344-282 graphics design and arts - prince of...

25
344 344 - - 282 Graphics Design and Applied Arts 282 Graphics Design and Applied Arts บทที5 Typography

Upload: others

Post on 14-Aug-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

344344--282 Graphics Design and Applied Arts282 Graphics Design and Applied Arts

บทที่ 5 Typography

Page 2: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

การออกแบบกราฟกการออกแบบกราฟก

หนาที่หลักของการออกแบบกราฟกคือ การสื่อสารไปยังผูรับสาร

องคประกอบของการสื่อความที่สําคัญคือ ตัวอักษร

2

Page 3: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม

ยุคแรก: รูปแบบภาษาภาพ เชน Hieroglyphic และรูปแบบภาษาจีน

ราว 1200 ปกอนคริสตกาลเกิดตัวหนังสือแบบอักขระโดยชาวโฟนิเชียน (Phoenicians)

3Hieroglypics: Alphabet

Page 4: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ชาวกรีกและโรมันไดดัดแปลงอักขระของชาวโฟนิเชียนและได

พัฒนาเปนภาษาละติน (Latin)

4

Page 5: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ภาษาอังกฤษและยุโรปไดพัฒนาจากภาษาละตินตอมา

◦ การออกแบบตวัอักษรถูกเผยแพรไปยังประเทศตางๆ ในยุโรป เชน Claud Garamond (ค.ศ. 1480-1561)

5

Page 6: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ป ค.ศ. 1692-1766 ที่ประเทศอังกฤษ William Caslon ไดผลิตตัวพิมพชื่อ Caslon Old Face และเปนที่นิยมในยุคอุตสาหกรรม

ป ค.ศ. 1706-1775 นักออกแบบชาวอังกฤษ John Baskerville ไดสรางตัวอักษรที่มีลักษณะเรียบงายและสวยงามเปนที่นิยมมากโดยเฉพาะตัวเนื้อเรื่องที่มีขนาดเล็ก

6

Page 7: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ชวงป ค.ศ. 1790-1800 ไดเกิดตัวพิมพรูปแบบใหม เรียกวา Modern (สมัยใหม) ขึ้นในประเทศอิตาลี โดย Giambattista Bodoni (ค.ศ. 1740-1813) ผูสรางแบบตัวอักษรตระกูล Bodoni ที่ไดรับการพัฒนาและเปนที่นิยมในปจจุบนั

7

Page 8: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม เกิดตัวพิมพแบบที่แตกตางจากตัวพิมพเดิมที่มีมากอน คือ ไมมีสวนที่เรียกวา Serif (เสนเล็กๆ ของตัวพิมพที่ทําใหเดนชัด) ตรงปลายของตัวพิมพ เชน ตัวพิมพของ Caslonชวง ค.ศ. 1820-1830◦ ไดมีนักออกแบบตัวพิมพอยางจริงจัง

8

Page 9: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ค.ศ. 1916 ระบบรถไฟใตดินของกรุงลอนดอนไดจาง Edward Johnson ออกแบบชุดตัวพิมพ

9

Page 10: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ค.ศ. 1924-1927 ไดมีนักออกแบบชื่อ Paul Renner ออกแบบตัวพิมพตระกูล Futura ใหมีลักษณะตัวพิมพที่หลากหลายมากถึง 15 ลักษณะ

10

Page 11: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ค.ศ. 1931 หนังสือพิมพไทมของประเทศอังกฤษไดจางนักออกแบบใหชื่อตัวอักษรวา Times New Roman ซึ่งไดมีการนําไปใชในกิจการสาธารณะและเปนที่นิยมทั่วโลก

11

Page 12: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ยุคทศวรรษ 1950 เกิด International Typographic Style หรือ Swiss Style โดยเนน cleanliness, readability and objectivity◦ ตัวอยาง: Helvetica เปนตัวอักษรเรียบๆ ไมมีเชิง และไมมีลักษณะของเสนบางผสมเสนหนา

12

Page 13: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))Helvetica ไดรับการออกแบบโดย Miedinger และEduard Hoffmann ที่ Haas’sche Schriftgiesserei (Haas type foundry) เมือง Münchenstein, Switzerland. Haas ออกแบบ sans-serif typeface ใหมทีส่ามารถแขงขันกบั ตัวอักษร Akzidenz Grotesk ในวงการตลาดสวิส

13

เริ่มแรก เรียกตัวอักษรนี้ Neue Haas Grotesk,ค.ศ. 1960 Haas’ German parent company, Stempel เปลี่ยนชื่อเปน Helvetica

Page 14: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ประวตัติวัอักษรสมัยใหมประวตัติวัอักษรสมัยใหม ((ตอตอ))

ยุคทศวรรษ 1980 ไดมีการเกิดกระแส New Wave Typographic Style เขามาแทนที่แนวคิดของ New Wave คือ ตอตานการใชแบบตัวหนังสือของ Modernist (Swiss Style)

14

Page 15: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตวัอกัษรภาษาอังกฤษชนิดของตวัอกัษรภาษาอังกฤษ

1. ตัวพิมพแบบตัวคัดลายมือ (Text Letters or Blackletter Typefaces)

2. ตัวพิมพแบบตัวเขียน (Script or cursive Typefaces)

3. ตัวพิมพแบบ Serif (Serif Typefaces)4. ตัวพิมพแบบ San-Serif (San-Serif Typefaces)5. ตัวพิมพแบบตัวตกแตง (Display Typefaces)

15

Page 16: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตวัอกัษรภาษาอังกฤษชนิดของตวัอกัษรภาษาอังกฤษ:: ตัวคดัลายมอืตัวคดัลายมอื

บางครั้งเรียกวา ตัวอาลักษณรูปแบบเหมือน คัดลายมือหรือเขียนดวยปากกาคอแรงลักษณะ: มีความหนา บางของเสนตัวอักษรไมเทากันเหมาะกับการพิมพหัวขอ หรือขอความที่ไมยาวนักใหภาพลักษณของความโบราณแบบคลาสสิก

ตัวอยาง Rotunda

16

Page 17: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตวัเขียนตัวพมิพแบบตวัเขียน

17

รูปแบบคลายเขียนดวยลายมือภาษาอังกฤษ คือเปนเสนตอเนื่องไปแตละตัวเรื่อยๆ ลักษณะ: มีความหนา บางของเสนตัวอักษรไมเทากันเหมาะกับการพิมพขอความสั้นๆ ตัวอยาง Coronet

Page 18: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตัวพมิพแบบ Serif Serif

บางครั้งเรียกวา ตัวมีเชิงลักษณะ: มีความหนา บางของเสนตัวอักษรไมเทากันนิยมพิมพขอความยาวๆ เพราะอานไดงายแบงออกเปน 4 ประเภทยอย1. ตัวพิมพแบบ Old Style2. ตัวพิมพแบบ Transitional3. ตัวพิมพแบบ Slab Serif4. ตัวพิมพแบบ Modern

18

Page 19: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตัวพมิพแบบ Serif Serifตัวพิมพแบบ Old Style◦ จุดเดน: สวนที่เปนฐานหรอืติง่นั้นอยูที่สวนที่เปนเสนทแยงมมุของ

ตัวอักษร โดยสวนที่บางที่สุดจะเปนมมุของตวัอักษร◦ ตัวอยาง: Garamond, Goudy Old Style, Palatino

19

Page 20: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตัวพมิพแบบ Serif Serif

ตัวพิมพแบบ Transitionalบางครั้งเรียกวา Baroqueจุดเดน: สวนที่เปนฐานหรอืติ่งมคีวามหนาบางแตกตางกันมากกวาตัวพิมพแบบ Old Styleตัวอยาง: Times new Roman, Baskerville

20

Page 21: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตัวพมิพแบบ Serif Serif

ตัวพิมพแบบ Square Serif หรือ Slab Serifบางครั้งเรียกวา Egyptian หรือ Antiquesจุดเดน: สวนที่เปนฐานหรือติ่งมีลักษณะเปนสี่เหลี่ยม สวนใหญมีลักษณะหนาบางของเสนตัวอักษรไมเทากัน ตัวอยาง Clarendon, Rockwell และ Courier

21

Page 22: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตัวพมิพแบบ Serif Serif

ตัวพิมพแบบ Modernจุดเดน: สวนที่เปนเสนแนวตั้งของตัวอักษรมักเปนเสนตรงและหนา โดยสวนที่เปนฐานหรือติ่งจะบางมาก และมักมีความหนาบางไมเทากันตลอดทั้งตัวอักษร

ตัวอยาง Bodoni, Century Schoolbook

22

Page 23: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตัวพมิพแบบ San San--SerifSerifจุดเดน:

◦ เปนตัวพิมพที่ไมมีฐานหรอืติ่ง (บางครัง้เรียกวา ตัวไมมีเชิง)◦ สวนใหญมคีวามหนาบางของตวัอักษรเทากันทั้งตัวอักษร แตถามีความหนาบางไมเทากันทั้งตัวอักษร เรียกวา Gothics

ในอดีตนิยมใชเฉพาะการพาดหัวโดยหลีกเลี่ยงการเขียนขอความ

ที่ตอเนื่องยาวๆ เพราะอานยากกวาตัวพิมพที่มีฐานหรือติ่งตัวอยาง Helvetica, Arial, Univers

23

Page 24: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

ชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษชนิดของตัวอักษรภาษาอังกฤษ:: ตัวพมิพแบบตวัตกแตงตัวพมิพแบบตวัตกแตง

จุดเดน: มีความเปนอิสระในรูปทรงของตัวอักษรแตกตางจากตัวอักษรทั่วไป มักนําไปใชงานประเภทตกแตง นิยมใชในการพาดหัวเพื่อแสดงบุคลิกภาพเฉพาะพิเศษตามวัตถุประสงค

ไมจํากัดวาจะตองเปนตัวอักษรลวนๆ อาจนําภาพอื่นๆ มาผสมใหกลมกลืนกันหรือตัดทอน ตอเติม หรือแปรรูปอยางใดก็ไดเพื่อใหเกิดความพิเศษในตัว

ตัวอยาง Banco

24

Page 25: 344-282 Graphics design and arts - Prince of …staff.cs.psu.ac.th/ladda/subjects/344-282GD/pdf/Chapter5...ได ม น กออกแบบต วพ มพ อย างจร

เอกสารอางอิงเอกสารอางอิง

ปาพจน หนุนภักดี. Graphic Design Principles. 360 หนา บริษัท ไอดีซี พรีเมียร จํากัด, นนทบุรี 2553.

http://www.davidairey.com/13-typefaces-every-graphic-designer-needs/ เขาถึงเมื่อ 30 ก.ค. 2554

Wikipedia. http://en.wikipedia.org/wiki/ เขาถึงเมื่อ 30 ก.ค. 2554

McIntire, P. Visual Design for the Modern Web. New Riders. 2008.

25