน การนําภาพไปแทรกในเอกสารแหลงทรัพยากรการเรยีนรู การแทรกรูปในแบบทดสอบ การแทรกลิงกไปยังเอกสาร ดังตัวอยางตอไปนี้

เลือกไฟลเพื่อทําการ uploadเมื่อเลือกแลว click

ปุม [Open]

click เพื่ออัปโหลดไฟลที่ [Open]

Page 23: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 20 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 20

จากนั้นระบบจะแสดงโครงสราง โฟลเดอรและไฟลในรายวิชา เลือกชือ่โฟลเดอร เพื่อเลือกไฟลรูปภาพที่ตองการแทรก ดังรูป

ผลของการแทรกไฟลรูปภาพในเอกสารเนื้อหาที่เปนประเภทเว็บเพจ จะแสดงใหเห็นดังรูป

เลือกแทรกรูปภาพจากไฟลที่มีอยูในรายวิชา

เลือก [ตกลง] เพื่อยืนยันแทรกไฟลรูปภาพ

สามารถเลือกไฟลใหมจากคอมพิวเตอรของเรา เพื่อทําการ

upload ในขั้นตอนนี้ก็ได

Page 24: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 21 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 21

ลักษณะเนื้อหาท่ีใชไฟลรูปภาพที่ได upload และแลวนํามาแทรกในเอกสารเนื้อหา ดงัรูป

การจัดการไฟลในสวนนี้ สามารถทําการลบ ยาย และเปลี่ยนชื่อไฟลไดเชนกัน

ขอสังเกต การตั้งชื่อ Folder, Sub-Folder, ช่ือไฟล ควรกําหนดชื่อใหเปนภาษาอังกฤษ หามเวนวรรค และอักษรตัวเล็กตัวใหญ ถือวาเปนคนละชื่อ เนื่องจากระบบ e-Learing YRU ใชระบบปฏิบัติการ FreeBSD เปนซอฟตแวรในการบริหารจัดการเครือขายที่มีวิธีการจัดการระบบไฟลแตกตางจากระบบปฏิบัติการ Windows

Page 25: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 22 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 22

การสรางบทเรียนเบื้องตน การออกแบบสรางบทเรียนสําหรับการเรียนการสอนหรือการเรียนรูใน e-Learning YRU เบื้องตน มีขั้นตอนโดยสังเขปตามลําดับ ดังนี ้

• การสรางบทนําเกี่ยวกับวิชา บทนําเกี่ยวกับรายวิชาสามารถสรางไดที่ สวนแรกของรายวิชา เพื่อแสดงขอมูลรายละเอียด

เบื้องตนเกี่ยวกับรายวิชา เชน คําอธิบายรายวิชา แผนการสอน รายละเอียดการประเมินผล ประวัติผูสอน หรือแหลงขอมูลประกอบการเรียนรูในภาพรวมของรายวิชา รวมทั้งยังสามารถสรางกิจกรรมการเรียนการสอนในบริเวณนี้ได โดยระบบจะกําหนดตําแหนง แกไขบทคัดยอ มีกระดานขาว สามารถเพิ่มแหลงขอมูล และเพิ่มกิจกรรม ของวิชาได ดังรูป

การเพิ่มขอความบทคัดยอ หรือ ขอความธรรมดา จะเปนขอความโดยยอ เพื่อแสดงถึง

แนวคิดเบื้องตนหรือกรอบของเนื้อหาวิชาเบื้องตน มีวัตถุประสงคเพื่อเปนแนวทางใหนักเรียนเกิดความสนใจ

และเขาใจกรอบเนื้อหาเบื้องตน สามารถแกไข ไดโดยการ click ที่สัญลักษณแกไขบทคัดยอ ระบบจะแสดงแบบฟอรมสําหรับกรอกรายละเอียดของบทคัดยอ ดังรูป

click ที่ icon รูปมือ เพื่อแกไขบทคัดยอของรายวิชา

Page 26: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 23 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 23

ในการแกไขและกรอกขอมูลโดยใช Richtext HTML Editor มีเครื่องมือตาง ๆ สําหรับการปรับรูปแบบ การแทรกรูปภาพ การแทรกและจัดการรูปแบบตาราง การสรางลิงก คลายกับการใชเครื่องมือใน Microsoft Word รวมทั้งยังสามารถแกไขขอมูลในโหมดภาษา HTML ไดอีกดวย (สําหรับผูมีความรูภาษา HTML)

ผลลัพธของการสรางบทคัดยอและบันทึกการเปลี่ยนแปลง จะแสดงทีห่นาแรกของรายวิชา ดังรูป

กรณีท่ีไมตองการใหแสดงบทคัดยอ ก็เพยีงแตเขาไปแกไขและลบขอความเดิมทั้งหมดออกไป หนารายวิชากจ็ะไมแสดงบทคัดยอของรายวิชาออกทางจอภาพ

ขยายจอภาพ

แสดงภาษา HTML

แทรกภาพ แทรกลิงกไปยังไฟลหรือ URL

ของเอกสารในเว็บ

จัดรูปแบบยอหนา

Page 27: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 24 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 24

การจัดการกระดานขาว (กระดานเสวนา) กระดานขาวหรือกระดานเสวนาที่ระบบสรางมาใหอัตโนมัติตอนสรางรายวิชา มีวัตถุประสงค

เพื่อใหเปนกระดานขาวสําหรับการติดตอส่ือสารระหวางผูสอนกับผูเรียน โดยผูสรางรายวิชา สามารถปรับเปล่ียนหรือไมใช (ลบท้ิง) หรือสรางเพิ่มในขั้นตอนการ เพิ่มกิจกรรม ก็ได ถาตองการแกไข ใหเลือกแถบเครื่องมือสําหรับการแกไขหรือ update กระดานเสวนา ดังรูป

เมื่อเลือก จากนั้นระบบจะใหผูสรางรายวิชาปรับกระดานเสวนา ตามความตองการของผูสรางรายวิชา ระยะเวลาที่ให เชน เงื่อนไขตาง ๆ ของกระดานเสวนา ดังรูป

ปุมคําสั่งสําหรับจัดการกระดานเสวนา ซึ่งเปนกิจกรรมที่ระบบเตรียมไวใหในการเริ่มใชระบบ สามารถสรางเพิ่มไดหรือยกเลิกได

Page 28: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 25 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 25

จากนั้นระบบจะให กําหนดหัวขอขาวหรือกระทู เพื่อแจงขาวไปยังผูเรียน หรือใหผูเรียนไดซักถาม (กรณีอนุญาตใหสมาชิกมีบทบาทในการตั้งกระทูและตอบได) ดังรูป

เมื่อปรับแตงกระดานเสวนาแลว ใหบันทึกการ

เปลี่ยนแปลง

กําหนดการใหคะแนนกับการ post ขาว พรอมกับกําหนดชวงเวลาใหคะแนน

ได

Page 29: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 26 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 26

การสรางขาวสามารถทําไดโดยการตั้งหัวขอใหม กรอกรายละเอียดขาว ดังรูป

หลังจากนัน้ระบบจะแสดงแบบฟอรมเพื่อสรางหัวขอของกระดานเสวนา พรอมกรอกเนื้อหาและรายละเอียดหรือการแนบไฟลประกอบการเสวนา

Click เพื่อโพสตหัวขอและรายละเอียด

สามารถใชแถบเครื่องมือตาง ๆ สรางเอกสารที่ประกอบดวย

ตารางหรือ ภาพได

Page 30: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 27 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 27

ผลของกระดานเสวนา

• การสรางแผนการสอน (Course Syllabus) แผนการสอนในรายวิชา ประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับรายวิชา ไดแก รหัสวิชา ช่ือวิชา หนวยกิต ช่ือบท วตัถุประสงค เนื้อหา เวลาทีใ่ชสอน การวดัและประเมินผล ส่ือการเรียนการสอน กิจกรรมการเรียนการสอน เปนตน

ในระบบ e-Learning YRU สามารถกําหนดโครงสรางแผนการสอนไดโดยการสรางเปน เอกสารเว็บเพจ (เพิ่มแหลงขอมูล แบบหนาเว็บเพจ ในบริเวณสวนนาํของรายวิชา) และจัดโครงสรางรายวิชาใหสอดคลองกับแผนการสอน (เลือกเมนู ตั้งคา ในบล็อกการจัดการระบบ) ดังรูป

เลือกเมนูสรางแหลงขอมูลประเภทหนาเว็บเพจ จากนั้นระบบจะแสดงแบบฟอรมใหสรางเอกสารเว็บเพจ โดยผูสรางไมตองมีความรูภาษา HTML

(สําหรับสรางเอกสารเผยแพรผานเว็บ)

Page 31: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 28 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 28

สามารถคัดลอกแผนการสอนมาจากเอกสาร Microsoft Word

(ถามี) และสั่งวางในหนาเว็บเพจได

Page 32: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 29 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 29

ในกรณีมีการคัดลอก (Copy) ขอมูล เพื่อวางในฟอรมของ e-Learning YRU แลว มีการแจงเตือนในเร่ืองการอนุญาตใหวางขอมลู ใหเลือก Allow access เพื่อใหสามารถวางเอกสารลงในแบบฟอรมได ดังรูป

เมื่อตองการปรับโครงสรางแผนการสอน เชน การเพิ่มจาํนวนสัปดาหหรือจํานวนบท ใหใชเมนู การตั้งคา เพื่อเปลี่ยนแปลงขอมูลของรายวิชา ดังรูป

เลือก Allow Access เพื่อวางสิ่งที่คัดลอกลงใน

แบบฟอรม

เลือกเมนูในบล็อก การจัดการระบบ, การตั้งคา เพื่อปรับเปลี่ยนโครงสรางวิชา

เลือกแผนการสอนแบบหัวขอ / สัปดาห / กลุมสนทนา

Page 33: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 30 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 30

• การสรางเนื้อหาสําหรบัการเรียนรูเบื้องตน ในเอกสารนี ้ จะแนะนําขั้นตอนการสรางเนื้อหาสําหรับการเรียนการสอนเบื้องตนโดยเริ่มจากการ กําหนดชื่อบท การกําหนดชื่อหัวเร่ืองหลัก หัวเร่ืองรอง และ การสรางหนาเนื้อหาเอกสารในรูปแบบ เว็บเพจ โดยจะแสดงตวัอยางในการสรางของ บทท่ี 1 เปนกรณีศึกษา การสรางชื่อบท เร่ิมจากการแกไขขอความของบทคัดยอ ดังรูป

พิมพช่ือบทและบันทึก จะไดดังรูป

ผลลัพธดังรปู

เลือกแถบเครื่องมือ เพื่อสรางช่ือบทหรือช่ือหัวขอ

Page 34: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 31 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 31

เมื่อไดช่ือบทแลว จากนั้นจะสรางเนื้อหาโดย การสรางหัวเร่ืองหลัก ในแตละบท โดยการเลือกสรางจากการเพิ่มแหลงขอมูล (แหลงเรียนรู) ประเภทตาง ๆ ที่ Moodle จัดเตรียมไวให โดยเลือกจากรายการ ดังรูป

จากรูป แหลงขอมูล ที่สามารถนํามาสรางหรือนํามาใชเปนแหลงทรัพยากรการเรยีนรู มีประเภท

ตาง ๆ ใหผูสอนเลือกใชได สรุปความหมายและลักษณะโดยสังเขป ดังนี ้

เลือกเพิ่มแหลงขอมูล (ตามประเภทที่ตองการ)

เพื่อสรางเนื้อหาของบทเรียน

Page 35: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 32 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 32

Label คือ ขอความที่สามารถจัดรูปแบบได และแทรกรปูภาพ แตจะแสดงไวที่หนาแรกของรายวิชา อาจใชบอกขอบเขตโดยยอหรือ Concept ของเนื้อหาบทนี ้

หนังสือ คือ แหลงขอมูลที่เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) สําหรับใชเปนเนื้อหาประกอบการเรียนการสอน ซ่ึงเปนโมดูลที่ตองติดตั้งเพิม่ในระบบ Moodle เพื่อใหระบบมีความสามารถจัดการสราง แกไข และพิมพหนังสืออิเล็กทรอนิกส เชิงโตตอบแบบประหยัดไดโดยสะดวก ขอดี คอื เม่ือตองการพิมพเปนเอกสารประกอบการเรียนการสอนจะสะดวกกวาการสรางเปนหนาเว็บเพจปกต ิ(ตองติดตั้งModule นี้เพิ่มเติมในระบบ Moodle โดย Admin)

หนาหนังสือธรรมดา คือ แหลงขอมูลประเภทนี้เปนหนาเปลา ๆ ประกอบดวยขอความ ที่เขียนขึ้นโดยไมมีการปรับแตงใด ๆ ไมเนนการปรับแตงรูปแบบในสวนเนื้อหาดวยภาษา HTML

หนาเว็บเพจ คือ แหลงขอมูลชนิดนี้ทําใหการพัฒนาเว็บเพจแบบหนาเดี่ยวบน Moodle ทําไดงายขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อคุณใช WYSIWYG HTML editor หนา HTML นี้ถูกเก็บไวในฐานขอมูล แตไมใชไฟล สามารถใชงานหนา HTML พัฒนาหรือสรางสรรคอะไรก็ได โดยใช HTML หรือ Javascript

ไฟลหรือเว็บไซต คือ แหลงขอมูลประเภทสรางลิงกไปยังเว็บเพจหรือไฟลใดๆ จากเว็บสาธารณะอื่น และสามารถลิงกเว็บเพจหรือไฟลใดๆ ที่อัปโหลดจากคอมพิวเตอรสวนตัว เขามายังพื้นที่เก็บไฟลรายวิชาไดอีกดวย รวมทั้งไฟลมัลติมีเดียก็จะสามารถแสดงผลไดใน Moodle

ไดเรกทอรี่ คือ แหลงขอมูลที่เปนแหลงเก็บขอมูลที่มีอยูแลวในรายวิชา แลวอนุญาตใหผูเรียนเขาไปเปดไฟลตาง ๆ ที่อยูใน Directory นั้นไดโดยตรง

เพิ่มแพ็กเกจ IMS คือ การนําเขาบทเรียนสาํเร็จรูปตามมาตรฐานของ IMS : Instructional Management System ตามขอกําหนดของ IMS Grobal Learning Consortium ที่เนนเทคโนโลยีมาตรฐานอีเลิรนนิ่งใหเปนเทคโนโลยีเปดและเปนมาตรฐานเดียวกนั เพือ่การแลกเปลีย่นบทเรียนระหวางระบบบริหารจัดการการเรยีนรูหรือ LMS เชน มาตรฐานของ SCORM (Sharable Content Object Oriented Reference Model)

• การสรางเนื้อหาประเภทเว็บเพจ การสรางเนื้อหาประเภทเว็บเพจ (Web Page) คือ การสรางเนื้อหาที่เนนการแสดงผลแบบมัลติมีเดียโดยใช HTML Editor ทั้งสวนที่เปนบทคัดยอและเนื้อหาจริง สามารถใชความสามารถ HTML Editor ในการสรางและออกแบบเอกสารได รวมทั้งการแทรกรูปภาพ การสรางลิงก การแทรกตาราง โดยเนื้อหาที่สรางในประเภทนี้ จะถูกจัดเก็บไวในฐานขอมูลของรายวิชา

Page 36: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 33 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 33

ขั้นตอนการสรางเนื้อหาประเภทเว็บเพจ เร่ิมจากการเลือกโหมดเพื่อ เร่ิมการแกไขหนานี้

เมื่ออยูในโหมดการแกไข ใหเลือกแทรก แหลงขอมูล ณ ตําแหนงที่ตองการสรางหัวขอหรือช่ือเร่ืองของหนาเอกสารเว็บเพจ ดังรูป

เปลี่ยนเปนโหมดการแกไขไดที่ปุมคําสั่งนี้

เลือกเพิ่มแหลงขอมูลเปน หนาเว็บเพจ

Page 37: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 34 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 34

หลังจากบันทึกเปล่ียนแปลง ผลการสรางเนื้อหาในหนาแบบเว็บเพจ เปนดงัรูป

เนื้อหานี้ สามารถ Copy มามจาก Word หรือเว็บไซต ได

แถบเครื่องมือจัดรูปแบบ

ลางการจัดรูปแบบจาก

Word

สรางเอกสารในมุมมองแบบขยาย

Page 38: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 35 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 35

• การสรางเนื้อหาประเภทลิงกไปยังเว็บไซต

กรอก URL ของแหลงขอมูลภายนอกหรือ

เลือกไฟลหรืออัปโหลดไฟลเพื่อสรางลิงกไปยังเอกสาร

นั้น

กําหนดใหเปดเอกสารหรือเว็บไซตที่ลิงกในหนาเดิม

หรือหนาตางใหมของ Web Browser

สามารถแกไขเอกสารหนานี้ไดโดยการ click จากปุมนี้

เมี่อตองการคนหาขอมูลในเว็บไซต ดวย Google

Search

Page 39: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 36 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 36

การสรางแหลงขอมูลประเภทเว็บไซทหรือลิงกไปยังไฟลภายใน จะเปนประโยชนตอผูเรียน เนื่องจาก ผูสอนเปนผูคัดเลือกแหลงขอมูลมาใหผูเรียน โดยการคัดกรองเฉพาะลิงกที่เปนประโยชนมาใหนักศึกษา

การสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) เปนแหลงขอมูลประเภทหนึ่งที่ Moodle มีโมดูลเสริม เพื่อเพิ่มความสะดวกในการสรางเอกสารประเภทเว็บเพจอยางงาย ขอดีคือ หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถจัดโครงสรางสารบัญ หัวขอของเนื้อหา ไวในแหลงเดียวกัน ทําใหสะดวกในการสํารองขอมูล การพิมพเอกสารเว็บเพจไปเปนเอกสารประกอบการการสอนได ขั้นตอนการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส เร่ิมจากการเลือกเพิ่มแหลงขอมูลประเภท หนังสือ ดังรูป

จากนั้นระบบจะใหกําหนดรายละเอียดเกีย่วกับหนังสือหรือ e-book ดังรูป

เลือกเพิ่มแหลงขอมูลเปนประเภทหนังสือ

Page 40: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 37 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 37

ผลการสรางเนือ้หาหัวขอแรกเปนดงันี ้

บันทึกการเปลี่ยนแปลงเพื่อสรางรายละเอียดของ e-book

เริ่มสรางเอกสารหนาแรกของหนังสือ ประกอบดวยช่ือบท และเนื้อหา

Page 41: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 38 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 38

การเพิ่ม แกไข และลบหัวขอในหนังสือ รวมท้ังการพิมพหนังสือทีละหนา หรือท้ังเลม สามารถทําไดจากเมนดูานซาน ดังรูป

เมนูสําหรับ การแกไข ลบ ซอน และเพิ่มหัวขอและเนื้อหาของหนังสือ

เมนูสําหรับ แกไขรายละเอียดหนังสือ

เพิ่มหนาหนังสือหรือหนาบทเรียนใหม

พิมพหนังสือทั้งเลมและเฉพาะบทเรียน

(ผูเรียนสามารถบันทึกไปอานเพิ่มเติมหรือสั่งพิมพไดโดยสะดวก)

Page 42: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 39 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 39

การสรางกจิกรรมการเรียนการสอน เกี่ยวกับการสรางกิจกรรมการเรียนการสอน ในระบบ e-Learning YRU มีเครื่องมือสําหรับสราง

กิจกรรมหลายชนิด ไดแก Hot Pot, Scorm, Wiki, กระดานเสวนา การบาน ฐานขอมูล บทเรียนสําเร็จรูป หองปฏิบัติการ หองสนทนา อภิธานศัพท แบบทดสอบ แบบสอบถาม และโพลล ดังรูป

สําหรับเอกสารฉบับนี้ จะขอยกตวัอยางการสรางกิจกรรมเบื้องตนที่จําเปนในการสรางกิจกรรมการ

เรียนรู ไดแก กระดานเสวนา หองสนทนา การมอบหมายงาน และ แบบทดสอบ เทานั้น

• การเพิ่มกิจกรรมกระดานเสวนา กิจกรรมกระดานเสวนา คือ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูผานกระดานเสวนา ของผูเรียนและผูสอนสามารถกําหนดกิจกรรมกระดานเสวนาไวหลายกระดานได ดังรูป

รายช่ือกิจกรรมทั้งหมดที่มีในระบบ EL-YRU ที่ผูสอนสามารถจัดกิจกรรมไดอยาง

หลากหลาย

Page 43: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 40 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 40

เมื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงแลว จะได กระดานเสวนาประจําบทเรยีน และผูเรียนสามารถตอบคําถามหรือเสนอขอคิดเห็นได ดังรูป

Page 44: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 41 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 41

• การเพิ่มกิจกรรมหองสนทนา กิจกรรมหองสนทนา คือกิจกรรมการโตตอบออนไลนผานทางแปนพมิพ สําหรับการอภิปรายออนไลน หรือการคุยกันเปนกลุม เรียกวา Chat Room ตอไปนี้เปนตัวอยางการสรางกิจกรรมหองสนทนาประจาํรายวิชา สามารถทําไดดังรูป

เมื่อกิจกรรมหองสนทนาแลว ระบบจะใหกําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับหองสนทนา ดงัรูป

ผูเรียนสามารถตอบหรือต้ังกระทูได (ขึ้นอยูกับบทบาท

ที่กําหนดใหนักเรียน)

Page 45: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 42 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 42

เมื่อบันทึกแลว การใชงานหองสนทนา จะเหมือนกับการใช Chat Room ทั่วไป เพยีงแตกําหนดกลุมไวเฉพาะสมาชิกในรายวิชานี้ คือ ผูสอน ผูเรียน เทานัน้ ดังรูป

กรอกชื่อหองสนทนา

กรอกขอความโตตอบแลว Enter

Page 46: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 43 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 43

• กิจกรรมการบาน (งานมอบหมาย) กิจกรรมการบานหรืองานมอบหมาย เปนกิจกรรมที่ผูสอนมอบหมายงานใหผูเรียนปฏิบัติ

เปนการบาน โดยกําหนดรายละเอียดของงาน เกณฑการใหคะแนน กําหนดวันสง วิธีการสงงาน การใหคะแนน และการตรวจงานผานระบบของ e-Learning YRU ทําใหสะดวกตอการติดตามการสงงาน การตรวจงาน และการประเมินคะแนน

กิจกรรมอบหมายงาน เร่ิมจากการเพิ่มกิจกรรมในเนื้อหาของบทหรือหัวขอที่เราตอง โดยเลือกกิจกรรม การบาน และเลือกแบบ อัฟโหลดไฟลขั้นสูง ดังรูป

จากนั้น ระบบจะใหกําหนดรายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับการบาน ดังรูป

Page 47: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 44 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 44

เมื่อบันทึกรายละเอียดของการบานแลว จะแสดงจอภาพของขอมูลการบานใหตรวจสอบ ดังรูป

Page 48: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 45 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 45

• กิจกรรมอภิธานศัพท กิจกรรมอภิธานศัพท เหมาะสําหรับรายวิชาที่มีคําศัพทเทคนิค (Technical Term) ที่เปน

ภาษาอังกฤษจาํนวนมาก เชน รายวิชาทางดานคอมพิวเตอร วิทยาศาสตร หรือคําศัพทเฉพาะที่มกีารนิยามความหมายไวโดยเฉพาะซึ่งตองอธิบาย เชน สํานวน สุภาษิตในวิชาภาษาไทย โดยสามารถสรางภาพประกอบ และสรางลิงกขยายความไปยังหนาเว็บเพจ นอกรายวิชาได

สําหรับขั้นการสรางกิจกรรมการสอนแบบอภิธานศัพททําได ดังนี ้1. เลือกเพิ่มกิจกรรมในรายวิชา หรือในแตละบท โดยเลือกกิจกรรมอภิธานศัพท ดังรูป

รายละเอียดคําสั่งของการบานหรืองานที่มอบหมาย

จํานวนงานที่สงแลว สามารถเขาไปตรวจและประเมินคะแนนได

กําหนดวันเริ่มสงและหมดเขตการสงการบาน

บริเวณแสดงชื่อไฟลที่สงการบานฉบับราง

บริเวณเลือกเพื่อ upload ไฟลสงการบาน

เลือกเพิ่มกิจกรรมในบทเรียน และเลือกกิจกรรม

อภิธานศัพท

Page 49: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 46 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 46

2. ระบบจะแสดงแบบฟอรมใหกําหนดรายละเอียดกิจกรรมอภิธานศัพท เชน กําหนดชื่อ คําอธิบาย จํานวนคําที่จะแสดงตอหนึ่งหนา การกําหนดการใหคะแนน ชวงเวลาการใหคะแนน รูปแบบการแสดงผล เปนตน ดังรูป

เมื่อกําหนดแลว ใหบันทึกการเปลี่ยนแปลง

Page 50: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 47 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 47

3. ระบบจะแสดงจอภาพสําหรับเริ่มใหเพิ่มคําศัพท และการนิยามความหมาย ดังรูป

กิจกรรมอภิธานศัพท เปนกิจกรรมหนึ่งที่กระตุนใหผูเรียนมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนเรียนรูไดเปนอยางดี สามารถประเมินคะแนนใหกับผูเรียนไดอีกดวย

กรอกประเภท และ คําสําคัญที่ใชคนหา

จากนั้นทําการบันทึกการเปลี่ยนแปลง

กรอกคําศัพทที่บริเวณนี้

Page 51: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 48 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 48

• กิจกรรมแบบทดสอบ กิจกรรมแบบทดสอบหรือกจิกรรมแบบฝกหัด นับเปนกจิกรรมสําคัญสําหรับการวัดและ

ประเมินผลการเรียนรูในระบบ EL-YRU กิจกรรมแบบทดสอบใน Moodle เตรียมเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ สามารถสรางแบบทดสอบหลากประเภทเปนคลังขอสอบเก็บขอสอบหลากหลายชนิด และสามารถนําขอสอบในคลังมาสรางเปนชุดแบบทดสอบไดโดยสะดวก

สําหรับขั้นการสรางแบบทดสอบทําได ดังนี้ 3. เลือกเพิ่มกิจกรรมแบบทดสอบ ดังรูป

จากนั้นระบบจะแสดงจอภาพสําหรับการสรางแบบทดสอบชุดนี้ เพือ่เตรียมไวสําหรับใสขอสอบแตละขอที่จะสรางใหม หรือเรียกใชจากคลังแบบทดสอบของระบบ (กรณมีีขอสอบในคลังอยูแลว) ดังรูปตอไป

เลือกเพิ่มกิจกรรมเปนแบบทดสอบ

Page 52: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 49 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 49

กรอกชื่อแบบทดสอบฉบับนี้และรายละเอียดอื่น ๆ ให

ครบถวน

กรอกคําสั่งหรือคําช้ีแจงสําหรับขอสอบฉบับนี ้

เมื่อกําหนดรายละเอียดแลวบันทึกขอสอบฉบับนี ้

กําหนดรายละเอียดตาง ๆ ของแบบทดสอบตาม

ตองการ

Page 53: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 50 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 50

จากนั้น ระบบจะแสดงหนาจอภาพสําหรับการสรางขอสอบรายขอ เก็บไวในคลังแบบทดสอบ โดยทางดานซายมือของฟอรมจะแสดง โครงสรางของแบบทดสอบชุดนี้ และทางขวามือจะเปนการสรางประเภทของแบบทดสอบ การสรางขอสอบรายขอ เพื่อเก็บขอสอบไวในคลัง (นําขอสอบในคลังมาประกอบเปนแบบทดสอบชุดนี้ภายหลัง) ดังรูป

กอนจะสรางแบบทดสอบใหสราง ประเภทของแบบทดสอบ เพือ่ใชจําแนกประเภทของขอสอบที่อยูในคลังและเก็บขอสอบแตละขอ เพื่อใหงายตอการนํากลับมาใชงานหรือใชแบบทดสอบประเภทนี้กับผูสอนคนอื่น ๆ หรือในรายวิชาอื่น ๆ การสรางประเภทของแบบทดสอบใหมใหเลือก ดังรูปตอไป

บริเวณแสดงขอสอบในแบบทดสอบชุดนี้

(ขณะนี้ยังไมมีขอสอบ) บริเวณจัดการ

คลังแบบทดสอบ และสรางขอสอบรายขอ

Page 54: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 51 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 51

หลังจากกําหนดประเภทของแบบทดสอบแลว ในที่นี้คือ ภาษาไทย ม. 3 จะเปนขั้นตอนสรางแบบทดสอบแตละขอเก็บไวในคลังแบบทดสอบ โดยเกบ็ไวในประเภท ภาษาไทย ม. 3 ซึ่งสามารถเลือกประเภทของแบบทดสอบไดหลายประเภท เชน แบบการคํานวณ แบบคําอธิบาย แบบความเรียง แบบจับคู แบบเติมคํา แบบปรนยั แบบอัตนยั ดังรูป

สําหรับในเอกสารนี้ จะยกตวัอยางการสรางแบบทดสอบ ประเภทปรนยั เทานั้น

กรอกชื่อประเภทของแบบทดสอบ

คําอธิบายประเภทเพิ่มเติม

Page 55: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 52 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 52

ในขั้นตอนแรก เลือกประเภทแบบทดสอบเปน ภาษาไทย ม.3 และเลือกสรางคําถามใหม (ทีละคําถาม) แบบปรนัย ดังรูป

จากนั้นระบบจะแสดงแบบฟอรมสําหรับสรางแบบทดสอบทีละขอ แบบปรนัย ใหกรอกรายละเอยีดขอสอบ ภาพประกอบ และตัวเลือก พรอมทั้งเฉลยและขอความยอนกลับ (Feedback) ใหครบถวน ดังรูป

เลือกประเภทแบบทดสอบ

เลือกคําถามแบบปรนัย

Page 56: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 53 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 53

กรอกรายละเอียด คําถาม สามารแทรก

รูปภาพได

กําหนดคะแนนและการหักคะแนนถาตอบผิด

กรอกชื่อคําถาม

กรอกขอความยอนกลับ ทั่ว ๆ ไป

สําหรับแบบทดสอบ ้

กรอกตัวเลือกและคะแนนที่ไดเมื่อตอบถูก

ควรกําหนด choice 1 เปนคําตอบถูก เพื่อความสะดก ในการตรวจสอบคําตอบ เพราะสามารถกําหนดใหแบบทดสอบสลับขอและ

ตัวเลือกขอสอบได ในการทําแบบทดสอบ

Page 57: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 54 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 54

กรอกขอความยอนกลับสําหรับตัวเลือกขอนี้

กรอกตัวเลือกที่ 2

Page 58: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 55 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 55

เมื่อตองการเพิ่มตัวเลือกระบบจะเพิ่มใหครั้งละ 3

ตัวเลือก

ขอความยอนกลับเมื่อตอบถูก ใชกับทุกขอ (ถาตองการ

เหมือนกัน)

ขอความยอนกลับเมื่อตอบถูก บางสวน

ใชกับทุกขอ (ถาตองการเหมือนกัน)

Page 59: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 56 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 56

ระบบจะแสดงรายละเอียดขอสอบในคลัง ดังรูป

ขอความยอนกลับเมื่อตอบผิด (ถาตองการเหมือนกัน)

บันทึกขอสอบไวในคลังขอสอบ

ขอสอบขอที่ 1 ในคลัง สามารถเลือกขอสอบขอนี้

ไปสรางขอสอบ หรือดูตัวอยาง หรือแกไข หรือลบทิ้ง โดยใช เครื่องมือที่อยูหนารายการขอ

Page 60: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 57 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 57

การเลือกขอสอบในคลังขอสอบ ไปสรางเปนแบบทดสอบ ทําไดโดยการเลือกขอสอบ แลวเลือกปุมคําสั่ง [ เพิ่มเขาไปในแบบทดสอบ] ดังรูป

จะปรากฏรายการขอสอบในแบบทดสอบ ดังรูป

และเมื่อทดลอง ดูตัวอยาง จะไดแสดงผลแบบทดสอบ ดังรูป

ดูตัวอยางแบบทดสอบ

ขอสอบที่อยูในแบบทดสอบฉบับนี้

Page 61: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 58 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 58

การนําคะแนนไปใชในการประเมินผล

เมื่อผูสอนตองการนําคะแนนที่ไดจากกิจกรรมตาง ๆ เชน แบบฝกหัด แบบทดสอบ กระดานเสวนา อภิธานศัพท และการบาน หรือกิจกรรมอื่น ๆ ที่กําหนดคะแนนไว ผูสอนสามารถทําการ Download คะแนนของรายวิชากลับมาเก็บไวที่เครื่องคอมพิวเตอรในรูปแบบของไฟลประเภท Microsoft Excel ได ดังขั้นตอนตามลําดับดังนี้ 1. เขาสูระบบ e-Learning YRU เลือกรายวิชาของตนเอง แลวเลือกเมนู คะแนนทั้งหมดดังรูป

2. ระบบจะแสดงคะแนนทั้งหมดที่ผูเรียนไดทํากิจกรรมไว ดังรูป

3. ถาตองการ Download คะแนนมาเก็บไวในเครื่องคอมพิวเตอรของเราเพื่อทําการประมวลผลเปนคะแนนเก็บ ตามสัดสวนที่ตองการ ก็สามารถ Download มาเปนไฟลประเภท Microsoft Excel ได ทําใหสะดวกในการคํานวณคะแนนที่จะนําไปใชในการประเมินผลจริง ดังรูป

เลือกเมนูคะแนนทั้งหมด เพื่อใหระบบประมวลผล

คะแนนรายวิชา

รายงานคะแนนทั้งหมด เลือก ดาวนโหลดรูปแบบ

ตาราง Excel

Page 62: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 59 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 59

4. จากนั้นก็สามารถเปดไฟล Microsoft Excel เพื่อทําการคํานวณคะแนนได โดยลบคอลัมนที่ไมเกี่ยวของออกไป ใหเหลือเฉพาะคอลัมนที่เปนชื่อนักศึกษา และคะแนนเก็บของกิจกรรมแตละคน สามารถสรางสูตรคํานวณคะแนนใหมไดตามที่ตองการ ดังรูป

เลือก Open หรือ Save ไฟลรูปแบบ Excel จะไดดังภาพ

ในขอ 4

ลบคอลัมนที่ไมเกี่ยวของออกและสรางสูตรคํานวณคะแนนดวย Excel ไดตามตองการ

Page 63: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 60 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 60

การสํารองขอมูล การสํารองขอมูลรายวิชา มีความจําเปนอยางยิ่งสําหรับผูสอน เพื่อปองกนัขอมูลรายวิชา ทรัพยากรการเรียนรู ขอมูลสมาชิก รวมทั้งขอมูลที่เกี่ยวของกับรายวิชาทั้งหมดสูญหายไป หากระบบ e-Learning YRU หรือ เครื่องแมขาย (Server) ซ่ึงเปนฮารดแวรหลักเสียหาย เชน ฮารดดสิ (Harddisk)มีปญหา ไมสามารถกูคืนขอมูลได หากมีการสํารองรายวิชาไว ก็สามารถนํากลับมากูคืนกลบัมาในระบบอีเลิรนนิ่งได โดยไมตองสรางรายวิชา ทรัพยากรการเรียนรู และกิจกรรมใหม ขั้นตอนของการสํารองขอมูลรายวิชา (http://e-learning.yru.ac.th/docs) 1. เขาสูระบบ eLYRU ดวยช่ือและรหัสผานของผูสอน (Teacher) หรือผูสรางรายวิชา (Course Creator)

2. เลือกเปดรายวิชาของตนเอง และเลือกเมนู การสํารองขอมูล เพื่อเร่ิมขั้นตอนการสาํรองขอมูลรายวิชา ดังรูป

3. เลือกรายการที่ตองการสํารองในรายวิชา แลวเลือกเมน ขั้นตอไป ดังรูป

Page 64: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 61 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 61

Page 65: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 62 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 62

4. ดําเนินการในขั้นตอนตอไป ซ่ึงระบบจะสรุปรายละเอียดการสํารองขอมูลใหตรวจสอบอีกครั้ง (หากตองการแกไข กดปุม Back ของ Browser กลับไปแกไขใหมได

Page 66: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 63 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 63

5. เลือกชื่อไฟลประเภท zip ที่ทําการสํารองไวลาสุด โดยสังเกตจากวันเดือนปและเวลาที่ทําการสํารอง โดยการ click ขวา เพือ่บันทึกกลับมาเก็บไวยังเครือ่งคอมพิวเตอรของเรา โดยการสั่ง Save Target As ดังรูป

Page 67: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 64 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 64

เมื่อทําการสํารองขอมูลเรียบรอยแลว ไฟลที่เก็บไวในระบบ e-Learning YRU หรือทีเ่ครื่องแมขาย สามารถลบทิ้งได โดยการเลือกชื่อไฟล แลวเลือกคําสั่งลบทั้งหมดที่เลือก ดังรูป

การประเมินความพึงพอใจของผูเรียน

ในระบบ e-Learning YRU ไดสรางแบบประเมินความพงึพอใจของผูเรียนเปนตนแบบไวแลว (สามารถปรับแกไดตามความตองการ) ผูสอนสามารถสรางแบบประเมินออนไลนและรวบรวมขอมูลเพื่อประกอบการวจิัยช้ันเรยีนออนไลนไดทนัท ี มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกสรางกิจกรรมแบบสาํรวจ เพื่อสรางแบบสํารวจความพึงพอใจของผูเรียนในระบบอีเลิรนนิ่งดังรูปในหนาตอไป

Page 68: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 65 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 65

2. กําหนดรายละเอียดเกี่ยวกบัแบบสํารวจ เชน ช่ือแบบสํารวจ คําชี้แจง วันและเวลาที่เปดใหทําแบบสํารวจ เงื่อนไข คําลงทายแบบสํารวจ ดังรูป

Page 69: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 66 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 66

กรอกและกําหนดรายละเอียดตาง ๆ ตามตองการ

Page 70: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 67 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 67

3. บันทึกการเปลี่ยนแปลง ระบบจะแสดงเมนูและรายละเอียดใหสรางขอคําถามของแบบสํารวจ และคําตอบของขอคําถามแตละขอ ในที่นี้ใหเลือกเมนู รูปแบบ เพื่อเลือกรูปแบบแบบสอบถามที่มีอยูแลว ดังรูป

ระบบจะแสดงรูปแบบที่ตองการใชใหเลือก โดยใหเลือกรูปแบบรายการที่ 2 แบบสํารวจความพึงพอใจในการเรยีนการสอนแบบอีเลิรนนิ่ง (รายวิชา) ดังรูป

จากนั้นใหเลือกบันทึกการเปลี่ยนแปลงดังรูปในหนาตอไป

เลือกรูปแบบอัตโนมัติของแบบสํารวจที่มีอยูแลวในระบบ

เลือกช่ือรูปแบบรายการที่ 2

Page 71: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 68 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 68

ระบบจะแสดงตัวอยางแบบสํารวจ ซ่ึงประกอบดวยขอคําถาม ตัวเลือก โดยผูสอนสามารถเปลี่ยนแปลงคาํถาม ตําแหนง หรือเพิ่มคําถามได โดยใชเมนูจัดการแบบสํารวจ ดังรูป

4. ขั้นตอนการนําผลการประเมินไปใช เมื่อเปดใหผูเรียนตอบแบบสํารวจออนไลนแลว หากผูสอนตองการนําผลการประเมินไปใช ใหเลือกเมนูการวิเคราะหแบบสํารวจ เลือกกลุมผูเรียน ระบบจะทําการประมวลผลแลวแสดงขอมูลการตอบแบบสํารวจเปนความถี่ รอยละ และแสดงกราฟแทงแนวนอน นอกจากนั้นยังสามารถดาวนโหลดขอมูลมาใชในรูปแบบ Microsoft Excel ไดดวย ดังรูปหนาตอไป

เลือกบันทึกการเปลี่ยนแปลงเพื่อเริ่มสรางแบบสํารวจ

เลือกเปลี่ยนแปลง แกไข ลบ โดยใชแถบเครื่องมือ

Page 72: คูู มืือ การใช ระบบ e-Learning YRUe-learning.yru.ac.th/e-learning/file.php/1/manual/... · คํานํา เอกสารคู มือ การใช

~ 69 ~

เรียบเรียงโดย อ. ศิริชัย นามบุรี  สาขาคอมพิวเตอร ภาควิชาวิทยาศาสตรประยุกต มรย. [6 March 2009] หนา 69

เว็บไซตแหลงอางอิง • http://e-learning.yru.ac.th

• http://e-learning.yru.ac.th/docs

• http://www.moodle.org

• http://docs.moodle.org