2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ a % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4...

101
4 การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการ สอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก Knowledge Measurement and Application of the Sufficiency Economy Philosophy to Educate in the Undergraduate Level of Krirk University โดย อาจารยเพ็ญพรรณ ชูติวิศุทธิโครงการวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา 2552

Upload: others

Post on 21-Feb-2020

12 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

4

การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

Knowledge Measurement and Application of the Sufficiency EconomyPhilosophy to Educate in the Undergraduate Level of Krirk University

โดย

อาจารยเพ็ญพรรณ ชูติวิศุทธ์ิ

โครงการวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกริกประจําปการศึกษา 2552

Page 2: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

5

ชื่องานวิจัย การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

ชื่อผูวิจัย อาจารยเพ็ญพรรณ ชูติวิศุทธิ์ปที่ทําการวิจัย 2552

บทคัดยอ

การศึกษาวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อวัดความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี ใชวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บรวบรวมขอมูลกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาจํานวน 373 คนและใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการ สัมภาษณอาจารยผูสอนจํานวน 11 คน

ผลการศึกษาพบวา ระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาอยูในเกณฑระดับปานกลางจนถึงระดับตํ่า โดยมีความรูอยูระดับปานกลาง ในดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี ดานภาพรวมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดานความรู และดานคุณธรรม และมีความรูในระดับตํ่า ดานความมีเหตุผลและดานความพอประมาณ

การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของอาจารยในการจัดการเรียนการสอนพบวาอาจารยผูสอนนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตในการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมทั้ง 5 ดาน คือ การวางแผนการสอน วิธีการสอน กิจกรรมสนับสนุน สื่อการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน โดยแยกเปนดานความพอประมาณ อาจารยผูสอนวางแผนการสอนเนนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติอยางสมดุล ในดานวิธีการสอนเนนการมีสวนรวม และสื่อการสอนใชสื่อการเรียนรู จัดกิจกรรมสนับสนุนโดยนําของที่ใชแลวมาสรางประโยชนและวัดประเมินผลการเรียนการสอนตามสภาพความเปนจริงดานความมีเหตุผล อาจารยผูสอนวางแผนการสอนโดยศึกษาคนควาแหลงเรียนรูตาง ดานวิธีการสอนอาจารยผูสอนไดชี้แจงใหทราบถึงวัตถุประสงคและคนควาดวยตัวเอง ใชสื่อการสอนประกอบการเรียนรูจากแหลงเรียนรูที่หางาย และจัดกิจกรรมที่หลากหลาย รวมทั้งมีการวัดและประเมินผลตามมาตรฐานของหลักสูตร สวนดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี อาจารยผูสอนไดสอดแทรกคุณธรรมในการดํารงตน เนนใหนักศึกษาวางแผนอนาคตของตนดานวิธีการสอนสอดแทรกและเสริมสร างคุณธรรมจริยธรรม ตามเน้ือหารายวิชา ใชสื่อการสอนประกอบการเรียนการสอนในดานการอนุรักษศิลปวัฒนธรรม สิ่งแวดลอม จัดกิจกรรมสนับสนุนการฝกสมาธิและจัดโครงการจิตอาสา รวมทั้งการวัดและประเมินผล เนนดานความรูควบคูคุณธรรมอยางสมดุล

Page 3: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

6

Title Knowledge Measurement and Application of the SufficiencyEconomy Philosophy to Educate in the Undergraduate Level ofKrirk University

Researchers Mrs.Penpun ChutiwisuitYear 2009

Abstract

The objectives of this research were 1) to find out the knowledge levels ofthe undergraduate students on the Sufficiency Economy Philosophy, and 2) toinvestigate the teaching methods, the instructors applied the sufficiency EconomyPhilosophy in their teaching and learning practices. The questionnaires were sentout to the undergraduate students 373 questionnaires were received. In addition,the researcher conducted in-depth interviews of eleven instructors. The datareceived were calculated and analyzed.

The results showed that students level of knowledge of each principle wasmoderate to low. In terms of Self-Immunity Principle, the overall understanding ofthe Sufficiency Economy Philosophy, the knowledge of the Philosophy, Thevalues, it was found that the majority of the respondents understanding wasmoderate, and for the moderation and the rationality, the majority of theresponders's level of knowledge was low.

The application of Sufficiency Economy Philosophy for teaching andlearning practices at the undergraduate level revealed that the instructors appliedthe Philosophy in all five steps of their instruction, these were instructionalplanning, teaching methods, activities, teaching materials, and measurement andevaluation. In terms of Moderation Principle, the instructors balanced the topic ofPhilosophy in their instructional plan both in theory and practice. As for themethods of teaching, participation was emphasized in the process. The instructorsalso used the materials and arranged activities to make use of those materials.Besides, the measurement and evaluation were conducted in real situation. Interms of Rationality Principle, the instructors applied the Philosophy in theirinstructional plan by acquiring data from various sources. As for the teachingmethods, the instructors emphasized on self-study and the teaching materials wereavailable from the center, various activities were arranged, including themeasurement and evaluation were conducted according to the curriculum standard.In terms of self-sustenance and emphasized on students future planning. As for theteaching methods the instructors inserted values and ethics according to the subjectcontent, they also utilized teaching materials for cultural and environmentalconservation. Besides, the instructors arranged the meditation activity and variousvoluntary programs. The measurement and evaluation procedures focused onknowledge as equal as values.

Page 4: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

7

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัยเร่ืองการวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี จากความชวยเหลือของหลายฝายทั้งในดานความรู กําลังกาย กําลังใจ และงบประมาณ

ขอขอบพระคุณทานอธิการบดี รองอธิการบดีฝายวิชาการ และรองศาสตราจารย ดร.พรรณีบัวเล็ก หัวหนาศูนยสงเสริมวิจัยและผลิตตํารา ที่สนับสนุนและสงเสริมใหผูวิจัยไดมีโอกาสทําการวิจัยคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.วิชัย รูปขําดี ที่ปรึกษางานวิจัยที่ไดใหคําแนะนํา ตลอดจนตรวจสอบแกไขขอบกพรองตางๆ จนงานวิจัยสําเร็จเรียบรอย

ขอขอบพระคุณรองศาสตราจารย ดร.วิไลลักษณ รัตนเพียรธัมมะ ที่กรุณาใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะที่เปนประโยชน และรองศาสตราจารย ดร.สมศักด์ิ สามัคคีธรรม ที่ไดกรุณาใหคําแนะนําและชวยตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใชในการศึกษา คณาจารยคณะศิลปศาสตรที่กรุณาใหขอมูลอันเปนประโยชน ตลอดจนอาจารยและเจาหนาที่ที่กรุณาใหขอมูล ใหความชวยเหลือและคําแนะนําอันเปนประโยชนจนงานวิจัยน้ีสําเร็จลุลวงดวยดี

คุณคาและประโยชนจากการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยขอนอมบูชาพระคุณบิดา มารดา ครู อาจารยและผูมีพระคุณทุกทาน รวมถึงผูที่ใหกําลังใจที่ดีเสมอมา อันไดแกครอบครัวและเพื่อนรวมงานทุกทาน

เพ็ญพรรณ ชูติวิศุทธิ์กุมภาพันธ 2554

Page 5: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

8

สารบัญหนา

บทคัดยอภาษาไทย (1)บทคัดยอภาษาอังกฤษ (2)กิตติกรรมประกาศ (3)สารบัญตาราง (6)สารบัญแผนภาพ (8)บทท่ี 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 11.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 41.3 ขอบเขตของการวิจัย 41.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 51.5 นิยามศัพทที่เกี่ยวของ 5

บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 82.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู 82.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน 122.3 แนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 132.4 แนวคิดและหลักการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตใน

การจัดการเรียนการสอน16

2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 192.6 มหาวิทยาลัยเกริก การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี 282.7 กรอบแนวคิดในการศึกษา 322.8 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 35

บทท่ี 3 วิธีการวิจัย 373.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 373.2 เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย 383.3 การตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัย 393.4 การเก็บรวบรวมขอมูล 393.5 การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล 40

Page 6: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

9

สารบัญ (ตอ)หนา

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 424.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 424.2 แหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 464.3 ความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 504.4 การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน 624.5 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการเรียน 74

การสอนของมหาวิทยาลัยเกริกบทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 77

5.1 สรุปผล 775.2 อภิปรายผล 805.3 ขอเสนอแนะ 81

บรรณานุกรม 84ภาคผนวก 89

ภาคผนวก ก แบบสอบถาม 90ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณสําหรับผูบริหาร 96ภาคผนวก ค แบบสัมภาษณสําหรับอาจารย 98ภาคผนวก ง ประวัติผูวิจัย 100

(5)

Page 7: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

10

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ 424.2 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ 434.3 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามคณะที่กําลังศึกษา 434.4 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามคุณวุฒิกอนเขาศึกษา 444.5 ขอมูลทั่วไปของผูกลุมตัวอยาง จําแนกตามภูมิลําเนา 444.6 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัว 454.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแหลงในการรับรูขอมูลขาวสาร

ความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามแหลงความรูตางๆ46

4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามแหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก

47

4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามแหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก

49

4.10 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 504.11 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภาพรวมและ

รายดาน51

4.12 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

52

4.13 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามดานความพอประมาณ

53

4.14 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามดานความมีเหตุผล

54

Page 8: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

11

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา4.15 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จําแนกตามดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี56

4.16 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานความรู

58

4.17

4.184.19

แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามดานความมีคุณธรรมแสดงสภาพทั่วไปของผูใหสัมภาษณแสดงการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน

60

6272

Page 9: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

12

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพ หนา2.1 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย 34

Page 10: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

13

บทท่ี 1บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ในการพัฒนาประเทศไทยที่ผานมา สวนใหญเนนพัฒนาดานเศรษฐกิจเปนอันดับแรก ดวยความเชื่อที่วา เมื่อพัฒนาเศรษฐกิจดีจะสงผลใหการพัฒนาดานอ่ืนๆ ดีตามไปดวย แตในความจริงกลับไมเปนเชนน้ัน โดยจะเห็นไดจากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในป พ .ศ.2540 ทําใหประเทศและสังคมออนแอ ผลของการพัฒนาที่ขาดความสมดุลกับการพัฒนาคุณภาพของประชากร ทั้งทางดานจิตใจคุณธรรม จริยธรรม กอใหเกิดผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของคนในประเทศ ทําใหเกิดปญหาตาง ๆตามมา ไมวาจะเปนปญหาความยากจน ยาเสพติด อาชญากรรม สิ่งแวดลอม ความไมปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยเฉพาะอยางยิ่ง เกิดปญหาทางเศรษฐกิจชองวางระหวางคนรวยและคนจนที่มากขึ้นเปนลักษณะ รวยกระจุก จนกระจาย ประชาชนไมสามารถพึ่งพาตนเอง ชีวิตผูกติดกับระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ภาคเกษตรกรรมหรือชุมชนประสบปญหาหน้ีสิน คนเมืองก็มีปญหาสังคมมากมาย สงผลใหสถาบันครอบครัวและชุมชนออนแอกลายเปนปญหาที่ซับซอนตามมา

รัฐบาลไดพยายามสงเสริมสนับสนุนใหสังคมและชุมชนมีความเขมแข็ง โดยสามารถพึ่งตนเองได และสงเสริมสนับสนุนใหชุมชนเขารวมในการสรางเศรษฐกิจของประเทศใหมีความมั่นคงอยางสมดุลและยั่งยืน จึงถือวาเปนทิศทางการพัฒนาที่ใหความสําคัญกับชุมชนและมองฐานรากของประเทศเปนสําคัญ จากการที่รัฐบาลไดตระหนักถึงสถานการณและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงไดมอบหมายใหสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติศึกษาแนวทางปรับโครงสรางเศรษฐกิจและการผลิตของประเทศใหเหมาะสม มีความสมดุลพรอมรับผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ของสถานการณโลก จึงไดมีมติเห็นชอบกับกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมของประเทศในระยะ 5 ป (พ.ศ.2550-2554) ซึ่งมีเปาหมายการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ดังน้ันยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนในทุกมิติอยางสมดุลทั้งจิตใจ รางกาย ความรูและทักษะ ความสามารถ เพื่อใหเพียบพรอมทั้งดาน “คุณธรรม”และ”ความรู” โดยอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”มาเปนแนวทางปฏิบัติ เพื่อมุงสู”สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน”

1

Page 11: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

14

จากนโยบายและแนวทางการดําเนินงานของรัฐบาลดังกลาวน้ัน ทําใหทุกหนวยงานที่เกี่ยวของมุงเนนการดําเนินงานเพื่อการเสริมสรางคุณธรรมนําความรู โดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนตัวขับเคลื่อนเพื่อยกระดับความเปนอยูและเพิ่มความสุขใหกับประชาชนซึ่งเปนฐานรากของการพัฒนาประเทศที่มั่นคงและยั่งยืน

“เศรษฐกิจพอเพียง” (Sufficiency Economy) เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 30 ป ต้ังแตกอนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ ในป พ.ศ.2540 เพื่อใหประชาชนชาวไทย ใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตและปฏิบัติตน ทรงเนนทางสายกลาง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ระบบภูมิคุมกันความรอบรู ความรอบคอบ ความซื่อสัตยสุจริต ความอดทน และความเพียร มีสติ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปรียบเสมือนเสาหลักสําคัญของสังคมไทยที่สามารถนําไปประยุกตใชในบริบทตาง ๆ ไมวาจะเปนการบริหารงานระดับประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม การบริหารจัดการองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน จนกระทั่งการดําเนินชีวิตในระดับครอบครัวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปใชไดกับคนทุกวัยและทุกศาสนาได เน่ืองจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักปรัชญาที่เปนจริง สิ่งสําคัญของการดําเนินตามครรลองของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การใชชีวิตอยางพอเพียง ซึ่งสอดคลองกับหลักคําสอนของทุกศาสนาที่ใหดําเนินชีวิตตามกรอบคุณธรรม ไมทําการใด ๆ ที่เบียดเบียนตนเองหรือผูอ่ืน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมุงเนนใหเกิดการพิจารณาอยางรอบดาน มีความรอบคอบและความระมัดระวังในการวางแผนและการดําเนินงานทุกขั้นตอน เพื่อมิใหเกิดความเสียหายตอการพัฒนาและบริหารประเทศ เปนการพัฒนาที่คํานึงถึงการมีรากฐานที่มั่นคงแข็งแรง สรางการเจริญเติบโตอยางมีลําดับขั้นตอน สามารถยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งดานกายและจิตใจควบคูกันไปในขณะเดียวกัน ก็ตองสรางระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดี พรอมตอการเปลี่ยนแปลงในแงที่ไมดีและไมอาจหลีกเลี่ยงได เพื่อจํากัดผลกระทบใหอยูในระดับที่ไมกอความเสียหาย หรือไมเปนอันตรายรายแรงตอประเทศ ทําใหการพัฒนาและบริหารประเทศยังคงดําเนินตอไปได การพิจารณาวาสิ่งใดควรรับหรือไมควรรับภายใตการเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกาภิวัตนเปนเคร่ืองชี้ใหเห็นถึงคุณลักษณะของความพอประมาณ ในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ไมใชการจํานนตอสภาพของโลกาภิวัตน ที่ตองรับการเปลี่ยนแปลงใด ๆทั้งหมด ในขณะเดียวกัน ก็ไมใชการปฏิเสธวาไมเอาโลกาภิวัตนทั้งหมด หนทางที่จะพิจารณาเชนน้ีไดผูบริหารประเทศและประชาชนในประเทศตองมีความสามารถในการพิจารณาเหตุและผล คือ การรูถึงเหตุปจจัยที่เกี่ยวของทั้งหมด และการรูถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจหรือการกระทําน้ัน ๆ

Page 12: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

15

อยางครบถวน กอนที่จะตัดสินใจลงมือทําเพื่อปองกันไมใหเกิดความผิดพลาดหรือใหมีโอกาสเกิดความผิดพลาดขึ้นนอยที่สุด ความสามารถในการพิจารณาเหตุและผลน้ี จะตองอาศัยเงื่ อนไขความรูและเงื่อนไขคุณธรรมของผูบริหารประเทศและประชาชนในฐานะเจาของประเทศ

จากที่ไดกลาวมาแลวขางตน ปรากฏวาปจจุบันภาครัฐบาล และภาคเอกชนตางต่ืนตัวรับแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกันอยางแพรหลาย แตแนวทางการดําเนินตามนโยบายเศรษฐกิจพอเพียงมักจะพบเห็นมากในสังคมชนบท เกษตรกรรม ดังปรากฏศูนยเศรษฐกิจพอเพียงมากมาย มีทั้งศูนยอบรมใหความรู และศูนยปฏิบัติ แตก็ยังมีประชาชนจํานวนไมนอย ไมวาจะเปนขาราชการหรือประชาชนทั่วไปยังไมมีความเขาใจในนโยบายเศรษฐกิจพอเพียงอยางแทจริง สวนใหญจะเขาใจวาเปนการทําเกษตรกรรมผลิตภัณฑพื้นบาน ทองถิ่น แบบเลี้ยงตนเอง พอเพียงสําหรับบริโภคและจําหนายแบบพออยูพอกิน แบบชาวไรชาวนาหรือเปนรายไดเสริม แตไมทราบวาเศรษฐกิจพอเพียงมีความหมายและขอบเขตกวาง ประยุกตไดกับเศรษฐกิจสาขาอ่ืน ๆ เชน ในภาคอุตสาหกรรมก็สามารถนํามาประยุกตใชได

ประชาชนหลายกลุมขาดความรูความเขาใจที่จะนําไปสูการปฏิบัติ ทําใหละเลยและเสียโอกาสหรืออาจนําไปปฏิบัติอยางไมถูกตอง โดยเฉพาะเยาวชนที่เปนกําลังของชาติในอนาคต เยาวชนที่กําลังศึกษาขั้นอุดมศึกษาและกําลังจะจบการศึกษาเพื่อนําความรูความสามารถของตนไปใชในการพัฒน าประเทศ ไดมีการรับรูแนวทางมากนอยเพียงใด แมในขณะน้ียังไมไดมีสวนรวมโดยตรงในการพัฒนาประเทศ หรือมีสวนรวมนอย แตตอไปบุคคลเหลาน้ีจะเปนกําลังสําคัญของประเทศ เปนตัวจักรที่นําประเทศไปสูทิศทางแหงการพัฒนา

ดวยเหตุน้ีสถานศึกษาจึงมีสวนสําคัญที่จะตองพัฒนานักศึกษาใหมีความรูความเขาใจ มีลักษณะนิสัย เสริมสรางจิตสํานึกใหเกิดการเรียนรูในวิถีทางที่ถูกตอง และสามารถดํารงตนอยูในสังคมไดอยางปกติสุข การนอมนํา “หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อเปนการนําเสนอแนวคิด หลักการที่เปนระบบเปนการเสริมสรางใหนักศึกษามีจิตสํานึกในคุณธรรมคูความรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทนความเพียร มีสติปญญาและวามรอบคอบใหเกิดสมดุลและพรอมรองรับตอการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วจากสังคมโลกไดเปนอยางดี โดยเหตุที่มหาวิทยาลัยเกริกสถาบันอุดมศึกษาเอกชน มุงเนนในการจัดการศึกษาเฉพาะดานโดยเฉพาะทางดานสังคมศาสตร และเปดสอนหลักสูตรทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโทและปริญญาเอกในหลายสาขาวิชา จึงเปนอีกหนวยหน่ึงในสังคมที่จะขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยสงเสริมการประยุกตหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู เพื่อเปนการสรางความเขาใจที่ถูกตองและชัดเจน

Page 13: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

16

ผูวิจัยในฐานะผูรับผิดชอบตอการเรียนการสอน ตระหนักถึงความสําคัญของการนอมนําหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตในการดําเนินชีวิตทั้งสวนตัวและสังคม จึงมีความสนใจศึกษาเพื่อหาคําตอบถึงระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา รวมทั้งการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกริก โดยคาดหวังวาการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนของอาจารยผูสอนจะทําใหผูเรียนไดมีความรูความเขาใจไดดี สามารถนําไปปรับใชในการดําเนินชีวิต และปรับตัวใหพรอมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตนตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย

1.2.1 เพื่อวัดความรู เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเกริก

1.2.2 เพื่อศึกษาการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของอาจารยในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

1.3 ขอบเขตของการวิจัย

การวิจัยการวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตการวิจัยไว ดังน้ี

1.3.1 ดานเน้ือหา ศึกษาระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี และศึกษาการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของอาจารยในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

1.3.2 ดานพื้นท่ี มหาวิทยาลัยเกริก แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร1.3.3 ดานประชากร ไดแก นักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นป ประจําปการศึกษา

2553 และอาจารยผูสอนหลักสูตรปริญญาตรี วิชาดานสังคมศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตรและกลุมวิชาสังคมศาสตร

1.3.4 ดานระยะเวลา ใชเวลาในการศึกษาทั้งสิ้น 12 เดือน นับจากวันที่ไดรับการอนุมัติโครงการวิจัย เปนตนไป

Page 14: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

17

1.4 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1.4.1 ทราบถึงระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเกริก

1.4.2 ทราบถึงการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของอาจารยในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

1.4.3 เพื่อนําผลการศึกษาไปเปนแนวทางพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรีและปรับปรุงคุณภาพของการศึกษาในดานเน้ือหา เพื่อปลูกฝงใหนักศึกษามีความรูและคุณธรรม

1.4.4 สามารถนําองคความรูที่ไดจากการสังเคราะหความรูไปใชประโยชนภาคทฤษฎี เพื่อจะไดกําหนดแนวทางการพัฒนาบนพื้นฐาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอยางชัดเจนมากขึ้น

1.4.5 เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกเยาวชนใหเห็นถึงประโยชนจากการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดําเนินชีวิต และมีภูมิคุมกันที่ดีกอนเขาสูการปฏิบัติงานจริง

1.4.6 เพื่อประกอบการประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัย ตามกรอบนโยบาย วัตถุประสงค เปาหมายในการดําเนินงานตามแผนพัฒนา ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2550-2555) ของมหาวิทยาลัยเกริก แผนกลยุทธดานความเขาใจและแนวทางปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1.5 นิยามศัพทท่ีเก่ียวของ

นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก หมายถึง นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ภาคตน ปการศึกษา 2553 ทุกคณะ ทุกชั้นป

การรับรูขอมูลขาวสารจากแหลงภายนอก หมายถึง การรับรูขอมูลขาวสารปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ระดับปริญญาตรีจากแหลงภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก ไดแก วิทยุ โทรทัศนหนังสือพิมพ นิตยสาร/วารสาร อินเตอรเน็ต เปนตน

การรับรูขอมูลขาวสารจากแหลงภายใน หมายถึง การรับรูขอมูลขาสารปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ระดับปริญญาตรีจากแหลงภายในมหาวิทยาลัยเกริกไดแกนโยบาย/แผนงาน การประชุม/สัมมนาวิชาการ การอภิปรายผลงานวิชาการ งานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการจากหองสมุด เปนตน

Page 15: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

18

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานใหแกพสกนิกรชาวไทยเพื่อแนะแนวทางในการดําเนินชีวิตของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลามุงเนนการรอดพนวิกฤตการณตางๆไปได เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา ประกอบดวย 3 คุณลักษณะ ไดแก ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี และ 2 เงื่อนไข คือเงื่อนไขความรูกับเงื่อนไขความมีคุณธรรม

ความรู หมายถึง การรับรู ความจําและเขาใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริกในเน้ือหาสาระหรือขอเท็จจริง และสามารถแปลความหมาย ตีความหรือสรุปความสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อนําไปประยุกตไดอยางถูกตองเหมาะสม

ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ห ม า ย ถึ งกระบวนการจัดการเรียนการสอนไดแก การจัดแผนการเรียนการสอน วิธีการสอน การจัดกิจกรรม การใชสื่อประกอบการสอนและการวัดผลประเมินผล และการใหความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของอาจารยผูสอนแกนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

อาจารย ผูสอนระดับปริญญาตรี วิชาดานสังคมศาสตร หมายถึง อาจารย ผูสอนวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชามนุษยศาสตร และกลุมวิชาสังคมศาสตร ที่เปดสอนในปการศึกษา 2553 คือ

1) วิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสารสนเทศ2) วิชามนุษยกับอารยธรรม3) วิชาปรัชญาสังคมและจริยธรรมทางสังคม4) วิชาบัณฑิตในอุดมคติไทย5) วิชาสังคมกับการปกครอง6) วิชาจิตวิทยาทั่วไป7) วิชาสังคมกับเศรษฐกิจ8) วิชาเศรษฐกิจพอเพียง9) วิชามนุษยสัมพันธและการพัฒนาบุคลิกภาพ10) วิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

Page 16: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

19

บทที่ 2แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เก่ียวของ

การวิจัยเร่ือง การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ในบทน้ีผูวิจัยไดนําเสนอแนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อสรางเปนกรอบแนวคิดในการศึกษา ดังรายละเอียดตอไปน้ี

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน2.3 แนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง2.4 แนวคิดและหลักการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตในการจัดการเรียนการสอน2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.6 มหาวิทยาลัยเกริก การจัดการศึกษา ระดับปริญญาตรี2.7 กรอบแนวคิดในการศึกษา2.8 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับความรู

2.1.1 ความหมายของความรูมีนักวิชาการและนักวิจัยหลายทานไดใหความหมายของความรู ไวดังน้ี

พจนานุกรมทางการศึกษา (Dictionary of Education: 1959) ไดใหความหมายของความรูวาเปนขอเท็จจริง ความจริง กฎเกณฑ หรือขอมูลตางๆที่มนุษยไดรับและรวบรวมสะสมไว

อุทุมพร ทองอุทัย (2523 : 68) ไดใหความหมายความรู คือ พฤติกรรมและสภาพการตางๆซึ่งเนนการจําไมวาจะเปนการระลึกถึงหรือการระลึกไดก็ตามเปนสภาพการณที่เกิดขึ้ นสืบเน่ืองจากการเรียนรูโดยเร่ิมตนจากการรวมสาระตางๆ เหลาน้ันจนกระทั่งพัฒนาไปสูขั้นที่มีความสลับซับซอนยิ่งขึ้นไป

Page 17: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

20

อนันต ศรีโสภา (2522 : 11-15) ใหความหมายของความรูและความเขาใจวา ความรู(Knowledge) หมายถึง ความจําในสิ่งที่เคยมีประสบการณมากอน เปนขอเท็จจริง กฎเกณฑและรายละเอียดตางๆ ที่ไดรับจากการศึกษา คนควา สังเกต รวบรวมเปนความจําเก็บไว และแสดงออกมาโดยการจําได ซึ่งสามารถสังเกตและวัดได โดยแบงความรูออกเปน 3 ดาน คือ

ดานที่ 1 ความรูเกี่ยวกับเน้ือหาวิชาเฉพาะเปนความรูเกี่ยวกับความหมายของเน้ือหา และความรูเกี่ยวกับความจริง เชน เวลา เหตุการณ บุคคล สถานที่ แหลงกําเนิด ฯลฯ

ดานที่ 2 ความรูเกี่ยวกับวิธีและการดําเนินงานที่เกี่ยวของสิ่งใดสิ่งหน่ึงโดยเฉพาะ ประกอบดวย

2.1) ความรูเกี่ยวกับลักษณะแบแผนตาง ๆ2.2) ความรูเกี่ยวกับแนวโนมและการจัดลําดับ2.3) ความรูเกี่ยวกับการจําแนกและแบงประเภทของสิ่งตาง ๆ2.4) ความรูเกี่ยวกับระเบียบ วิธีการดําเนินงานของสิ่งใดสิ่งหน่ึง

ดานที่ 3 ความรู เกี่ยวกับการรวบรวมแนวความคิด และโครงสรางของสิ่งใดสิ่งหน่ึงประกอบดวย

3.1) ความรูเกี่ยวกับกฎและการใชกฎในการบรรยายคุณคาหรือพยากรณ หรือตีความของสิ่งที่เราสังเกตเห็น

3.2) ความรูเกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสราง

สันสกฤต มุนีโมไนย (2551 : 7) ไดใหความหมายไววา “ความรู” หมายถึง ความสามารถรักษาไวซึ่งขอเท็จจริง เร่ืองราว กฎเกณฑ สถานที่ สิ่งของ หรือบุคคล ขาวสารที่เปนประโยชนเกี่ยวของ ซึ่งเกิดจากการสังเกต จากประสบการณทั้งทางตรงและทางออม สวน “ความเขาใจ” หมายถึงความสามารถในการนําความรู ความจําไปดัดแปลงปรับปรุง เพื่อใหสามารถจับใจความ ตีความ อธิบายจัดกลุม จัดลําดับ จัดระบบ หรือทําการเปรียบเทียบขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นได

Good, Carter Victor, Merkel (1959) ไดใหความหมายวา ความรูเปนขอเท็จจริง ความจริงกฎเกณฑหรือขอมูลตางๆที่มนุษยไดรับและรวบรวมสะสมไว

Bloom และคณะ (อางถึงใน ศิริพรรณ อัศวินวงศ , 2544 : 21-2 )อธิบายวาความรูเปนผลการเรียนรูที่ทําใหผูเรียนมีความรูความสามารถและทักษะทางสมอง (Intellectual ability ) เปนพฤติกรรมการเรียนรูที่แสดงออกทางสมอง ซึ่งไดแบงพฤติกรรมที่แสดงวาเปนผูมีความรูความคิด ออกเปน 6 ขั้นดังน้ี

Page 18: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

21

ขั้นที่ 1 ความรู-ความจํา (Knowledge) หมายถึง การจําและการระลึกไดที่มีตอความคิด วัตถุและปรากฏการณตางๆ

ขั้นที่ 2 ความเขาใจ (Comprehension) หมายถึง ความรูความสามารถและทักษะในการแปลการตีความ และการสรุปอางอิง ซึ่งจะตองเขาใจ จับใจความสําคัญของเร่ือง และสามารถดัดแปลงของที่พบเห็นที่คลายกับของเกาที่เคยประสบมาแลวได

ขั้นที่ 3 การประยุกต (Application) หมายถึง ความรูความสามารถในการนําความรูความเขาใจในเน้ือเร่ืองตางๆที่ไดเรียนรูแลวไปใชในสถานการณตางๆทั้งในสถานการณจริงและสถานการณจําลองสามารถนํากฎเกณฑ หลักการและวิธีการที่ไดเรียนรูมาไปใชแกปญหา หรือทําความเขาใจในสถานการณใหมได

ขั้นที่ 4 การวิเคราะห (Analysis) หมายถึง ความรูความสามารถในการจําแนกเร่ืองตางๆใหกระจายออกเปนหนวยยอยๆเพื่อใหไดลําดับชั้นของความคิดหรือความสัมพันธระหวางความคิดที่ชัดเจน

ขั้นที่ 5 การสังเคราะห (Synthesis) หมายถึง ความรูความสามารถในการผสมผสานสวนยอยๆเขาเปนเร่ืองเดียวกัน หรือนํามาจัดเรียบเรียงขึ้นใหมในโครงสรางหรือรูปแบบที่ไมเหมือนเดิม

ขั้นที่ 6 การประเมินผล (Evaluation) หมายถึง ความรูความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับคุณคาของเน้ือหา และวิธีการตามกฎเกณฑ

2.1.2 การวัดความรูชวาล แพรัตกุล (2526 : 201-224) ไดกลาวถึงการวัดความรูไววา การวัดความรูเกี่ยวกับ

คําศัพทและนิยาม การวัดวา “คํา” หรือ “กลุมคํา” หรือความหมาย หรือคําแปลของเคร่ืองหมาย รูปภาพตัวยอ และสัญลักษณตางๆน้ัน คืออะไรมีความหมายทั่วไป หรือความหมายเฉพาะว าอยางไร มีคุณสมบัติอะไร

การวัดความรูกับกฎและความจริง คือการวัดวา สูตร กฎเกณฑ ความจริง ขอเท็จจริง เร่ืองราวใจความหรือเน้ือความสําคัญๆ ไดมีการพิสูจนหรือการยอมรับแลว เปนอยางไร

การวัดความรูในวิธีการดําเนินการ คือ การวัดความจํา หรือกระบวนการและแบบแผนวิธีทํางานของเร่ืองราวตางๆ เหตุการณ วามีที่มาอยางไร ใชวิธีการใด มีการดําเนินงานเปนขั้นๆ อยางไรมิไดมุงที่จะวัดถึงการนําไปปฎิบัติกันมาอยางไร เขาใจอยางไร

การวัดความรูเกี่ยวกับระเบียบแบบแผน คือการวัดวา แบบแผน แบบฟอรมตามจารีตธรรมเนียมประเพณี ที่เคยปฎิบัติกันมาอยางไร เขาใจอยางไร

Page 19: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

22

การวัดความรูเกี่ยวกับลําดับชั้นและแนวโนม คือ การวัดความรู ในเหตุการณตางๆมีความเคลื่อนไหว โนมเอียงในทิศทางใด ตามลําดับเวลาอยางไร และเร่ืองตางๆน้ันเกิดขึ้นกอนหลัง และดําเนินเปนขั้นๆเรียงติดตอกันมาอยางไร

การวัดความรูเกี่ยวกับการจําแนกประเภท คือ การวัดที่เกี่ยวกับการจัดประเภทสิ่งของ เร่ืองราวเหตุการณตางๆ ตามประเภท ตามชนิด ตามลําดับกอนหลังเปนอยางไร

การวัดความรูเกี่ยวกับเกณฑ คือการวัดความจําในกฎเกณฑตางๆ ที่ใชในการวินิจฉัย และตรวจสอบขอเท็จจริงตางๆวาจําไดหรือไมและควรใชกฎเกณฑหรือหลักการใด

การวัดความรูเกี่ยวกับวิธีดําเนินงาน คือ การวัดวา การไดผลลัพธตางๆ น้ัน ตองใชเทคนิคอะไรมีวิธีปฎิบัติอยางไร มีกระบวนการและกรรมวิธีตางๆที่ใชพิสูจนหรือหาความจริงน้ันๆวาจะตองดําเนินการอยางไร

การวัดความรูเกี่ยวกับความรูรวบยอดในเน้ือเร่ือง คือ การวัดความจําของขอสรุปหรือหลักการใหญๆ ของเน้ือหาไดหรือไม

การวัดความรูเกี่ยวกับหลักการ และการขยายหลักการ คือ การวัดวาสามารถจําหลักการตางๆอันเปนสาระสําคัญของเน้ือหาไดหรือไม

การวัดความรูเกี่ยวกับทฤษฎีและโครงสราง คือการวัดความสามารถในการระลึกได และนําความสัมพันธจากทฤษฎีและหลักวิชาการตางๆ มาสรุปเปนเน้ือหาความใหญๆ หรือรวมกันเปนเร่ืองเดียว ไดหรือไม

จากคําจํากัดความที่นักวิชาการและนักวิจัยไดกลาวมา ผู วิจัยจึงสรุปความหมายของ ความรูหมายถึง การรับรู จําและเขาใจในเร่ืองตางๆท่ีผานประสบการณจากการฟง การสังเกต การไดอานการศึกษาประกอบข้ึนจากความรูตางๆ ท่ีไดเคยประสบมา เกี่ยวกับลักษณะของสิ่งน้ันๆจนเกิดการตีคาของสิ่งน้ันๆ กับความรูท่ีมีอยู

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน

การจัดการเรียนการสอน เปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการดําเนินงานในสถานศึกษา จากการศึกษาความหมายของการจัดการเรียนการสอนมีนักวิชาการและนักวิจัยหลายทานไดใหความหมายของการจัดการเรียนการสอนไวดังน้ี

ทิศนา แขมณี (2545; อางถึงใน เทวิล ศรีสองเมือง, 2551 : 16 ) ไดใหความหมายของการจัดการเรียนการสอนวาเปนกระบวนการจัดการดานการเรียนการสอน โดยทั้งผูสอนและผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน การจัดการเรียนการสอนจะเนนการมีสวนรวมของผูเรียน โดยพิจารณาจากหลักสูตร ผูสอน ผูเรียน วิธีสอน และการประเมินผล รวมทั้งสื่อการเรียนการสอน

Page 20: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

23

ธวัช เติมญาณ (2548; อางถึงใน เทวิล ศรีสองเมือง,2551 : 16 ) ไดสรุปความหมายของการจัดการเรียนการสอนไววา การจัดการเรียนการสอน หมายถึง แบบแผนหรือลักษณะของการดําเนินการที่แสดงถึงความสัมพันธของกระบวนการในการจัดใหมีการเรียนการสอน ซึ่งประกอบดวย ดานหลักสูตร ดานการเรียนการสอน ดานผูสอน ดานผูเรียน ดานการวัดและประเมิน และดานปจจัยเกื้อหนุน ทั้งน้ีเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งผูเรียนและผูสอน

วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2543; อางถึงใน เทวิล ศรีสองเมือง, 2551 : 16 ) กลาวถึง การจัดการเรียนการสอนวา หมายถึง กระบวนการดําเนินงานในสถานศึกษา เพื่อใหเกิดเปาหมายคือ ผูเรียนซึ่งมีองคประกอบที่เกี่ยวของไดแก หลักสูตร วิธีการเรียนการสอน การประเมินผล เปนตน

Garnge and Briggs (1992; อางถึงใน เทวิล ศรีสองเมือง, 2551 : 16) อธิบายถึงการจัดการเรียนการสอนอยางเปนระบบ หมายถึง การวางหลักสูตร (System level) ระดับวิชา (Course level) ระดับบทเรียน (Lesson level) และระดับการนําไปปฏิบัติ (Implementation level)

Ellis and Hurs (อางถึงใน เทวิล ศรีสองเมือง,2551 : 16) กลาวถึง การจัดการเรียนการสอนวาหมายถึง โครงสรางที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางองคประกอบตางๆที่ใชจัดกระทําในการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหเกิดผลที่ต้ังเปาหมายไวกับผูเรียน

จากความหมายของการจัดการเรียนการสอน สรุปไดวา การจัดการเรียนการสอน หมายถึงกระบวนการจัดการเรียนการสอน ท่ีผูสอนและผูเรียน ไดมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน โดยเนนการมีสวนรวมของผูเรียน โดยพิจารณาจากหลักสูตร ผูสอน ผูเรียน วิธีสอน และการประเมินผล รวมท้ังสื่อการสอน ท้ังน้ีเพื่อใหผูเรียนไดรับประโยชนจากการจัดการเรียนการสอนอยางสูงสุด

2.3 แนวคิดเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระดํารัสเพื่อชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 30 ป ต้ังแตกอนวิกฤติการณทางเศรษฐกิจและเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางในการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนทามกลางความเปลี่ยนแปลงจากสถานการณตาง ๆ

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ งภายนอกและ

Page 21: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

24

ภายใน ทั้งน้ีจะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง ในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญาและความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทั้งทางวัตถุ สังคม และสิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี

หลักการพิจารณาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสุเมธ ตันติเวชกุล (2549 : 112) กลาวถึง หลักการพิจารณาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไว5

สวน ดังน้ี1) กรอบแนวคิด เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเปน

โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤติเพื่อความมั่นคง และยั่งยืนของการพัฒนาตอไป

2) คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดในทุกระดับโดยเนนการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยางเปนขั้นตอน

3) คํานิยาม ความพอเพียงจะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะ (3 หวง) ดวยกันคือ3.1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม

เบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูในระดับพอประมาณ3.2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะตอง

เปนไปอยางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทําน้ัน ๆ อยางรอบคอบ

3.3) การมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลและไกล

4) เง่ือนไข ประกอบดวย 2 เงื่อนไข คือ ความรู และคุณธรรม4.1) เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ที่เกี่ยวของอยาง

รอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

4.2) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักในคุณธรรมมีความซื่อสัตยสุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

Page 22: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

25

5) แนวทางปฏิบัติ และ/ หรือผลที่คาดวาจะไดรับจากการนําตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชคือ การพัฒนาและยั่งยืนพรอมรับตอการเปลี่ยนแปลงในทุกดาน ทั้งทางดานเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดลอม ความรูและเทคโนโลยี

เศรษฐกิจพอเพียงเปนการนําแนวทางการปฏิบัติของทฤษฎีใหม มาเปนแนวทางในการพัฒนาที่นําไปสูความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับตาง ๆ อยางเปนลําดับขั้นตอน โดยลดการผันแปรของธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยตาง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันที่ดี มีความรู ความเพียรและความอดทน สติและปญญา การชวยเหลือซึ่งกันและกัน และความสามัคคี ซึ่งองคประกอบหลักของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมีอยู 3 ประการ

ประการแรก เปนระบบเศรษฐกิจที่ยึดหลักการที่วา “ตนเปนที่พึ่งแหงตน” โดยมุงเนนการผลิตพืชผลใหพอเพียงกับความตองการบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรกเมื่อเหลือพอจากการบริโภคพืชผลใหเพียงพอแลว จึงคํานึงถึงการผลิตเพื่อการคาเปนอันดับรองลงมาเปนการลดคาใชจาย กลาวโดยสรุปคือ เปนการสรางสิ่งอุปโภคบริโภคสิ่งที่เกิดขึ้นจากที่ดินของตนเอง เชน ขาว นํ้า ปลา ไก พืชผัก เปนตน

ประการท่ีสอง เศรษฐกิจแบบพอเพียงในการใหความสําคัญกับการรวมกลุมของชาวบานหรือองคกรของชาวบานโดยจะทําหนาที่เปนผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตาง ๆ ใหหลากหลายครอบคลุมทั้งทางเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรมการแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจคาขาย และเมื่อองคกรของชาวบานหรือชุมชนเหลาน้ีจะไดรับการพัฒนาใหเขมแข็งจากการรวมกลุมกัน ชวยเหลือซึ่งกันและกันรวมกันแกไขปญหาในทุก ๆ ดาน สงผลใหเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเติบโตอยางมีเสถียรภาพ

ประการท่ีสาม เศรษฐกิจแบบพอเพียงต้ังอยูบนพื้นฐานของความมีเมตตา ความเอ้ืออาทร และความสามัคคีของสมาชิกทุกคนในชุมชน สงผลถึงความมั่นคงของสถาบันครอบครัว สถาบันชุมชนความสามารถในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปญญาทองถิ่น รวมทั้งการรักษาไวซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทยใหคงอยูตลอดไป

จากแนวคิดดังกลาวสรุปไดวา เศรษฐกิจพอเพียงที่กลาวมาขางตนน้ัน สามารถนํามาใชเปนแบบอยางในการพัฒนาประเทศไทยในระยะยาวตอไป แมจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของสถานการณตาง ๆจะทวีความรุนแรงมากขึ้น แตหากนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในการดําเนินชีวิต ก็จะไมสงผลกระทบจากสถานการณหรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น คือ สามารถปรับตัวพรอมรับกับปญหาหรือเหตุการณตาง ๆ ไดตลอดเวลา โดยต้ังอยูบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง รวมทั้งมีการเอ้ืออาทรตอบุคคลอ่ืนในสังคม เศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวปฏิบัติตนซึ่งไมวาจะอยูในอาชีพใด ก็ตองยึดวิถีชีวิตไทยอยูแตพอมี พอกิน ไมฟุมเฟอย ไมยึดวัตถุเปนที่ต้ัง ยึดทางสายกลาง อยูกินตามฐานะ ใชสติปญญาในการ

Page 23: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

26

ดํารงชีวิต เจริญเติบโตอยางคอยเปนคอยไป ต้ังอยูบนหลักการ “รูรัก สามัคคี” ใชสติปญญาปกปองตนเองไมใหหลงกระแสโลกาภิวัตน โดยไมรูถึงเหตุและผลที่ตามมาตามสภาพแวดลอมของไทย ใหรูจักการแยกแยะสิ่งตาง ๆ ตามสภาพความเปนจริงของบานเมือง และสังคมไทยในปจจุบัน

2.4 แนวคิดและหลักการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตในการจัดการเรียนการสอน

การปลูกฝงคานิยมเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง โดยสอดแทรกในหลักสูตรการเรียนการสอนจะเปนผลใหผูเรียนไดพัฒนาอยางเต็มศักยภาพเปนการพัฒนาอยางยั่งยืนและสมดุล พรอมรับการเปลี่ยนแปลงในทุกๆดาน ภายใตกระแสโลกาภิวัตนในปจจุบัน การจัดการเรียนการสอนโดยนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชเปนแนวทางต้ังแตระดับรัฐบาลจนถึงระดับสถานศึกษามุงหวังใหการพัฒนาการเรียนการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งนโยบายและแนวทางก ารขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา ประกอบดวย

2.4.1 แนวนโยบายในการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเขาสูระบบการศึกษา

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเร่ิมเขามามีบทบาทในแผนและทิศทางในการพัฒนาประเทศ จนไดรับการบรรจุไวในแผนพัฒนาการศึกษา เร่ิมจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544)ใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม และมุงเนนใหคนเปนศูนยกลางการพัฒนา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ไดอัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานําทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคูไปกับกระบวนทัศนการพัฒนาแบบบูรณาการเปนองครวมที่มีคนเปนศูนยกลางการพัฒนา ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554) เพื่อใหเปนไปตามพันธกิจในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพพรอมคุณธรรม ภายใตยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรูในระยะ 5 ป ในชวงแผนพัฒนาฯฉบับที่ 10 ใหความสําคัญกับการพัฒนาคนใน 3 มิติ คือการพัฒนาคนใหมีคุณธรรมนําความรูและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ในขณะเดียวกันมุงเสริมสรางคนไทยใหมีสุขภาวะที่ดี ควบคูกับการเสริมสรางคนไทยใหอยูรวมกันอยางสันติสุข การคุมครองทางเศรษฐกิจและสังคมกระบวนการยุติธรรม การคุมครองสิทธิเสรีภาพ และมีความปลอดภัยในการดําเนินชีวิติ

Page 24: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

27

2.4.2 การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 ( พ.ศ.2550-2554) มุงเนนนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาประเทศ จึงจัดทํายุทธศาสตรเพื่อดําเนินโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนรูจักการใชชีวิตที่พอเพียงเห็นคุณคาของทรัพยากรตางๆฝกการรวมกับผูอ่ืนอยางเอ้ือเฟอเผ่ือแผและแบงปน มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอมและเห็นคุณคาของวัฒนธรรม คานิยมและเอกลักษณของความเปนไทย โดยมีหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการรวมกันรับผิดชอบเพื่อใหมีความตอเน่ืองและยั่งยืน นําสูวิถีประชาชน สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไดตามแนวพระราชดํารัส และนโยบายรัฐบาล การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษาและเยาวชน มีวิสัยทัศนของการขับเคลื่อน คือ สานเครือขาย ขยายความรู ควบคูประชาสัมพันธ โดยมีแนวทางในการขับเคลื่อน2 สวน คือสงเสริมการประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการใหบริการ/บริหารสถานศึกษา และสงเสริมการประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู ซึ่งประกอบดวยหลักสูตรและสาระเรียนรูในหองเรียน และสวนที่เรียนนอกหองเรียนที่มีคุณลักษณะและการจัดการที่สอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง

2.4.3 แนวทางการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

การจัดการเรียนการสอน เปนสิ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการดําเนินงานในสถานศึกษา การจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระยะแรก จึงเร่ิมจากการคนหาตัวอยางกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่เปนรูปธรรม กลาวคือ การจัดโครงการหรือกิจกรรมตามแนวทา งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถทําไดทั้งการเรียนรูในหองเรียนและการเรียนรูนอกหองเรียนผานกิจกรรมพัฒนาผูเรียน เพื่อเปนการสรางความเขาใจที่ถูกตองและชัดเจน เพื่อปลูกฝงใหเด็กและเยาวชนมีวิธีปรับเจตคติอุปนิสัย และพฤติกรรมที่สอดคลองกับการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดการเรียนการสอน มีแนวทางดังน้ี

โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษา (2550) เสนอแนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาผูเรียนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค ไวดังน้ี

1) การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาควรมีการพัฒนาหรือบูรณาการเน้ือหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเขาไปในหลักสูตรสถานศึกษา โดยพิจารณาปรับปรุงหรือเพิ่มเติม วิสัยทัศน เปาหมายและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ตามแนวทางหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงปรับปรุงและ

Page 25: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

28

เพิ่มเติมกลุมมาตรฐานการเรียนรู สาระการเรียนรู หนวยการจัดการเรียนรูและแผนการจัดการเรียนรูตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2) การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาควรจัดการเรียนการสอนตามเน้ือหาสาระที่กําหนดไวในหลักสูตรอยางสอดคลองกับวิถีชีวิตของผูเรียน เนนกระบวนการคิดวิเคราะห เนนการปฏิบัติจริง เพื่อนําไปสูการปฏิบัติตนที่เหมาะสมในชีวิตประจําวันและเชื่อมโยงสูครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติและสังคมโลก จัดกระบวนการเรียนรูโดยเนนการทดลอง ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนรูใหครอบคลุม 3 ดานไดแก ความรู ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค

3) การจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษา สถานศึกษาควรจัดบรรยากาศและสภาพแวดลอมภายในสถานศึกษาใหเปนแหลงเรียนรู กระบวนการเรียนรู ปลูกฝง หลอหลอมคุณลักษณะอันพึงประสงค และเอ้ือตอกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

4) การจัดระบบบริหารจัดการสถานศึกษา สถานศึกษาควรมีการจัดระบบการบริหารจัดการภายในสถานศึกษาตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เอ้ือตอการสงเสริมสนับสนุนการจัดกาศึกษา

5) การให ผูปกครองและชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสถานศึกษาควรใหผูปกครองและชุมชนเขามามีสวนรวมในการดําเนินการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในขั้นตอนสําคัญทุกขั้นตอน

6) การติดตามและประเมินผลการการจัดการศึกษา สถานศึกษาควรจัดใหมีการติดตามและประเมินผลการดําเนินการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยติดตามและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ติดตามและประเมินความเหมาะสมของการดําเนินการในกระบวนการและกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดบรรยากาศ และสภาพแวดลอม การจัดระบบการบริหารจัดการ การมีสวนรวมของผูปกครองและชุมชนในการจัดการศึกษาและการจัดใหมีการรายงานผลการดําเนินการทั้งการรายงานภายในและรายงานตอสาธารณชนและหนวยงานตนสังกัด

2.5 งานวิจัยท่ีเก่ียวของงานวิจัยเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดมีผูสนใจนําแนวคิดน้ีไปทําวิจัยในหลายแงหลาย

มุมดังรายละเอียดดังตอไปน้ี

ธนพล สมัครการ (2550) ไดศึกษาเร่ือง ความรูความเขาใจเศรษฐกิจพอเพียงหลังเขารวมโครงการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ : ศึกษากรณี ผูเขาอบรมพลังกายทิพยเพื่อสุขภาพ กรมขนสงทหารอากาศ กองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ ผลการศึกษาพบวา ผูเขาอบรม

Page 26: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

29

กอนเขารวมโครงการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ ผูเขาอบรมมีความรูความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยูในระดับคอนขางนอย และเมื่อผูอบรมเขารวมโครงการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทุกรายดานอยูในระดับมาก ซึ่งเรียงลําดับตามคาเฉลี่ยจากนอยไปมาก คือ (1) ความรูความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ (3) การยอมรับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สุมาลี จันทรชลอ และคณะ (2551) ไดวิจัยเร่ือง การศึกษาความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวมประชาชนกรุงเทพมหานครมีความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับพอใช คะแนนเฉลี่ยโดยรวม19.08 (ประมาณรอยละ 76) ผลการเปรียบเทียบระหวางประชาชนเพศชายกับเพศหญิง และระหวางประชาชนผูประกอบอาชีพพบวา ความแตกตางของความเขาใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงไมมีนัยสําคัญทางสถิติ การศึกษาพฤติกรรมการดําเนินชีวิตของประชาชนดานการใชจายพอประมาณมีพฤติกรรมอยูในระดับบอยคร้ังถึงประจํา ดานความรอบคอบมีพฤติกรรมอยูในระดับบอยคร้ัง ดานความมีเหตุผลมีพฤติกรรมอยูในระดับบอยคร้ัง ดานการชวยเหลือครอบครัวมีพฤติกรรมอยูในระดับบอยคร้ังยกเวนดานการมีสวนแกปญหาในครอบครัว นักเรียนมีพฤติกรรมระดับนานๆคร้ัง ประชาชนมีพฤติกรรมอยูในระดับบอยคร้ัง ถึงนานๆคร้ัง ดานการชวยเหลือสังคม ดานการใสใจสิ่งแวดลอมสวนดาน การพัฒนางานใหกาวหนา มีพฤติกรรมอยูในระดับนานๆคร้ัง

ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ดวยคารอยละ พบวาประชาชนสวนมาก มีความเห็นสอดคลองกันวา หลักเศรษฐกิจพอเพียงจะชวยพัฒนาสังคมไดและเห็นดวยที่ทุกครอบครัวตองทํางบประมาณคาใชจาย และเห็นดวยวาการดําเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจะทําใหสบายภายหลัง ประชาชนสวนมาก ไมเห็นดวยในประเด็นที่วา การดําเนินชีวิตตามห ลักเศรษฐกิจพอเพียง จะทําใหมีเพื่อนนอยลง ประเด็นของการทําการใดๆไมควรเสี่ยงตอการสูญเสียหรือผิดพลาดจนนาจะเปนอันตราย ไมเห็นดวยที่วาการพัฒนาประเทศตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงจะทําใหเศรษฐกิจชะลอตัว และไมเห็นดวยที่วา การขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจพอเพียงควรเปนของรัฐบาลและนักวิชาการ

พงศพิชญ วงศสวัสดิ์ (2551) ไดศึกษาเร่ืองความรูความเขาใจเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน พื้นที่จังหวัดเชียงราย พบวา ครูโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน สวนใหญเปนเพศชาย (รอยละ 84) มีอายุระหวาง 30-40 ป สถานภาพสมรส (รอยละ 89) การศึกษาตํ่ากวาปริญญาตรี (รอยละ 66) มีรายไดตอเดือนสูงกวา 12,000 บาท(รอยละ 56) และมีประสบการณในการทํางานระหวาง 10-12 ป (รอยละ48) นักเรียนโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนสวนใหญเปนเพศหญิง

Page 27: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

30

(รอยละ58) มีอายุระหวาง 12-15 ป (รอยละ 92) มีผลการเรียนระหวาง 2.00-3.00 (รอยละ70) และมีสมาชิกภายในครอบครัวระหวาง 4-5 คน (รอยละ 51) ผลการศึกษาระดับความรูความเขาใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของครูโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน สวนใหญรอยละ 89 มีความรูในระดับมากและรอยละ 81 มีความเขาใจในระดับมาก สวนนักเรียนพบวารอยละ 61 มีความรูในระดับมาก และรอยละ 44 มีความเขาใจในระดับมาก

ฐิติมน ทองพิมพ (2551) ไดศึกษาเร่ืองสภาพการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรูของครู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม ประกอบดวย 3 ดานคือ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และความมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี โดยแตละดานครอบคลุมทั้ง 4 องคประกอบ คือ การจัดทําแผนการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู การใชสื่อประกอบการเรียนรู และการวัดผลประเมินผลพบวา สภาพการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรูของครู โดยรวมมีคาเฉลี่ยระ ดับมากสวนแนวทางการใชปรัชญาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดการเรียนรู พบวาดานความมีเหตุผล ครูนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติในการจัดการเรียนรู โดยศึกษาคนควาความรูจากแหลงการเรียนรูมาใชเปนขอมูลในการตัดสินใจวางแผนการเรียนรูในรายวิชาที่สอน การจัดกิจกรรมที่หลากหลายพรอมอธิบายระเบียบกฎเกณฑ วิธีการเรียนการสอน มีการประยุกตใชสื่อประกอบการเรียนรูจากแหลงที่หางายใกลตัวนักศึกษา รวมทั้งมีการวัดผลประเมินผลตามมาตรฐานของหลักสูตร ดานความพอประมาณเนนการวางแผนการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู จะเนนใหนักศึกษามีสวนรวม รูจักประหยัดประยุกตการใชสื่อการเรียนรู และวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง ดานความมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี เนนใหนักศึกษาไดรูจักการวางแผนการศึกษาในอนาคต การจัดกิจกรรมการเรียนรูของครูผูสอนในแตละรายวิชา จะมีการสอดแทรกและเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมตามเน้ือหาของบทเรียน สื่อประกอบการเรียนรู ครูผูสอนจะเนนในเร่ืองกการเสริมแรงทางบวก โดยใช คําสอน คําพูดที่ใหขวัญและกําลังใจรวมทั้งการวัดผลประเมินผลจะเนนหนักในเร่ืองคุณธรรมควบคูไปกับความรู

วิไลพร วรจิตตานนท (2551)ไดทําการวิจัยเร่ือง ความรูความเขาใจและพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1)ศึกษาระดับความรูความเขาใจและระดับพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ค ณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2) ศึกษาความสัมพันธระหวางความรูความเขาใจกับพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรมสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง กลุมตัวอยาง เปนนักศึกษา ระดับปริญญาตรีชั้นปที่ 1 – ปที่ 4 ทุกสาขาวิชา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ

Page 28: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

31

ทหารลาดกระบัง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 จํานวน 294 คน และวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติคือคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาเฉลี่ยรอยละและสหสัมพันธ Pearson Product Moment ผลการวิจัยพบวา 1) นักศึกษาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังทุกสาขาวิชาและโดยรวมมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับปานกลาง มีพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับพอใช 2) ความรูความเขาใจของนักศึกษาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01

วิชัย รูปขําดี (2550) ไดเขียนบทความประกอบการสัมมนาเร่ือง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาชุมชน ขอเขียนเร่ืองน้ีมุงอธิบายถึงความสัมพันธระหวางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาชุมชน รวมถึงการประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเขากับงานดานการพัฒนาชุมชน ในการน้ีไดนําเสนอประเด็นเกี่ยวกับสถานภาพทางวิชาการของเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาชุมชน และกรณีศึกษาการประเมินผลศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน

ในเร่ืองสถานภาพขององคความรูเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงในเชิงทฤษฎีพัฒนา จําเปนตองพิจารณาถึงองคประกอบ 5 ประการของทฤษฎีไดแก ฐานคติ หนวยวิเคราะห ระดับการไตรตรองอุดมการณ และความเปนจริงทางสังคม

ในกรณีที่นําเศรษฐกิจพอเพียงไปใชวิเคราะหกับงานการพัฒนาชุมชน หนวยวิเคราะห ไดแกหนวยวิเคราะหระดับชุมชน และการกําหนดยุทธศาสตรของการพัฒนาชุมชนตาง ๆ ซึ่งตองทําการวิเคราะหเชิงศักยภาพของชุมชนการวิเคราะหสาระสําคัญที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะอยางยิ่งแนวคิดดานการพัฒนาสังคมและอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ซึ่งสงผลใหเกิดความสําเร็จหรือลมเหลวในการพัฒนาชุมชน การพัฒนาในชวง 50 ปที่ผานมา ไดเนนการพัฒนาเชิงการผลิตและการบริโภคขนาดใหญ มิใชการพัฒนาแบบเนนโครงสรางพื้นฐานเชิงสถาบัน เชน ทัศนคติ คานิยมที่มีคุณคา และภูมิปญญาของสังคม เปนตน ตลอดจนมิใชการพัฒนาชุมชนในฐานะที่เปนทองถิ่น และมุงบรรลุเปาหมายเชิงการเชิดชูศักด์ิศรีของชาวชุมชน แสดงใหเห็นวาโลกาภิวัตนน้ันไดครอบงําความเปนทองถิ่นเกือบทั้งหมดไปแลว และคานิยมของมนุษยไดเปลี่ยนจาก “คานิยมฐานชุมชน” ไปเปน “คานิยมฐานปจเจกบุคคล” ทั้งน้ีโดยผานกระบวนการทางสังคมน่ันเอง ซึ่งมี 3 เร่ืองตอไปน้ีเปนองคประกอบหลัก ไดแก

1) การเกิดผลทางวัฒนธรรม2) การผลิตซ้ําทางวัฒนธรรม3) การกลอมเกลาทางสังคม

Page 29: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

32

จากการเปลี่ยนคานิยมของมนุษยดังกลาวขางตน ทําใหตองนําเร่ือง “ชุมชนเขมแข็ง” และ“ความเปนปกแผนของสังคม” มาพิจารณาอยางจริงจัง การพัฒนาชุมชนในแนวคิดแบบใหมเพื่อใหเกิดความยั่งยืนในอนาคต จึงจําเปนตองยอมรับรูปแบบใหมของระบบคิด ความจําเปนที่จะตองมีจิตสํานึกแบบใหม ซึ่งเปลี่ยนแปลงทั้งทิศทางและวิธีการกระทําจากการทําลายชุมชนมาเปนสนับสนุนความเขมแข็งของชุมชน (ซึ่งมีการบูรณาการทั้งเร่ือง ครอบครัว ชุมชน และวัฒนธรรมเขาดวยกัน) ในดานการเรียนรูสภาพแวดลอมของชุมชนก็จะเปลี่ยนไปดวยเชนกัน ดังน้ันการเรียนรูจึงไมควร เนนเฉพาะทักษะการปฏิบัติ แตควรเรียนรูใหไดวาจะสามารถสรางจิตสํานึกใหมใหเกิดขึ้นไดอยางไร

ในความเปนจริงการพัฒนาชุมชนในชวง 15 ป ที่ผานมาไดเนนย้ําเกี่ยวกับ “ประชาคม” และ“ชุมชนเขมแข็ง” ซึ่งปรากฏอยูทั้งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และนโยบายของรัฐบาลปจจุบันไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาผนวกไวในยุทธศาสตรเร่ือง “สังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน”โดยใชหลัก 8 ประการ คือ

1) ไมทอดทิ้งกัน2) เศรษฐกิจพอเพียง3) ใชทรัพยากรอยางเปนธรรมและยั่งยืน4) เคารพศักด์ิศรีและคุณแหงความเปนคน5) ความเปนธรรมทางสังคม6) สันติภาพ7)พัฒนาจิตใจใหสูงขึ้น และ8) ความเขมแข็งของชุมชนทองถิ่นและประชาคม

ขอเสนออีกสวนหน่ึงก็คือ ชุดตัวชี้วัดที่ใชประเมินความเขมแข็งของชุมชนในสวนที่ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากยุทธศาสตรการจัดการพัฒนาชุมชนแลว ขอเขียนน้ียังนําเสนอผลงานวิจัยเร่ือง “การประเมินผลศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงชุมชน” ซึ่งอาจเปนประโยชนในเร่ืองตอไปน้ี คือ

1) มีกรอบทางวิชาการสําหรับโครงการเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง2) มีชุดตัวชี้วัดการประเมินผลซึ่งสามารถนําไปประยุกตไดกับโครงการเกี่ยวกับเศรษฐกิจ

พอเพียงอ่ืน ๆ3) มีขอเสนอแนะซึ่งไดจากผลลัพธของโครงการวิจัยที่สามารถนําไปใชปฏิบัติในงานพัฒนา

ชุมชนตอไปได

Page 30: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

33

ปวัน มีนรักษเรืองเดช (2549) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองการประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของประชาชนที่เขารวมโครงการชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดําริ พบวา ระดับของการประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของประชาชนที่เขารวมโครงการฯ สวนใหญเปนเพศหญิงอายุระหวาง 32-46 ป มีสถานภาพสมรส มีจํานวนสมาชิกในครอบครัวระหวาง 4-6 คน จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ปวช. มีสาขาที่จบการศึกษาในสายอาชีพ มีอาชีพรับจางทั่วไป และมีรายไดตอเดือนอยูในระดับ 5,000 – 10,000 บาท ปจจัยแวดลอมพบวา ประชาชนที่เขารวมโครงการฯ ไมมีตําแหนงทางสังคม รับสื่อทางโทรทัศนเปนประจํา มีการรับสื่อประเภทละครเปนประจํา ไมเคยมีประสบการณในการเขารวมกิจกรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงมีการรับรูเกี่ยวกับโครงการฯ อยูในระดับคอนขางมากและการปฏิบัติตามโครงการฯ อยูในระดับคอนขางนอยและการประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของประชาชนที่เขารวมโครงการฯ อยูในระดับคอนขางมาก และพบวาปจจัยที่มีผลตอการประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของประชาชนที่เขารวมโครงการฯ ไดแก ระดับการศึกษา สาขาวิชาชีพที่จบการศึกษา อาชีพ ตําแหนงทางสังคม ประเภทของชองทางการรับสื่อลักษณะของสื่อที่รับเปนประจํา การรับรูเกี่ยวกับโครงการฯ

ค ณ ะ พั ฒ น า สั ง ค ม ส ถ า บั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ น บ ริ ห า ร ศ า ส ต ร ( อ า ง ถึ ง ใ นhttp://www.chumphoncabana.com/plearn, 17 สิงหาคม 2551) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองกระบวนการและขบวนการทางสังคมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาชุมพรคาบานา รีสอรท ชุมพรคาบานารีสอรทเปนหนวยงานภาคธุรกิจที่ไดนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวทางในการดําเนินธุรกิจโดยผูบริหาร ไดเปนผูดําเนินการใหเกิดกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางสมาชิกในชุมชน ใหเกิดการชวยเหลือเกื้อกูล ทั้งดานเศรษฐกิจและสังคม สามารถรักษาหรือปรับปรุงสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับระบบนิเวศ โดยใชทรัพยากรการผลิตอยางประหยัด และมีประสิทธิภาพไมกอใหเกิดผลเสียทั้งในระยะสั้น และระยะยาวจนถึงคนรุนตอไป นับวาเปนตัวอยางของภาคธุรกิจที่ประสบความสําเร็จ และเปดโอกาสใหบุคคลหรือหนวยงานตาง ๆ เขาเยี่ยมชมเพื่อนําไปเปนแบบอยางในการใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินธุรกิจ ดังน้ี

1) ศรัทธา คือ ศรัทธา ในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จึงเชื่อและศรัทธาในแนวทางของพระองคทานวาเปนไปไดจริง

2) ความตองการที่อยากจะทําหรือสิ่งที่เรียกวาเปนระเบิดออกมาจากขางใน เพราะเมื่อมีศรัทธาเกิดขึ้นแลวก็ทําใหเกิดความอยากที่จะทําตามสิ่งที่ศรัทธา

3) พรอมที่จะทําดวยตนเอง เพื่อใหเกิดการเรียนรูจริงอันจะทําใหเกิดความรูความชํานาญ และสามารถขยายเครือขายการเรียนรูไปสูภายนอกรีสอรทได

Page 31: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

34

นอกจากน้ี ในปจจุบันนอกเหนือจากลูกคาแลว หนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เชนสํานักรักษาความสะอาด กรุงเทพมหานคร เทศบาล อบต. อบจ. สถาบันการศึกษา กระทรวงเกษตรและสหกรณ และสํานักงานปฏิรูปที่ดิน เปนตน ไดเขามาขอศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนความรู ทําใหพนักงานทุกคนมีความรูสึกสนุกและมีคุณคาในการทํางานมากกวาเดิม ขณะเดียวกันก็ไดรับความรูที่เปนหลักวิชาการตามแนวพระราชดําริ และไดศึกษากับ “พิพิธภัณฑที่มีชีวิต”ดวย อีกทั้งพนักงานยังมีความมั่นคงในอาชีพ ชุมชนรอบ ๆ ชุมพรคาบานา รีสอรท ก็มีความสุขในการอยูรวมกัน ในลักษณะของการพึ่งพาอาศัยกัน จึงอยูดวยกันอยางมีความสุข มั่งคั่งอยางเขมแข็งและยั่งยืน โดยมีแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนผูนําทาง

สายนํ้าผ้ึง รัตนงาม (2547) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง ความคิดเห็นในการดําเนินชีวิต ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาสมาชิกเสถียรธรรมสถาน ผลการศึกษาพบวา สมาชิกเสถียรธรรมสถานสวนใหญเห็นดวยในการดําเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับคอนขางมาก (รอยละ74.8) รองลงมา คือ เห็นดวยในระดับมาก (รอยละ 16.8) และเห็นดวยในระดับคอนขางนอย (รอยละ8.4) ตามลําดับ ทั้งน้ี เมื่อพิจารณารายละเอียดของขอมูลเปนรายดานทั้ง 3 ดาน ระดับความคิดเห็นอยูในระดับคอนขางมาก ซึ่งนํามาเรียงตามลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังน้ี คือ ดานการรับรู ดานการนํามาใชประโยชน และดานการนําไปประยุกตใช ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.78 3.06 และ 3.17 ตามลําดับนอกจากน้ีพบวา ปจจัยที่มีผลกับความคิดเห็นของสมาชิกเสถียรธรรมสถานในการดําเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง คือ รายได โดยศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่มีรายไดตํ่ากวา 5,000 บาท มีความเห็นในการดําเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมากกวากลุมอ่ืน ๆ สวนปจจัยที่ไมมีผลกับความคิดเห็นของสมาชิกเสถียรธรรมสถานในการดําเนินชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง คือเพศ อายุ สถานภาพ สมรส การศึกษา อาชีพ และการไดรับขาวสารขอมูล

ศศิพรรณ บัวทรัพย (2547) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง ความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหงตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นดวยตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวมอยูในระดับมาก ทั้งน้ี เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานการรับรูในเน้ือหาสาระ ดานความเขาใจในเน้ือหาสาระ ดานการปฏิบัติหรือการประยุกตใช และดานการเผยแพรอยูในระดับมากทั้ง 4 ดาน คือ ดานการรับรูในเน้ือหาสาระ มีการรับรูอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ3.99 ดานความเขาใจในเน้ือหาสาระ มีความเขาใจอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.78 ดานการปฏิบัติหรือประยุกตใชมีความคิดเห็นอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.03 และปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหงตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดแก เพศ คณะที่ศึกษาและการรับรูจากครอบครัว สวนปจจัยที่ไมมีผลตอความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหงตอปรัชญา

Page 32: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

35

เศรษฐกิจพอเพียง ไดแก ชั้นปที่ศึกษา สาขาที่จบกอนเขาศึกษา ภูมิลําเนา การรับรูจากสื่อมวลชนและการรับรูจากเพื่อหรือผูนํากลุม

เธียรธิดา เหมพิพัฒน (2546) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง ความคิดเห็นของนักศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร ตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการศึกษาพบวา ผูตอบแบบสอบถามมีความเห็นดวยตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาทั้ง 6 ดานพบวา ในระดับความเห็นคอนขางสูงคือ ดานการนําไปประยุกต มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.63 ในระดับความคิดเห็นปานกลางคือ ดานการนํามาใชประโยชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.38 ดานอธิบายปรากฏการณ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.36 ดานการขยายขององคความรู มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.23 ดานความเขาใจในเน้ือหาสาระมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.01 และดานการรับรูในเน้ือหาสาระ มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.64 ปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของนักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดแก คณะที่ศึกษาและสาขาที่จบปริญญาตรี สวนปจจัยที่ไมมีผลกับความคิดเห็นของนักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไดแก ชั้นปที่ศึกษา ผลการศึกษา อาชีพ แล ะการไดรับขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

อภิชัย พันธเสน (2546) ไดศึกษาวิจัยเร่ือง การประยุกตพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงกับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม ผูวิจัยไดนําหลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนดัชนีชี้วัดความเปนเศรษฐกิจพอเพียง ผลการวิจัยพบวา

1) การเปรียบเทียบอุตสาหกรรมที่มีอยูในปจจุบันของไทยกับประเทศที่กาวหนากวาเปนวิธีการที่ไมถูกตอง โดยต้ังสมมติฐานลวงหนาวา อุตสาหกรรมเหลาน้ีไมสามารถแกปญหาดวยตนเองได และการแกปญหา โดยการดําเนินรอยตามประเทศอุตสาหกรรมกาวหนาแมจะไมใชวิธีการที่ผิดหากแตอาจเปนวิธีการที่ไมมีประสิทธิภาพสูงสุด กลาวคือ ไมเปนการแกที่ตรงประเด็นปญหาและไมใชวิธีการที่ใชทรัพยากรนอยที่สุด

2) อุตสาหกรรมที่ผานพนวิกฤติเศรษฐกิจมาไดจะมีจุดเนนรวมกัน คือ ใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีราคาไมแพงแตถูกหลักวิชาการ ใชทรัพยากรทุกชนิดอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุด มีขนาด การผลิตที่เหมาะสมสอดคลองกับความสามารถในการบริหารจัดการ และเนนการบริหารความเสี่ยงตํ่า โดยเฉพาะการไมกอหน้ีจนเกินความสามารถในการบริหาร จนกลายเปนหน้ีที่ไมสามารถชําระคืนได

3) การบริหารความเสี่ยงตํ่าจะเปนหลักการสําคัญ เน่ืองจากอุตสาหกรรมที่ใชเงินลงทุนสวนตัวเปนสัดสวนที่สูงกวาเงินลงทุนจากการกูยืมน้ันสามารถรอดพนจากภาวะวิกฤติไดโดยไมมีความจําเปนตองอาศัยสินเชื่อจากภายนอกแมในชวงของวิกฤติแตอยางไร

Page 33: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

36

4) อุตสาหกรรมที่มุงเนนตลาดภายในประเทศเปนหลัก ควรมีลักษณะของการใชเทคโนโลยีที่มีราคาไมแพง แตถูกหลักวิชาการ พรอมทั้งการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ควรมุงเนนความซื่อสัตยสุจริตในการประกอบการ ไมโลภ และไมเนนกําไรระยะน้ันเปนหลัก รวมถึงการไมเอารัดเอาเปรียบแรงงาน ลูกคา และผูจําหนายวัตถุดิบ เพราะจะเปนการสรางชื่อเสียงใหกับธุรกิจดวย

5) อุตสาหกรรมที่มุงเนนตอบสนองความตองการของตลาดในประเทศเปนหลักเหมาะกับการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชมากกวาอุตสาหกรรมที่มุงเนนตลาดสงออกที่การทํากําไร ในระยะสั้น และการมุงตอบสนองความตองการตลาดเปนหัวใจสําคัญของอุตสาหกรรมประเภทน้ี

6) อุตสาหกรรมจะประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชวงภาวะวิกฤติ (เศรษฐกิจหดตัว)ไดดีกวาในชวงเศรษฐกิจขยายตัว เน่ืองจากในภาวะเศรษฐกิจขยายตัวน้ันธุรกิจสวนมากจะดําเนินการที่ขัดกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในเร่ืองของขนาดการผลิตที่เหมาะสม และการไมเนนกําไรระยะสั้น เพราะธุรกิจจะพยายามขยายกิจการเพื่อการเก็บเกี่ยวกําไร ระยะสั้นที่เปนผลมาจากเศรษฐกิจขยายตัว

7) อุตสาหกรรมสิ่งทอ ซึ่งเนนตลาดสงออกมากที่สุด ในภาวะปกติเปนอุตสาหกรรมที่มีการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนอยที่สุด เพราะเปนอุตสาหกรรมที่จําเปนตองใชเทคโนโลยีราคาแพงเพื่อลดตนทุนในการผลิตใหมีการไดเปรียบเชิงการแขงขันได แตในภาวะวิกฤติอุตสาหกรรมประเภทน้ีกลับไดรับผลดีจากเงินบาทออนตัว หากมีการบริหารความเสี่ยงตํ่า และไมกอหน้ีจนเกินความสามารถในการบริหารจัดการแลว จะสามารถลดผลกระทบจากภาวะวิกฤติไดเปนอยางดี ดังน้ันประเภทของอุตสาหกรรมจึงไมใชปจจัยสําคัญชี้ขาดระดับการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใช หากแตขึ้นอยูกับสัดสวนในการสงออกมากกวา

สมหมาย สาตทรัพย (2542 : 48) ไดศึกษาวิจัยเร่ืองความเขมแข็งของชุมชนตามแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจแบบพอเพียงของชาวพุทธ : ศึกษากรณีชุมชนศีรษะอโศก อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษาพบวา ชุมชนศรีษะอโศกมีระดับความเขมแข็งของชุมชนอยูในระดับสูง โดยมีความเขมแข็งทางดานปจจัยเศรษฐกิจชุมชนในระดับสูง ปจจัยดานการศึกษาเรียนรูมีความเขมแข็งในระดับสูง และปจจัยดานศาสนาวัฒนธรรมมีความเขมแข็งในระดับสูงเชนกัน นอกจากน้ียังพบวา ความเขมแข็งของชุมชนทั้ง 3 ปจจัยที่ศึกษามีความสัมพันธกันทั้ง 3 ปจจัย เมื่อทดสอบโดยใชสถิติสหสัมพันธผลการทดสอบพบวา ปจจัยดานเศรษฐกิจชุมชนสัมพันธกับปจจัยดานการศึกษาเรียนรูในระดับสูง ปจจัยดานการศึกษาเรียนรูสัมพันธกับปจจัยดานศาสนาวัฒนธรรมในระดับปานกลาง ปจจัยดานเศรษฐกิจชุมชนสัมพันธกับปจจัยดานศาสนาวัฒนธรรมในระดับปานกลาง และปจจัยความเขมแข็งดานเศรษฐกิจชุมชน ดานการศึกษาเรียนรูและดานศาสนาวัฒนธรรมสัมพันธกับความเขมแข็งของชุมชนศีรษะอโศกทุกปจจัยในระดับสูง

Page 34: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

37

2.6 มหาวิทยาลัยเกริก การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยเกริก ไดรับอนุญาตจากทบวงมหาวิทยาลัยใหจัดต้ังเปนวิทยาลัยเอกชนไดตาม

กฎหมาย เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2513 ซึ่งถือไดวาเปนกลุมของวิทยาลัยเอกชนกลุมแรกในประเทศไทยและไดรับอนุมัติใหเปดสอนหลักสูตรปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ และคณะเศรษฐศาสตร ตอมาในปพ.ศ.2516 ปริญญาของมหาวิทยาลัยฯก็ไดรับรองมาตรฐาน มีศักด์ิและสิทธิ์เทามหาวิทยาลัยของรัฐทุกประการ ปจจุบันมหาวิทยาลัยเกริกเปดสอน หลักสูตรปริญญาตรี จํานวน 19 หลักสูตร หลักสูตรปริญญาโท จํานวน 4 หลักสูตร และหลักสูตรปริญญาเอก จํานวน 2 หลักสูตร

การจัดการศึกษาเปนหนาที่หลักของมหาวิทยาลัยเกริก เพื่อพัฒนาดานการจัดการเรียนการสอนใหสามารถผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตที่มี คุณภาพออกไปรับใชสังคมและประเทศชาติ สําหรับการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรปริญญาตรีประกอบดวย คณะวิชาตางๆ จํานวน 5 คณะวิชา ไดแกคณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะเศรษฐศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะนิติศาสตร ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดหลักสูตรที่เปดสอน จํานวน 19 หลักสูตร ไดแก

คณะบริหารธุรกิจ จํานวน 7 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการเงินและการธนาคาร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส และหลักสูตรบัญชีบัณฑิต

คณะศิลปศาสตร จํานวน 6 หลักสูตร ไดแก ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจและอาชีพ ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการ ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสังคมสงเคราะหศาสตรและการพัฒนาสังคม

คณะเศรษฐศาสตร จํานวน 1 หลักสูตร ไดแก เศรษฐศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ

คณะนิเทศศาสตร จํานวน 4 หลักสูตร ไดแก นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสื่อสารการเมืองบูรณาการ นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารการทองเที่ยวและบันเทิง

คณะนิติศาสตร จํานวน 1 หลักสูตร ไดแก นิติศาสตรบัณฑิต

ผูวิจัยไดทําการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ปการศึกษา2553 ไดแก โครงสรางหลักสูตรปริญญาตรี และโครงสรางองคกรคณะศิลปศาสตร แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเกริก ระยะ 5 ป ฉบับที่ 4 (1 มิถุนายน 2550- 31 พฤษภาคม 2555) โดยมีรายละเอียดดังน้ี

Page 35: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

38

2.6.1 โครงสรางหลักสูตรปริญญาตรี

โครงสรางหลักสูตรปริญญาตรี ประกอบดวย คณะวิชาตางๆ จํานวน 5 คณะวิชา ไดแก คณะบริหารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร คณะเศรษ ฐศาสตร คณะนิเทศศาสตร และคณะนิติศาสตร ซึ่งประกอบดวยรายละเอียดหลักสูตรที่เปดสอน จํานวน 19 หลักสูตร ไดแก

1) คณะบริหารธุรกิจ จํานวน 7 หลักสูตร ไดแก หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการเงินและการธนาคาร หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการจัดการ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส และหลักสูตรบัญชีบัณฑิต

2) คณะศิลปศาสตร จํานวน 6 หลักสูตร ไดแก ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจและอาชีพ ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาจีน ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการ ศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชารัฐศาสตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสังคมสงเคราะหศาสตรและการพัฒนาสังคม

3) คณะเศรษฐศาสตร จํานวน 1 หลักสูตร ไดแก เศรษฐศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตรธุรกิจ

4) คณะนิเทศศาสตร จํานวน 4 หลักสูตร ไดแก นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาสื่อสารการเมืองบูรณาการ นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารมวลชน นิเทศศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารการทองเที่ยวและบันเทิง

5) คณะนิติศาสตร จํานวน 1 หลักสูตร ไดแก นิติศาสตรบัณฑิต

โครงสรางหลักสูตรปริญญาตรีดังกลาว ประกอบดวยหมวดวิชาที่จะตองศึกษา รวม 3 หมวดวิชา ไดแก 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จํานวนไมนอยกวา 30 หนวยกิต ประกอบดวยกลุมวิชา 4 กลุมวิชาไดแก กลุมวิชาภาษา กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตร และกลุมวิชาสังคมศาสตร 2) หมวดวิชาเฉพาะ 3) หมวดวิชาเลือกเสรี

สําหรับหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประกอบดวย 4 กลุมวิชาน้ัน วิชาที่เปดสอนจัดการศึกษาโดยคณะศิลปศาสตร เปนหนวยงานที่รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอน

ซึ่งจากการศึกษาเคาโครงการสอนของรายวิชาในกลุมวิชามนุษยศาสตรและกลุมวิชาสังคมศาสตร เปนวิชาที่สอดรับกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง วิชาดังกลาว ไดแก วิชาบัณฑิตอุดมคติไทยวิชามนุษยกับอารยธรรม วิชาตรรกวิทยา วิชาปรัชญาสังคมและจริยธรรมทางสังคม วิชาสังคมกับเศรษฐกิจ วิชาสังคมและการปกครอง วิชามนุษยกับสังคม วิชาจิตวิทยาทั่วไป วิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสารสนเทศ วิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป โดยเฉพาะวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งได

Page 36: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

39

มีการเปดสอน ในปการศึกษา 2551 (ตามรายละเอียดจดหมายท่ี ศธ 0506(2)/ว1027เร่ือง ขอความอนุเคราะหแจงขอมูลหลักสูตรท่ีไดบูรณาการดานคุณธรรมและวิชาการไปใชในการจัดการเรียนการสอนลงวันท่ี 7 สิงหาคม 2553)

2.6.2 โครงสรางการจัดองคกรของคณะศิลปศาสตร

โครงสรางการจัดองคกรของคณะศิลปศาสตร ประกอบดวย การจัดแบงหนวยงาน ไดแกหลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตรปริญญาโท หลักสูตรปริญญาเอก แตละหลักสูตรประกอบดวยภาควิชา /สาขาวิชาดังน้ี 1) หลักสูตรปริญญาตรี ประกอบดวย ภาควิชาศึกษาทั่วไป สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ สาขาวิชาสังคมสงเคราะหและการพัฒนาสังคม สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชารัฐศาสตรและสาขาวิชาภาษาจีน 2)หลักสูตรปริญญาโท ประกอบดวย สาขาวิชาการบริหารองคการสาขาวิชาการบริหารงานยุติธรรม และสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร และ 3) หลักสูตรปริญญาเอกประกอบดวย สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร

2.6.3 แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเกริก ระยะ 5 ป ฉบับท่ี 4 ( 1 มิถุนายน 2550 – 31 พฤษภาคม2555 )

มหาวิทยาลัยเกริกไดกําหนดกรอบนโยบาย วัตถุประสงค และเปาหมาย ในการดําเนินงานตามแผนพัฒนาฉบับที่ 4 ประกอบดวย การดําเนินการดานตางๆ 8 ดาน ไดแก 1)ดานการเรียนการสอนเพื่อผลิตบัณฑิตทางสังคมศาสตรที่มีคุณภาพ มีความรูและความเชี่ยวชาญในศาสตรของตน รวมทั้งมีจิตใจที่พรอมดวยคุณธรรมและจริยธรรม 2) ดานงานวิจัยเอกสารประกอบการเรียนการสอนและผลิตตําราเรียน เพื่อสงเสริมใหบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหความสนใจในการทําวิจัย ผลิตเอกสารประกอบการสอนและตําราที่มีคุณภาพ มีประโยชนตอการเรียนการสอนและเพิ่มพูนองคความรูแกสังคม 3) ดานการบริการวิชาการ เพื่อใหบริการวิชาการที่ทันสมัย เหมาะสมกับศักยภาพของมหาวิทยาลัยและสอดคลองกับความตองการของสังคม 4) ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อสงเสริม ฟนฟู วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น ใหมีความรูความเขาใจในวัฒนธรรมไทยมากยิ่งขึ้น 5)ดานการปรับปรุงกายภาพรวมทั้งอุปกรณการศึกษา เพื่อปรับปรุงกายภาพของมหาวิทยาลัยใหสวยงามรวมทั้งปรับปรุงอาคารสถานที่ และอุปกรณการศึกษาใหทันสมัย สามารถใชประโยชนรองรับการขยายตัวในการจัดการไดมากยิ่งขึ้น 6) ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร เพื่อพัฒนาสถาบันและบุคลากรของมหาวิทยาลัยเกิดการ มีสวนรวมในการบริหารที่มีการกระจายอํานาจและความโปรงใสและเสริมสรางพัฒนาคุณภาพของบุคลากรของมหาวิทยาลัยใหมีความรูความสามารถยิ่งขึ้น 7) ดานการประกันคุณภาพ เพื่อสรางกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยใหสอดคลองกับ

Page 37: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

40

มาตรฐานการจัดการศึกษาของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาและสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาเอกชน และ 8) ดานความเขาใจและแนวทางปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปลูกฝงใหเกิดความเขาใจแกนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและนําแนวทางปรัชญาดังกลาวไปใชใหเกิดประโยชนแกตนเองและสังคมโดยรวม

ซึ่งตามกรอบนโยบาย วัตถุประสงค และเปาหมาย ในดานที่ 8 ดานความเขาใจและแนวทางปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อปลูกฝงใหเกิดความเขาใจแกนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัยในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและนําแนวทางปรัชญาดังกลาวไปใชใหเกิดประโยชนแกตนเองและสังคมโดยรวม มหาวิทยาลัยเกริกจึงไดมีการจัดทําแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อใหสอดคลองกับแผนกลยุทธ ดังน้ี

1. บรรจุปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหเปนวิชาบังคับเรียนในทุกหลักสูตรและทุกคณะวิชา2. จัดทําเอกสารเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงใชประกอบการเรียนการสอน3. จัดทําบอรดนิทรรศการและการบรรยายเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงแกเยาวชนและบุคคล

ทั่วไป4. จัดกิจกรรมประกวดเรียงความและการแขงขันตอบปญหาเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง5. จัดทัศนศึกษาโครงการในพระราชดําริ หรือโครงการที่เกี่ยวเน่ืองกับเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อใหนักศึกษาเกิดความเขาใจที่ลึกซึ้งตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง6. ดําเนินการประชาสัมพันธเผยแพรปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางกวางขวางตอเน่ือง

ประกอบดวยโครงการทั้งหนวยงานระดับคณะวิชาและหนวยงานสนับสนุนรวม 11โครงการ คิดเปนงบประมาณรายจาย 331,000 บาท

2.7 กรอบแนวคิดในการศึกษาจากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของขางตน ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิด

ในการศึกษาเร่ือง การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ดังน้ี

2.7.1 การศึกษาระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ผูวิจัยไดกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยดังน้ี

ตัวแปรอิสระ (Independent variables)1) ผูวิจัยไดนําปจจัยสวนบุคคลของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกริก มาใชในการสรางกรอบแนวคิด

ในการวิจัยโดยจําแนกไดดังน้ี คือ เพศ อายุ คณะที่กําลังศึกษา คุณวุฒิกอนเขาศึกษา ภูมิลําเนา และอาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัว

Page 38: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

41

2) ผูวิจัยไดสรุปแนวคิดที่ไดรับจากทฤษฎี ความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งนํามาใชในการสรางกรอบแนวคิด โดยศึกษาการเปดรับขาวสารในดานแหลงที่มาขอมูลขาวสารเศรษฐ กิจพอเพียง ซึ่งปจจัยดังกลาวจะมีผลตอความรูความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาประกอบดวย ปจจัย 2 ดาน ไดแก

2.1) แหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก ไดแก วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพนิตยสาร/วารสาร อินเตอรเน็ต และเพื่อน/คนในครอบครัว

2.2) แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก ไดแก นโยบาย / แผนงาน การประชุมสัมมนา / การอภิปรายผลทางวิชาการ หลักสูตร / วิชาการเรียน อาจารยผูสอนสอดแทรกในการสอน อาจารยผูสอนมอบหมายงาน นิทรรศการ / สื่อประชาสัมพันธภายใน การศึกษาดูงาน และหนังสือ บทความ งานวิจัยจากหองสมุด

ตัวแปรตาม (Dependent variables) ความรู เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบดวย 6 ดาน ไดแก

1) ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง2) ดานความพอประมาณ3) ดานความมีเหตุผล4) ดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี5) ดานความรู6) ดานความมีคุณธรรม

2.7.2 การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรีผูวิจัยไดศึกษาจากเอกสาร แนวทางในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก และการสัมภาษณเจาะลึกอาจารยผูสอนและผูบริหารในการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดานความพอประมาณ ดานความมีเหตุผลและดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี ในการวางแผนการสอน วิธีการสอนกิจกรรมสนับสนุน สื่อการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน ซึ่งสามารถแสดงเปนกรอบแนวคิดในการวิจัย ดังแผนภาพตอไปน้ี

Page 39: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

42

ตัวแปรอิสระ (IV) ตัวแปรตาม (DV)

แผนภาพที่ 2.1 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษา

ขอมูลท่ัวไป- เพศ- อายุ- คณะที่กําลังศึกษา- คุณวุฒิกอนเขาศึกษา- ภูมิลําเนา- อาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัว

ความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบดวย 6 ดาน ไดแก- ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง- ดานความพอประมาณ- ดานความมีเหตุผล- ดานภูมิคุมกันในตนที่ดี- ดานความรู- ดานความมีคุณธรรม

แหลงในการรับรูขอมูลขาวสาร- แหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัย

เกริก- แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัย

เกริก

การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ( 10 วิชา )1) วิชาความรูเบื้องตนเก่ียวกับสารสนเทศ2) วิชามนุษยกับอารยธรรม3) วิชาปรัชญาสังคมและจริยธรรมทางสังคม4) วิชาบัณฑิตในอุดมคติไทย5) วิชาสังคมกับการปกครอง6) วิชาจิตวิทยาทั่วไป7) วิชาสังคมกับเศรษฐกิจ8) วิชาเศรษฐกิจพอเพียง9) วิชามนุษยกับสังคม10) วิชาความรูเบื้องตนเก่ียวกับกฎหมายทั่วไป

Page 40: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

43

2.8 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

เพศ หมายถึง นักศึกษาที่กําลังศึกษาในระดับปริญญาตรีที่เปนเพศชาย หรือเพศหญิง

อายุ หมายถึง อายุปจจุบันของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

คณะท่ีศึกษา หมายถึง คณะที่นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ทําการศึกษาอยูในปจจุบัน

คุณวุฒิกอนเขารับการศึกษา หมายถึง คุณวุฒิที่นักศึกษามหาวิทยาลัยเกริก สําเร็จการศึกษากอนเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยเกริก

ภูมิลําเนากอนเขารับการศึกษา หมายถึง สถานที่ที่นักศึกษามหาวิทยาลัยเกริก มีทะเบียนบานอยูกอนเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยเกริก

อาชีพของผูนําครอบครัว หมายถึง งานที่บิดาหรือผูนําครอบครัวของนักศึกษา หลักสูตรปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ทําเพื่อหารายได

แหลงความรูภายนอก หมายถึง การรับรูขอมูลขาวสารปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี จากแหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก ไดแก วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพนิตยสาร วารสาร อินเตอรเน็ต คนในครอบครัว เพื่อน เปนตน

แหลงความรูภายใน หมายถึง การรับรูขอมูลขาวสารปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี จากแหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก ไดแก นโยบาย / แผนงานของมหาวิทยาลัยเกริก การประชุมสัมมนา / การอภิปรายผลงานทางวิชาการ หลักสูตร / วิชาเรียนอาจารยผูสอนสอดแทรกในการสอน อาจารยผูสอนมอบหมายงาน นิทรรศการ การศึกษาดูงาน สื่อประชาสัมพันธภายในมหาวิทยาลัย หนังสือ บทความ งานวิจัยจากหองสมุด เปนตน

ความพอประมาณ หมายถึง การรูจักประมาณศักยภาพตนเอง ทั้งทางกาย ทางใจและสติปญญาตลอกจนรูจักควบคุมตนเองอยูเสมอในความพอดีทั้งน้ีไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน

Page 41: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

44

ความมีเหตุผล หมายถึง การรูจักเกี่ยวกับระดับความพอเพียงน้ัน จะตองเปนไปอยางมีเหตุมีผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทําน้ันๆอยางรอบคอบ

ดานภูมิคุมกันในตัวท่ีดี หมายถึง การรูจักระมัดระวังตนไมใหเกิดความประมาท การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ โดยคํานึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆที่คาดวาจะเกิดขึ้นไดอยางมีสติระลึกได

ดานความรู หมายถึง ความรอบรูวิชาการตางๆที่เกี่ยวของรอบดานและความรอบคอบที่จะนําความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเชื่อมโยงเพื่อประกอบการตัดสินใจวางแผน และระมัดระวังในการปฏิบัติ

ดานความมีคุณธรรม หมายถึง ความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัยมีความอดทน มีความเพียรและใชสติปญญาในการดําเนินชีวิต

Page 42: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

45

บทที่ 3วิธีการวิจัย

การวิจัยเร่ือง การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ลักษณะของงานวิจัยมีความผสมผสานกันระหวางการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) และวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยศึกษาขอมูลทุติยภูมิดานทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของจากเอกสารวิชาการและผลการวิจัยตางๆ เพื่อสรางเคร่ื องมือ โดยมีรายละเอียดดังน้ี

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง3.2 เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย3.3 การตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัย3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล3.5 การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยางประชากรแบงออกเปน 2 กลุม ไดแก1) อาจารยผูสอน ระดับปริญญาตรีโดยกลุมตัวอยางเปนอาจารยผูสอนและผูบริหาร

คณะศิลปศาสตร หมวดวิชาศึกษาทั่วไปวิชาที่เกี่ยวของ จํานวน 11 ทาน2) นักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นป ของมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา

2553 จํานวนทั้งสิ้น 2,863 คน (ขอมูลจากงานทะเบียน สํานักวิชาการ มหาวิทยาลัยเกริก, 6 กันยายน2553) โดยผูวิจัยไดกําหนดขนาดและเลือกกลุมตัวอยางในการวิจัยคร้ังน้ี โดยใชสูตร Taro Yamane ที่รอยละ 95 ความคลาดเคลื่อน 0.05 ดังน้ี

n = N1+N (e) 2

เมื่อ n คือ จํานวนตัวอยาง หรือขนาดของกลุมตัวอยางN คือ จํานวนประชากรที่ใชในการศึกษาe คือ ความคลาดเคลื่อนของการสุม (Sampling error) ในที่น้ีจะกําหนด

Page 43: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

46

เทากับ + / - 0.05 ภายใตความเชื่อมั่น 95% จึงแทนคาสูตรไดดังน้ี

แทนคา n = 2,8631 + 2,863 (0.05)2

n = 348 คน

จากการคํานวณพบวา ไดจํานวนกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นป ของมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา 2553 จํานวน 348 คน สําหรับการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยทําการศึกษากลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษา จํานวน 400 คน

3.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) และการสัมภาษณแบบกึ่งโครงสราง (Semi structure interview) โดยเน้ือหาของแบบสอบถามแบงเปน 4 ตอน ดังน้ี

ตอนท่ี 1 เปนคําถามเกี่ยวกับขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ คณะที่กําลังศึกษา คุณวุฒิกอนเขาศึกษา ภูมิลําเนา และอาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัว จํานวน 6 ขอ

ตอนท่ี 2 เปนคําถามเกี่ยวกับแหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย ปจจัย 2 ดาน ไดแก (1) แหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก ไดแก วิทยุโทรทัศน หนังสือพิมพ นิตยสาร/วารสาร อินเตอรเน็ต และเพื่อน/คนในครอบครัว และ (2) แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก ไดแก นโยบาย / แผนงาน การประชุมสัมมนา / การอภิปรายผลทางวิชาการ หลักสูตร / วิชาการเรียน อาจารยผูสอนสอดแทรกในการสอน อาจารยผูสอนมอบหมายงานนิทรรศการ / สื่อประชาสัมพันธภายใน การศึกษาดูงาน และหนังสือ บทความ งานวิจัยจากหองสมุด

ตอนท่ี 3 เปนคําถามเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งประกอบดวย 6ดาน ไดแก ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 2 ขอ ดานความพอประมาณ จํานวน 6ขอ ดานความมีเหตุผล จํานวน 7 ขอ ดานภูมิคุมกันในตนที่ดี จํานวน 9 ขอ ดานความรู จํานวน 6ขอ และดานความมีคุณธรรม จํานวน 8 ขอ รวมทั้งสิ้น 38 ขอ

ตอนท่ี 4 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกริก

Page 44: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

47

3.3 การตรวจสอบเคร่ืองมือวิจัย

ผูวิจัยทําการทดสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ โดยไดขอคําปรึกษาจากอาจารยที่ปรึกษาและผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน โดยไดนําแบบสอบถามฉบับรางไปทดสอบหาความเชื่อมั่น (Pre-test) กับกลุมทดลองกอนเก็บจริง จํานวน 30 ชุด เพื่อหาขอบกพรองตางๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากแบบสอบถาม เพื่อทําการแกไขปรับปรุงตอไป กอนที่จะนําไปใชกับกลุมตัวอยางที่กําหนดไว

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล

การวิจัยคร้ังน้ีผูวิจัยมีขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูลดังน้ี

1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) เปนขอมูลที่ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางที่เปนอาจารยผูสอน ผูบริหารคณะและนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่กําลังศึกษาในปการศึกษา 2553 โดยใชการสัมภาษณและแบบทดสอบ เปนเคร่ืองมือในการเก็บขอมูล

1.1) การศึกษาระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ปการศึกษา 2553 ใชแบบทดสอบความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูล (ภาคผนวก ก)

1.2) การศึกษาการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ศึกษาจากโครงสรางหลักสูตรปริญญาตรี ที่เปดสอนในปการศึกษา 2553 ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร โดยการสัมภาษณ จากบุคลากร 2 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 อาจารยผูสอน วิชาดานสังคมศาสตรกลุมวิชามนุษยศาสตร และกลุมวิชาสังคมศาสตร จํานวน 8 ทาน และกลุมที่ 2 ผูบริหารสาขาวิชาที่เกี่ยวของ ไดแก คณบดี รองคณบดี และหัวหนาสาขาวิชาที่เกี่ยวของ จํานวน 3 ทาน โดยการสัมภาษณ(ภาคผนวก ข)

2) ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เปนการวิจัยจากเอกสาร (Documentary research) โดยการรวบรวมขอมูลในเชิงแนวคิด หลักการ ตลอดจนผลการศึกษาที่เกี่ยวของตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนังสือ วิทยานิพนธ เอกสาร บทความทางวิชาการ และสิ่งพิมพตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนํามากําหนดเปนแนวความคิด ตัวแปร เพื่อประโยชนในการศึกษา

Page 45: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

48

3.5 การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล

การวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยทําการประมวลผลและวิเคราะหขอมูลจากการสัมภาษณและแบบสอบถามที่ไดรับกลับคืนมาจากกลุมตัวอยาง โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร ซึ่งมีรายละเอียดในการวิเคราะหขอมูลดังน้ี

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม โดยหาคาความถี่ (Frequency) และคารอยละ(Percentage)

ตอนท่ี 2 แหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยหาคาเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation: SD) เกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

ระดับการรับรูขาวสาร คะแนนเปนประจํา 4บอยคร้ัง 3นานๆ คร้ัง 2ไมเคยเลย 1

ชวงหางของคะแนน = คะแนนสูงสุด - คะแนนตํ่าสุดจํานวนชั้น

= 4 – 1 = 3 = 0.754 4

การแปลความหมาย 1.00 – 1.75 ไมเคยเลย1.76 – 2.51 นานๆ คร้ัง2.52 – 3.27 บอยคร้ัง3.28 – 4.00 เปนประจํา

Page 46: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

49

ตอนท่ี 3 ความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีจํานวนทั้งสิ้น 38 ขอ เกณฑการใหคะแนน ดังน้ี

เฉลย การวัดความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขอที่ตอบ “ถูก” ไดแก ขอ 3, 7, 12, 15, 16, 18, 19, 23, 24, 25, 27, 30, 32, 33, 34, 37ขอที่ตอบ “ผิด” ไดแก ขอ 1, 2, 4, 5, 6, 8, 9, 10, 11, 13, 14, 17, 20, 21, 22, 26, 28, 29,

30, 35, 36, 38

ความรูความเขาใจ คะแนนตอบถูก 1ตอบผิด 0ไมทราบ 0

จากน้ันนําขอที่ถูกมาแปลความหมายคิดเทียบกับเกณฑของกระทรวงศึกษาธิการไดดังน้ีระดับคะแนน ความหมายตํ่ากวา 20 คะแนน มีความรูระดับตํ่า

20 – 29 คะแนน มีความรูระดับปานกลาง30 – 38 คะแนน มีความรูระดับสูง

ตอนท่ี 4 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกริก ใชการอธิบายความ

Page 47: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

50

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเร่ือง การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียน การสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก ใชวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ใชในการวิจัยคือนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นปของมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา2553 อาจารยผูสอนวิชาดานสังคมศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตร และกลุมวิชาสังคมศาสตร และคณะผูบริหาร คณะศิลปศาสตร จากการตอบแบบสอบถามและการสัมภาษณ นําผลที่ไดมาวิเคราะหสรุปผลการวิจัยไดดังน้ี

4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง4.2 แหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง4.3 ความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง4.4 การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน4.5 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการเรียนการสอน

ของมหาวิทยาลัยเกริก

4.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง

การวิจัยคร้ังน้ีไดสอบถามขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นปของมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา 2553 โดยมีรายละเอียดดังน้ี

ตารางท่ี 4.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน รอยละชายหญิง

110263

29.570.5

รวม 373 100.0

จากตารางที่ 4.1 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิงจํานวน 263 คนคิดเปนรอยละ 70.5และเปนเพศชาย จํานวน 110 คน คิดเปนรอยละ 29.5

Page 48: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

51

ตารางท่ี 4.2 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน รอยละ20 ป หรือตํ่ากวา21 – 30 ป30 ปขึ้นไป

2041609

54.742.92.4

รวม 373 100.0

จากตารางที่ 4.2 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ มีอายุ 20 ป หรือนอยกวา จํานวน 204 คนรอยละ 54.7 รองลงมา มีอายุระหวาง 21- 30 ป จํานวน 160 คน คิดเปนรอยละ 42.9 และกลุมตัวอยางมีอายุ30 ปขึ้นไป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 2.4 ตามลําดับ

ตารางท่ี 4.3 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามคณะท่ีกําลังศึกษา

คณะท่ีกําลังศึกษา จํานวน รอยละคณะนิติศาสตรคณะบริหารธุรกิจคณะศิลปศาสตรคณะเศรษฐศาสตรคณะนิเทศศาสตร

36206116411

9.755.231.11.12.9

รวม 373 100.0

จากตารางที่ 4.3 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ เปนนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจจํานวน 206 คนคิดเปนรอยละ 55.2 รองลงมาคือ เปนนักศึกษาคณะศิลปศาสตร จํานวน 116 คน คิดเปนรอยละ 31.1เปนนักศึกษาคณะนิติศาสตร จํานวน 36 คน คิดเปนรอยละ 9.7 เปนนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร จํานวน11 คน คิดเปนรอยละ 2.9 และเปนนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร จํานวน 4 คน คิดเปน รอยละ 1.1ตามลําดับ

Page 49: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

52

ตารางท่ี 4.4 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามคุณวุฒิกอนเขาศึกษา

คุณวุฒิกอนเขาศึกษา จํานวน รอยละมัธยมศึกษาตอนปลายปวช.ปวส. / อนุปริญญาอ่ืนๆ ไดแก ปริญญาตรี

25330819

67.88.0

21.82.4

รวม 373 100.0

จากตารางที่ 4.4 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีคุณวุฒิกอนเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยเกริกอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 253 คนคิดเปนรอยละ 67.8 รองลงมามีคุณวุฒิระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) /อนุปริญญา จํานวน 81 คน คิดเปนรอยละ 21.8 คุณวุฒิระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จํานวน 30 คน คิดเปนรอยละ 8.0 และคุณวุฒิระดับปริญญาตรี จํานวน9 คน คิดเปนรอยละ 2.4 ตามลําดับ

ตารางท่ี 4.5 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามภูมิลําเนา

ภูมิลําเนา จํานวน รอยละภาคกลางภาคตะวันออกภาคใตภาคเหนือภาคอีสาน

154144946110

41.23.813.212.329.5

รวม 373 100.0

จากตารางที่ 4.5 พบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ มีภูมิลําเนาอยูภาคกลางจํานวน 154 คน คิดเปนรอยละ41.2 มีภูมิลําเนาอยูภาคอีสานจํานวน 110 คน คิดเปนรอยละ 29.5 มีภูมิลําเนาอยูภาคใต จํานวน49 คน คิดเปนรอยละ 13.2 มีภูมิลําเนาอยูในภาคเหนือ จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 12.3 และมีภูมิลําเนาอยูในภาคตะวันออก จํานวน 14 คน คิดเปนรอยละ 3.8 ตามลําดับ

Page 50: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

53

ตารางท่ี 4.6 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง จําแนกตามอาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัว

อาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัว จํานวน รอยละขาราชการพนักงานรัฐวิสาหกิจคาขายพนักงานบริษัทเอกชนรับจางผูประกอบการเกษตรกรผูประกอบอาชีพอ่ืนๆ

331353171101611318

8.83.514.24.629.54.330.34.8

รวม 373 100.0

จากตารางที่ 4.6 พบวา อาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัวของกลุมตัวอยางสวนใหญ จํานวน113 คนเปนเกษตรกร คิดเปนรอยละ 30.3 รองลงมาคือ อาชีพรับจาง จํานวน110 คน คิดเปนรอยละ29.5 อาชีพคาขาย จํานวน 53 คน คิดเปนรอยละ 14.2 อาชีพรับราชการ จํานวน 33 คนคิดเปนรอยละ8.8 อาชีพอ่ืนๆ ไดแก กอสราง ตัดผม ประมง ขับแท็กซี่ ธุรกิจสวนตัว พอบาน ไมไดประกอบอาชีพและถึงแกกรรม จํานวน 18 คน คิดเปนรอยละ 4.8 อาชีพพนักงานบริษัทเอกชนจํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 4.6 อาชีพผูประกอบการ จํานวน 16 คน คิดเปน รอยละ 4.3 และอาชีพพนักงานรัฐวิสาหกิจ คิดเปนจํานวน 13 คน คิดเปนรอยละ 3.5 ตามลําดับ

Page 51: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

54

4.2 แหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การวิจัยคร้ังน้ี ไดทําการวัดระดับการรับรูขอมูลขาวสารของกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นป ของมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา 2553 ซึ่งมีแหลงการรับรูขอมูลขาวสาร 2 แหลง คือ แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก และแหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก โดยมีรายละเอียดดังน้ี

ตารางท่ี 4.7 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามแหลงความรูตางๆ

n = 373แหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรู

เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงระดับการรับรูขาวสาร การแปลผล

X SD1. แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก2. แหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก

2.742.81

0.480.56

บอยคร้ังบอยคร้ัง

เฉลี่ยรวม 2.77 0.42 บอยคร้ัง

จากตารางที่ 4.7 พบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวม อยูในระดับบอยคร้ัง ( X = 2.77)

เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยูในระดับบอยคร้ังทุกดาน ไดแก แหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก ( X = 2.81)รองลงมา ไดแก แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก ( X = 2.74)

การรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากแหลงความรูดังกลาวขางตน สามารถอธิบายรายละเอียดไดดังตารางที่ 4.8 – ตารางที่ 4.9

Page 52: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

55

ตารางท่ี 4.8 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามแหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก

n = 373

แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก

ระดับการรับรูขาวสาร

XSD การ

แปลผลเปน

ประจําบอยครั้ง

นานๆครั้ง

ไมเคยเลย

1. นโยบาย / แผนงานของมหาวิทยาลัยเกริก

26(7.0)

194(52.0)

135(36.2)

18(4.8)

2.61 0.68 บอยคร้ัง

2. การประชุมสัมมนา / การอภิปรายผลงานทางวิชาการ

26(7.0)

161(43.2)

164(44.0)

22(5.9)

2.51 0.71 นานๆคร้ัง

3. หลักสูตร / วิชาเรียน 70(18.8)

230(61.7)

66(17.7)

7(1.9)

2.97 0.66 บอยคร้ัง

4. อาจารยผูสอนสอดแทรกในการสอน 92(24.7)

210(56.3)

62(16.6)

9(2.4)

3.03 0.71 บอยคร้ัง

5. อาจารยผูสอนมอบหมายงาน 101(27.1)

200(53.6)

64(17.2)

8(2.1)

3.06 0.73 บอยคร้ัง

6. นิทรรศการ 33(8.8)

179(48.0)

139(37.3)

22(5.9)

2.60 0.73 บอยคร้ัง

7. การศึกษาดูงาน 25(6.7)

130(34.9)

178(47.7)

40(10.7)

2.38 0.77 นานๆคร้ัง

8. ส่ือประชาสัมพันธภายในมหาวิทยาลัย 47(12.6)

190(50.9)

118(31.6)

18(4.8)

2.71 0.75 บอยคร้ัง

9. หนังสือ บทความ งานวิจัยจากหองสมุด

60(16.1)

187(50.1)

112(30.0)

14(3.8)

2.79 0.75 บอยคร้ัง

เฉลี่ยรวม 2.74 0.48 บอยครั้ง

จากตารางที่ 4.8 พบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามแหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริก ในภาพรวมอยูในระดับบอยคร้ัง ( X = 2.74)

เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูขาวสารอยูในระดับบอยคร้ัง เปนลําดับแรก ไดแก การมอบหมายงานจากอาจารยผูสอน ( X = 3.06) รองลงมา ไดแก การสอดแทรกของอาจารยผูสอน ( X = 3.03) และหลักสูตร/วิชาเรียน ( X = 2.97) สวนกลุมตัวอยางที่มีการรับรูขาวสารอยูในระดับนานๆ คร้ัง ไดแก การประชุมสัมมนา/การอภิปรายผลงานทางวิชาการ( X = 2.51)และ การศึกษาดูงาน ( X = 2.38)

Page 53: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

56

ตารางท่ี 4.9 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามแหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก

n = 373

แหลงความรูภายนอก มหาวิทยาลัยเกริก

ระดับการรับรูขาวสาร

XSD การ

แปลผลเปน

ประจําบอยครั้ง

นานๆครั้ง

ไมเคยเลย

1. วิทยุ 50(13.4)

154(41.3)

132(35.4)

37(9.9)

2.58 0.84 บอยคร้ัง

2. โทรทัศน 135(36.2)

127(34.0)

83(22.3)

28(7.5)

2.99 0.94 บอยคร้ัง

3. หนังสือพิมพ 73(19.6)

163(43.7)

119(31.9)

18(4.8)

2.78 0.81 บอยคร้ัง

4. นิตยสาร / วารสาร 59(15.8)

162(43.4)

131(35.1)

21(5.6)

2.69 0.80 บอยคร้ัง

5. อินเตอรเน็ต 160(42.9)

160(42.9)

48(12.9)

5(1.3)

3.27 0.73 บอยคร้ัง

6. คนในครอบครัว 62(16.6)

139(37.3)

135(36.2)

37(9.9)

2.61 0.88 บอยคร้ัง

7. เพ่ือน 66(17.7)

161(43.2)

122(32.7)

24(6.4)

2.72 0.83 บอยคร้ัง

เฉลี่ยรวม 2.81 0.56 บอยครั้ง

จากตารางที่ 4.9 พบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามแหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก ในภาพรวมอยูในระดับบอยคร้ัง ( X =2.81)

เมื่อจําแนกเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางมีการรับรูขาวสารอยูในระดับบอยคร้ัง ไดแก จากอินเตอรเน็ต ( X = 3.27) รองลงมา ไดแก จากโทรทัศน ( X = 2.99) จากหนังสือพิมพ ( X =2.78) จากเพื่อน ( X = 2.72) จากนิตยสาร/วารสาร ( X = 2.69) จากคนในครอบครัว ( X = 2.61)และจากวิทยุ ( X = 2.58) ตามลําดับ

Page 54: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

57

4.3 ความรูเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การวิจัยคร้ังน้ี ไดทําการวัดระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นป ของมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา 2553 ซึ่งวัดระดับความรู 6 ดาน คือ (1) ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) ดานความพอประมาณ (3)ดานความมีเหตุผล (4) ดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี (5) ดานความรู และ (6) ดานความมีคุณธรรม โดยมีรายละเอียดดังน้ี

ตารางท่ี 4.10 แสดงจํานวนและรอยละของนักศึกษา จําแนกตามระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

คะแนนความรู จํานวน (คน) คิดเปนรอยละ

คะแนนรอยละ

ระดับความรู

30 - 38 27 7.2 75 - 100 สูง20 - 29 150 40.2 50 - 74 ปานกลาง0 - 20 196 52.5 1 - 49 ตํ่ารวม 373 100.0

จากตารางที่ 4.10 พบวา ระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา จากคะแนนเต็ม 38 พบวา กลุมตัวอยางประมาณคร่ึงหน่ึงจํานวน 196 คน คิดเปนรอยละ 52.5 มีความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับตํ่า รองลงมา มีความรูในระดับปานกลาง จํานวน 150 คนคิดเปนรอยละ 40.2 มีเพียง 27 คนซึ่งคิดเปนรอยละ 7.2 มีความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับสูง

ระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาขางตน สามารถอธิบายรายละเอียดไดดังตารางที่ 4.11

Page 55: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

58

ตารางท่ี 4.11 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภาพรวมและรายดาน

n = 373

ขอคําถาม ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับความรูจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 211 56.7 162 43.3 ปานกลาง

2. ดานความพอประมาณ 156 41.7 217 58.3 ตํ่า

3. ดานความมีเหตูผล 186 49.8 187 50.2 ปานกลาง

4. ดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี 231 62.0 142 38.0 ปานกลาง

5. ดานความรู 196 52.5 177 47.5 ปานกลาง

6. ดานความมีคุณธรรม 185 49.6 188 50.4 ปานกลาง

รวมเฉลี่ย 194 52.05 179 47.95 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.11 พบวา ในภาพรวมความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุมตัวอยาง จํานวน 194คน หรือคิดเปนรอยละ 52.05 ตอบถูก และกลุมตัวอยางจํานวน 179 คน คิดเปนรอยละ 47.95 ตอบผิดโดยดานที่กลุมตัวอยางตอบถูกมากที่สุด คือ ดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี โดยกลุมตัวอยาง จํานวน 231 คนคิดเปนรอยละ 62.0 ตอบถูก รองลงมา คือ ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยมีผูตอบถูก 211คน คิดเปนรอยละ 56.7 และดานที่กลุมตัวอยางตอบถูกนอยที่สุด คือ ดานความพอประมาณ โดยกลุมตัวอยางตอบถูก จํานวน 156 คน หรือคิดเปนรอยละ 41.7

Page 56: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

59

ตารางท่ี 4.12 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

n = 373

ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ1. วิ ธี ดํา เ นินการของปรัชญาเศรษฐกิจ

พอเพียง มี 2 ขั้นตอน ขั้นตอน แรกคือ การจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยู จํากัดเพ่ือสรางพ้ืนฐานใหพ่ึงตนเองได และขั้นตอนสองคือ การรวมพลังไปสูชุมชนเขมแข็ง

307 82.3 66 17.7 สูง

2. ประโยชนท่ีไดรับจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความม่ังคั่ง ร่ํารวยในทรัพยสมบัติของผูปฏิบัติตน ตามแนวทางน้ีทุกคน

116 31.1 257 68.9 ตํ่า

รวมเฉลี่ย 211 56.7 162 43.3 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.12 พบวา คําถามในภาพรวมเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พบวา กลุมตัวอยางเกินกวาคร่ึง จํานวน 211 คนหรือรอยละ 56.7 ตอบถูก สวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิด จํานวน 162 คน คิดเปนรอยละ 43.3 ตางกันเพียงรอยละ 13.4 เทาน้ัน

เมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา ขอที่กลุมตัวอยางตอบถูกมากที่สุดคือ วิธีดําเนินการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกคือ การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูจํากัดเพื่อสรางพื้นฐานใหพึ่งตนเองได และขั้นตอนสองคือ การรวมพลังไปสูชุมชนเขมแข็ง มีกลุมตัวอยางตอบถูก จํานวน 307คน คิดเปนรอยละ 82.3 สวนขอที่กลุมตัวอยางตอบผิดมากที่สุดคือ ประโยชนที่ไดรับจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ ความมั่งคั่ง รํ่ารวยในทรัพยสมบัติของผูปฏิบัติตนตามแนวทางน้ีทุกคน มีกลุมตัวอยางตอบผิด จํานวน 162 คน คิดเปนรอยละ 68.9

Page 57: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

60

ตารางท่ี 4.13 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามดานความพอประมาณ

n = 373

ดานความพอประมาณ ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ1. ความพอประมาณ หมายถึง รักษาระดับความ

พอดี พอเหมาะสมของ การกระทํา339 90.9 34 9.1 สูง

2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเนนใหคนดําเนินชีวิตตามสภาพเศรษฐกิจ และกระแสสังคมขณะน้ัน

159 42.6 214 57.4 ตํ่า

3. การกูยืมเงิน เพ่ือพัฒนากิจการท่ีเรามีศักยภาพเปนส่ิงท่ีไมสามารถ กระทําได

89 23.9 284 76.1 ตํ่า

4. สมบูรณ ดําเนินชีวิตตามกระแสของสังคมไทยปจจุบัน โดยซ้ือส่ิงอํานวยความสะดวกทุกอยางท่ีคนอ่ืนๆ มี แสดงวาสมบูรณมีความพอประมาณ

89 23.9 284 76.1 ตํ่า

5. ส มใ จ กู เ งิ น มา ซ้ื อ เ ค รื่ อ ง ป รั บ อ า กา ศ แ ล ะโทรศัพทมือถือโดยท่ีสมใจ สามารถผอนชําระไ ด โ ด ย ไ ม เ ดื อ ด ร อ น ถื อ ว า ส ม ใ จ มี ค ว า มพอประมาณตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

130 34.9 243 65.1 ตํ่า

6. บริษัท ก.กูเงินมาลงทุนเพ่ิมดวยเห็นวาตลาดกํ า ลั ง เ ติ บ โ ต แ ส ด ง ว า บ ริ ษั ท ก . มี ค ว า มพอประมาณตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

128 34.3 245 65.7 ตํ่า

รวมเฉลี่ย 156 41.7 217 58.3 ตํ่า

จากตารางที่ 4.13 พบวา คําถามในภาพรวมเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานความพอประมาณ พบวา กลุมตัวอยางมากกวาคร่ึง จํานวน 217 คน คิดเปนรอยละ 58.3ที่ตอบผิด โดยกลุมตัวอยางตอบถูกมีจํานวน 156 คนคิดเปนรอยละ 41.7 เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวาขอที่กลุมตัวอยางตอบถูกมากที่สุดคือ ความพอประมาณ หมายถึง รักษาระดับความพอดี พอเหมาะสมของการกระทํา มีกลุมตัวอยางตอบถูก จํานวน 339 คนคิดเปนรอยละ 90.9 สวนขอที่กลุมตัวอยางที่ตอบผิดมากที่สุดคือ ขอที่ 3 การกูยืมเงิน เพื่อพัฒนากิจการที่เรามีศักยภาพเปนสิ่งที่ไมสามารถกระทําไดและขอที่ 4 สมบูรณดําเนินชีวิตตามกระแสของสังคมไทยปจจุบัน โดยซื้อสิ่งอํานวยความสะดวกทุกอยางที่คนอ่ืนๆ มี แสดงวาสมบูรณมีความพอประมาณ โดยกลุมตัวอยางที่ตอบผิดทั้ง 2 ขอ มีจํานวนเทากันถึง 284 คน คิดเปนรอยละ 76.1

Page 58: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

61

ตารางท่ี 4.14 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําแนกตามดานความมีเหตุผล

n = 373

ดานความมีเหตุผลตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ

ระดับจํานวน รอยละ

จํานวน รอยละ

1. การรูจักจัดระดับความสําคัญวาอะไรควรทํากอนและอะไรควรทําทีหลัง ไมไดแสดงถึง ความมีเหตุมีผล

146 39.1 227 60.9 ตํ่า

2. บุคคลท่ีดําเนินชี วิตตามความพึงพอใจของตนเองโดยไมเบียดเบียนผูอ่ืนถือวาเปนผูท่ีมีเหตุมีผล

277 74.3 96 25.7 สูง

3. การใชชีวิตบนพ้ืนฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตองไมกูยืมเงิน

197 52.8 176 47.2 ปานกลาง

4. สมภพ ไมยอมใหสมชายยืมเงินเพราะรูวาจะไมไดคืนแนนอน เน่ืองจากสมชายติดการพนันจึงตองเสียเพ่ือนไป แสดงวาสมภพมีเหตุผล ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

250 67.0 123 33.0 ตํ่า

5. สมศรี เปนขาราชการประจํา มีอาชีพเสริมโดยการขายหวยใตดิน ครอบครัวจึงสุขสบายแสดงวา สมศรีมีเหตุผลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

64 17.2 309 82.8 ตํ่า

6. เราไมสามารถนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตในการทําธุรกิจตองมุงแสวงหากําไร

120 32.2 253 67.8 ตํ่า

7. การคํานึงถึงความเหมาะสมของสภาพภูมิศาสตรและสังคมของ แตละชุมชนในการนําเทคโนโลยีจากตางชาติมาใชสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

245 65.7 128 34.3 ปานกลาง

รวม 186 49.8 187 50.2 ปานกลาง

Page 59: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

62

จากตารางที่ 4.14 พบวา คําถามในภาพรวมเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานความมีเหตุผล พบวา กลุมตัวอยางที่ตอบถูก จํานวน 186 คนคิดเปนรอยละ 49.8 สวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิด จํานวน 187 คน มีคารอยละเทากับ 50.2 มีจํานวนใกลเคียงกัน

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่กลุมตัวอยางตอบถูกมากที่สุดคือ ขอที่ 2 บุคคลที่ดําเนินชีวิตตามความพึงพอใจของตนเองโดยไมเบียดเบียนผูอ่ืนถือวาเปนผูที่มีเหตุมีผล มีกลุมตัวอยางตอบถูกจํานวน 277 คน คิดเปนรอยละ 74.3 สวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิดมากที่สุดคือ ขอที่ 5สมศรีเปนขาราชการประจํา มีอาชีพเสริมโดยการขายหวยใตดิน ครอบครัวจึงสุขสบายแสดงวา สมศรีมีเหตุผลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กลุมตัวอยางตอบผิด จํานวน 309 คน คิดเปนรอยละ 82.8

Page 60: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

63

ตารางท่ี 4.15 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานภูมิคุมกันในตัวท่ีดี

n = 373

ดานภูมิคุมกันในตัวท่ีดี ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

1. ผู ท่ีใชชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะเปนผูท่ีไมประมาทในการใชชีวิตประจําวัน

315 84.5 58 15.5 สูง

2. ผูท่ีมีหลักการหรืออุดมการณชีวิตจะไมสามารถปรับตัวใหสอดคลองกับกระแสโลกาภิวัตนไดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

143 38.3 230 61.7 ตํ่า

3 . เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป น แ น ว ท า งเตรียมพรอมเพ่ือเผชิญสถานการณความไมแนนอนในอนาคต

279 74.8 94 25.2 ปานกลาง

4. ความภาคภูมิใจในทองถ่ินของตนคือภู มิคุ มกันทางสังคมท่ีช วยใหไม ถูกครอบงําจากโลกภายนอก

291 78.0 82 22.0 สูง

5. สมพงษกูเงินจากสหกรณของหนวยงานตน ตามเพ่ือนๆ โดยไมไดวางแผนการใชเงินกอนน้ี แตเขาสามารถผอนสงไดอยางไมเดือดรอนตนเองและครอบครัวแสดงวาสมพงษมีภูมิคุมกันท่ีดี

165 44.2 208 55.8 ตํ่า

6. สมศักด์ิ มีสุขภาพรางกายแข็งแรง จึงยังไมคิดจะจัดสรรรายไดของตนเองไปทําประกันชีวิต แสดงวาสมศักด์ิมีภูมิคุมกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

134 35.9 239 64.1 ตํ่า

7. การท่ีเราเขารวมในงานประเพณีตางๆของทองถ่ินไมถือวาเปนการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตประการใด

141 37.8 232 62.2 ตํ่า

Page 61: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

64

ตารางท่ี 4.15 (ตอ)

ดานภูมิคุมกันในตัวท่ีดี ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ

8. การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน หมายถึง การท่ีชุมชนพยายามดําเนินกิจกรรมท้ังดานเศรษฐกิจสังคม และส่ิงแวดลอมใหเปนไปอยางสมดุล

317 85.0 56 15.0 สูง

9. การมีแผนสํารองและแผนเผชิญเหตุเปนการประยุกตเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติงานอยางหน่ึง

297 79.6 76 20.4 สูง

รวมเฉลี่ย 231 62.0 142 38.0 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.15 พบวา คําถามในภาพรวมเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี พบวา กลุมตัวอยาง จํานวน 231 คน คิดเปนรอยละ 62.0 ตอบถูกสวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิด จํานวน 142 คน รอยละ 38.0

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางที่ตอบถูกมากที่สุด คือ ขอที่ 8 การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน หมายถึง การที่ชุมชนพยายามดําเนินกิจกรรมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมใหเปนไปอยางสมดุล มีกลุมตัวอยางตอบถูก จํานวน317 คนคิดเปนรอยละ 85.0 สวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิดมากที่สุดคือ ขอที่ 6 สมศักด์ิมีสุขภาพรางกายแข็งแรง จึงยังไมคิดจะจัดสรรรายไดของตนเองไปทําประกันชีวิต แสดงวาสมศักด์ิมีภูมิคุมกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุมตัวอยางตอบผิด จํานวน 239 คน คิดเปนรอยละ 64.1

Page 62: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

65

ตารางท่ี 4.16 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานความรูn = 373

ดานความรู ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ1. ความพอใจในการแสวงหาความรูแลว

นําไปปฏิบัติจนเกิดความเขาใจในเรื่องน้ันๆ อย างแจมแจงคือองคประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

302 81.0 71 19.0 สูง

2. การไมแสดงความคิด เ ห็นใดๆ ในท่ีประชุมคือ การใชชี วิตท่ีสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

73 19.6 300 80.4 ตํ่า

3. นายสีหนาททบทวนแผนงานท่ีวางแผนอยางรอบคอบกอนทํางานเสมอ แสดงวานายสีหนาทมีความระมัดระวัง ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

282 75.6 91 24.4 สูง

4. สมดี เปนคนเกง ชอบอานหนังสือละมีความม่ันใจในตนเองวาเปนผูรูมาก จึงไมคอยรับฟงความคิดเห็นจากผูอ่ืน แสดงวาสมดีมีการใชชีวิตท่ีสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

104 27.9 269 72.1 ตํ่า

5. สมชาติ ทํางานท่ีไดรับมอบหมายเปนอยางดี จนไม เปนอันกินอันนอนถือวาสมชาติทํางานอยางรูกาลเทศะ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

135 36.2 238 63.8 ตํ่า

6. หนวยงาน ก.จัดอบรมเพ่ือพัฒนาความรูความสามารถใหบุคลากรในสังกัดเสมอเปนตัวอยางของการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงประการหน่ึง

278 74.5 95 25.5 ปานกลาง

รวมเฉลี่ย 196 52.5 177 47.5 ปานกลางจากตารางที่ 4.16 พบวา คําถามในภาพรวมเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จําแนกตามดานความรู พบวา กลุมตัวอยางจํานวน 196 คนหรือรอยละ 52.5 ตอบถูก สวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิด มีคารอยละที่ใกลเคียงกันคือ จํานวน 177 คนรอยละ 47.5 ตางกันเพียงรอยละ 5.0 เทาน้ัน

Page 63: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

66

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางที่ตอบถูกมากที่สุดคือ ขอที่ 1 ความพอใจในการแสวงหาความรูแลวนําไปปฏิบัติจนเกิดความเขาใจในเร่ืองน้ัน ๆ อยางแจมแจงคือองคประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีกลุมตัวอยางตอบถูก จํานวน 302 คนคิดเปนรอยละ 81.0 สวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิดมากที่สุดคือ ขอที่ 2 การไมแสดงความคิดเห็นใดๆ ในที่ประชุมคือ การใชชีวิตที่สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลุมตัวอยางตอบผิด จํานวน 300 คน รอยละ 80.4

ตารางท่ี 4.17 แสดงจํานวนและรอยละความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานความมีคุณธรรม

n = 373

ดานความมีคุณธรรม ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวคิดและ

วิธีการท่ีไมสามารถนําไปสูการปฏิบัติไดจริงในชีวิตประจําวัน

127 34.0 246 66.0 ตํ่า

2. การประพฤติตนเพ่ือกอใหเกิดประโยชนท้ังตนเองและสังคมประเทศชาติโดยรวม คือคุณธรรมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

299 80.2 74 19.8 สูง

3. หลักคุณธรรมท่ีสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความเพียรและรักสันโดษ

172 46.1 201 53.9 ตํ่า

4. การชวยเหลือเก้ือกูล เอ้ือเฟอเผื่อแผตอผู ท่ีเดือดรอนเปนแนวทางปฏิบัติหน่ึงของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

326 87.4 47 12.6 สูง

5. ประเทือง ไมรวมกิจกรรมใดๆในการพัฒนาชุมชนของตนเอง แสดงวาเปนคนรักสันโดษตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

69 18.5 304 81.5 ตํ่า

6. ชาวบานนาดีรวมกันขุดรองนํ้าเขาชุมชนตน ทําใหชุมชนบานนาสารไมมีนํ้าใช แสดงวาชุมชนนาดีมีความรูรักสามัคคี ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

151 40.5 222 59.5 ตํ่า

Page 64: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

67

ดานความมีคุณธรรม ตอบถูก ตอบผิด/ไมทราบ ระดับจํานวน รอยละ จํานวน รอยละ7. การจะพิจารณาวา การกระทําใดเปนไปตาม

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไมน้ัน ดูจากความถูกตองตามศีลธรรมสําคัญกวาความถูกตองตามหลักวิชาการ

224 60.1 149 39.9 ปานกลาง

8. สังคมแหงการแขงขันในโลกปจจุบันบางครั้งจําเปนตองเอาตัวรอด โดยเอาเปรียบผูอ่ืนและไมยอมเสียเปรียบใครเพ่ือชัยชนะสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

112 30.0 261 70.0 ตํ่า

เฉลี่ย 185 49.6 188 50.4 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.17 พบวา คําถามในภาพรวมเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจําแนกตามดานความมีคุณธรรม พบวา กลุมตัวอยางเกินกวาคร่ึง จํานวน 188 คนหรือรอยละ 50.4 ตอบผิด สวนกลุมตัวอยางที่ตอบถูก จํานวน 185 คน มีคารอยละที่ใกลเคียงกันคือ รอยละ 49.6 ตางกันเพียงรอยละ 0.8 เทาน้ัน

เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา กลุมตัวอยางที่ตอบถูกมากที่สุดคือ ขอที่ 4 การชวยเหลือเกื้อกูลเอ้ือเฟอเผ่ือแผตอผูที่เดือดรอนเปนแนวทางปฏิบัติหน่ึงของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีกลุมตัวอยางตอบถูกจํานวน 326 คน คิดเปนรอยละ 87.4 สวนกลุมตัวอยางที่ตอบผิดมากที่สุดคือ ขอที่ 5 ประเทืองไมรวมกิจกรรมใดๆในการพัฒนาชุมชนของตนเอง แสดงวาเปนคนรักสันโดษตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กลุมตัวอยางตอบผิด จํานวน 304 คน รอยละ 81.5

Page 65: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

68

4.4 การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน

ผูวิจัยไดทําการสัมภาษณกลุมอาจารยผูสอนวิชาดานสังคมศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตร และกลุมวิชาสังคมศาสตร คณะศิลปศาสตร จํานวน 8 ทาน และผูบริหาร ไดแก คณบดี คณะศิลปศาสตร รองคณบดี คณะศิลปศาสตร หัวหนาภาควิชาศึกษาทั่วไป จํานวน 3 ทาน สรุปดังน้ี

ตารางท่ี 4.18 แสดงสภาพท่ัวไปของผูใหสัมภาษณสถานภาพ จํานวน รอยละ

1. เพศชาย 3 27.27หญิง 8 72.73

2. อายุ41-50 ป 1 9.0951-60 ป 9 81.8260 ปขึ้นไป 1 9.09

3. วุฒิการศึกษาปริญญาโท 10 90.90ปริญญาเอก 1 9.10

4. ประสบการณการสอน1-10 ป 1 9.1011-20 ป 2 18.1820 ปขึ้นไป 8 72.72

5. ประสบการณในการเขารวมฝกอบรม ประชุม สัมมนา เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเคย 10 90.90ไมเคย 1 9.10

6. ทานเคยคนควาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเคย 11 100.00ไมเคย 0 -

จากตารางที่ 4.18 แสดงขอมูลทั่วไปของอาจารยผูสอน วิชาสังคมศาสตร กลุมวิชามนุษยศาสตรและกลุมวิชาสังคมศาสตร และ ผูบริหารคณะฯ โดยมีรายละเอียดดังน้ี อาจารยผูสอนและผูบริหารฯ เปนเพศหญิง จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 72.73 เปนเพศชาย จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 27.27 โดยสวน

Page 66: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

69

ใหญมีอายุอยูระหวาง 51- 60 ป จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 81.82 อายุ 41-50 ป จํานวน 1 คนคิดเปนรอยละ 9.09 และ อายุ 60 ปขึ้นไป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 9.09 มีวุฒิการศึกษา ปริญญาโท จํานวน10 คน คิดเปนรอยละ 90.90 วุฒิปริญญาเอก จํานวน 1 คน รอยละ 9.10 มีประสบการณการสอนมากกวา 20 ป จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 72.72 ประสบการณการสอน 11 – 20 ป จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 18.18 และมีประสบการณ 1- 10 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 9.10 อาจารยมีประสบการณในการเขารวมประชุม อบรม สัมมนาเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ90.90 และไมเคยมีประสบการณในการเขารวมประชุม อบรม สัมมนาเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง1 คน คิดเปนรอยละ 9.10 อาจารยผูสอนและผูบริหารสวนใหญเคยคนควาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จากการสัมภาษณอาจารยผูสอนและผูบริหาร พบวาไดมีการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนแตละดาน ดานการวางแผนการสอน วิธีการสอน สื่อการสอนกิจกรรมสนับสนุน และการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน โดยมีรายละเอียดดังตอไปน้ี

1) ดานความพอประมาณ1.1) ดานแผนการสอน อาจารยผูสอนไดจัดเตรียมแผนการสอนที่มีการเนนทั้งทางดาน

ทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันไปอยางสมดุล โดยไดจัดแบงหัวขอการสอน เพื่อสอดคลองการนําไปประยุกตไดในการดําเนินชีวิต ทั้งทางดานการดํารงตนและการทํางาน ในเคาโครงการสอนวิชาบัณฑิตอุดมคติไทยจัดใหมีหัวขอที่ไดสอดแทรกในเร่ืองการพึ่งตนเอง การใฝรู วิชาจิตวิทยาทั่วไปไดสอดแทรกแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ในการใชชีวิตในสังคม การจูงใจ การเรียนรู การปรับปรุงบุคลิกภาพ วิชาสังคมและการปกครอง และวิชาสังคมและเศรษฐกิจไดสอดแทรกแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในหัวขอที่เกี่ยวของกับสังคม อาจารยผูสอนในวิชามนุษยและอารยธรรมยังเสนอวาการสอดแทรกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกตไดเกือบทุกหัวขอ เพื่อเชื่อมโยงกับปญหาในปจจุบัน

” ดานแผนการเปดสอนวิชาในกลุมสังคมศาสตร คณะฯไดรับนโยบายจากมหาวิทยาลัยใหนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสอดแทรกในการจัดการเรียนการสอน จึงไดนําเสนอในที่ประชุมของภาควิชาศึกษาทั่วไป ใหมีการจัดทําแผนการสอนรายวิชาโดยประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงดังน้ันต้ังแตปการศึกษา 2551จึงจัดใหมีวิชา ศท.1506 เศรษฐกิจพอเพียง “

(ดรุณี ชูประยูร คณบดี คณะศิลปศาสตร สัมภาษณ วันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน2553 เวลา 10.30 น.)

Page 67: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

70

“.......................... จัดทําแผนการสอนที่สอดแทรกเน้ือหาเศรษฐกิจพอเพียงไวในหลักสูตรโดยสอดแทรกไวในเน้ือหาสวนแรกของวิชา ในหัวขอเกี่ยวกับสังคมโดยไดเนนทั้งทฤษฎีสังคมและการนําเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตในภาคปฏิบัติ “

( วิภาวี ตลึงจิตร รองคณบดี คณะศิลปศาสตรสัมภาษณ วันศุกรที่ 17 กันยายน2553 เวลา 14.30 น.)

1.2) ดานวิธีการสอน อาจารยผูสอนสวนใหญไดประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการสอน โดยเนนการมีสวนรวมของนักศึกษา เนนการทํางานรวมกันเปนหมูคณะ การรูจักประหยัด ทั้งดานวิธีการบรรยายเชน เร่ืองหน้ีสินชี้ใหเห็นถึงปรากฏการณที่ไดเกิดขึ้นหรือวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเกิดจากปญหาระดับบุคคล สูปญหาระดับสังคมที่ เปนสังคมบริโภคเนนวัตถุนิย ม นําสูปญหาระดับประเทศ ซึ่งสามารถประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการแกปญหา เน่ืองจากนักศึกษาสวนใหญไมไดมีความรูความเขาใจพื้นฐานในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ันอาจารยผูสอนหลายทานจึงมอบหมายใหนักศึกษาหาความรูดวยตนเอง และใหนักศึกษามีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น โดยเฉพาะวิชาเศรษฐกิจพอเพียงอาจารยผูสอนไดมอบหมายใหนักศึกษารูจักวิเคราะหรายรับ-รายจาย โดยการจัดทําบัญชีรายรับ-รายจายของตนเอง ต้ังแตเร่ิมเปดภาคเรียน และเมื่อสิ้นภาคการศึกษานักศึกษาทุกคนตองสรุปวาใชจายอะไรไปบาง และไดมีการใชจายเกินไปหรือไม หากมีการใชจายเกินไปนักศึกษามีแนวทางในการแกไขอยางไร ถือเปนตัวอยางในการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในดานความพอประมาณเพื่อสอนใหนักศึกษาตระหนยักถึงคุณคาของเงินทอง จะไดฝกนิสัยประหยัดฝกจิตสํานึกรูจักประมาณตนและนิสัยพอเพียง

“...................ในการสอนไดยกตัวอยางใหนักศึกษาเห็นถึงเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและกระแสการครอบงําโดยเทคโนโลยีและวัฒนธรรมตะวันตกทําใหสังคมไทยเปลี่ยน การใชเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวคิดในการดําเนินชีวิต จะทําใหนักศึกษาเผชิญหนากับกระแสโลกาภิวัตน.....................”

( ยุพา ชุมจันทร สัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553 เวลา 13.30 น.)

“..................... มีการมอบหมายใหนักศึกษาหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เนนการมีสวนรวมใหทํางานเปนกลุม มอบหมายใหนักศึกษาจัดทําบัญชีรายรับ -รายจายของตน และเมื่อสัปดาหสุดทายกอนสอบใหนักศึกษาวิเคราะหการจัดทําบัญชีของแตละคนนอกจากน้ันใหจัดทํารายงานเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงเปนกลุมแลวนําเสนอหนาชั้นเรียน”

( สยมพร ทองสาริ สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 14.30 น.)

Page 68: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

71

1.3) ดานสื่อการสอน อาจารยผูสอนสวนใหญใชสื่อการสอนที่เปนเอกสารประกอบการสอนและสื่อวีดีทัศน สื่อภาพยนตร วิชาบัณฑิตอุดมคติไทย อาจารยผูสอนไดใชกรณีศึกษาตัวอยางชุมชนเขมแข็งที่ประสบผลสําเร็จในการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนตนแบบชุมชนพอเพียงกรณีศึกษาตัวอยางบุคคลที่ประสบความสําเร็จในการนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตในการดําเนินชีวิต วิชาปรัชญาสังคมและจริยธรรมทางสังคมอาจารยผูสอนมอบหมายใหนักศึกษาชมรายการโทรทัศนปราชญชาวบาน ซึ่งเปนรายการที่นําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใหไดรับความรู

“...................จัดทําเอกสารประกอบการสอน โดยคนควาและเรียบเรียงจากหนังสือบทความ จากการสัมมนาในเร่ืองปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นอกจากน้ันนําสื่อวีดีทัศนมาใชประกอบการเรียนการสอน ยกตัวอยางชุมชนเขมแข็ง เชน ชุมชนเขมแข็งเทศบาลตําบลทับสะแก หมูบานสามขาชุมชนเขมแข็งดวยการเรียนรู เปนตน”

( สยมพร ทองสาริ สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 14.30 น. )

“.......................สื่อการสอนที่สอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการเรียนการสอนโดยใชสื่อวีดิทัศน เชน สื่อวิดีทัศนหลักธรรมะดิลิเวอร่ี สื่อวีดิทัศนของอาจารยจตุพล ชมพูนุท เปนตน”

( เสรี ชึขุนทด สัมภาษณวันจันทรที่ 20 กันยายน 2553 เวลา 15.00 น.)

1.4) ดานกิจกรรมสนับสนุน คณะฯไดสนับสนุนกิจกรรมการฝกอาชีพเสริมซึ่งจัดใหมีการสาธิตในงานสัปดาหวิชาของมหาวิทยาลัยทุกปโดยต้ังงบประมาณประจําปการศึกษา อาจารยผูสอนสวนใหญยังไดมอบหมายใหนักศึกษาทํากิจกรรมรวมกันเปนกลุมหรือหมูคณะ เพื่อสนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เชน การประยุกตใชวัสดุอุปกรณที่เหลือใชหรือใชแลวนํากลับมาใชอีก อาทิเชน การนําฟลมถายรูปที่ใชแลวมาทําของตกแตง การนําฝาเคร่ืองด่ืมมาทําเคร่ืองประดับ ทํากําไลและพวงกุญแจอีกตัวอยางหน่ึงในดานความพอประมาณ อาจารยผูสอนไดใหนักศึกษานําบัตรบันทึกรายการของหนังสือที่เคยใชแลวนํากลับมาใชใหม เปนการเนนการประหยัดไมฟุมเฟอย

“.............................คณะฯของบประมาณสวนกลางของมหาวิทยาลัยและต้ังงบประมาณของคณะฯประจําทุกปการศึกษา รวมจํานวน 15,000 บาทเพื่อสนับสนุนกิจกรรมจัดฝกวิชาชีพสําหรับวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ในงานสัปดาหวิชาการของมหาวิทยาลัยเปนประจําทุกป”

( วิภาวี ตลึงจิตร สัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553 เวลา 10.30น.)

Page 69: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

72

“.... .... ... .... .... ... .... การจัดกิจกรรมใหนักศึกษาโดยนําสิ่งของเหลือใชมาทําสิ่งประดิษฐใหม เชน ใหนักศึกษานําฟลมถายรูปที่ใชแลวมาทําของตกแตงบาน หรือใหทํากําไลจากฝาเบียร ทําพวงกุญเจือจากสายนํ้าเกลือที่ไมใชแลว เปนตน จากน้ันนักศึกษาจะตองมานําเสนอผลงานที่ตนประดิษฐหนาชั้นเรียนอธิบายถึงแนวคิดในการประดิษฐ “

(สยมพร ทองสาริ สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 14.30 น.)“วิชา ศท.1401 ซึ่งจะเปนวิชาที่นักศึกษาจะตองทําบัตรรายการบันทึกรายการหนังสือ ก็

จะใหนักศึกษานําบัตรรายการที่เคยใชแลว นํากลับมาใชใหมโดยใชดานที่ยังมีที่วางเหลืออยู”( สุภาพร โรจนศุภมิตร สัมภาษณวันจันทรที่ 20 กันยายน 2553 เวลา 10.30 น.)

1.5) ดานการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน อาจารยผูสอนไดมีการแจงวิธีและจัดแบงคะแนนในการวัดและประเมินผลทั้งภาคปฏิบัติและทฤษฎีควบคูอยางสมดุล การวัดและประเมินผลตามสภาพความเปนจริง ตามความสามารถของนักศึกษา

“ ในการประมวลการเรียนการสอนรายวิชา ศท.1506 หัวขอวิธีการวัดและประมวลผลอาจารยจะจัดใหคะแนนระหวางภาค โดยคิดเปนรอยละโดยแบงเปน 1) เขาเรียนสม่ําเสมอ รอยละ 10 2)นักศึกษาทํากิจกรรมเร่ืองการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง รอยละ 20 3)พานักศึกษาไปทัศนศึกษาและใหนักศึกษาทํารายงานประกอบรอยละ 20 และ 4 ) การสอบปลายภาค รอยละ 50 “

“..................จะออกขอสอบที่เนนทั้งภาคทฤษฎีต้ังคําถามในเชิงความรูและการนําทฤษฎีไปประยุกตกับสถานการณในปจจุบัน เพื่อประเมินผลดานความเขาใจ”

(สยมพร ทองสาริสัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 14.30 น.)

2) ดานความมีเหตุมีผล2.1) ดานแผนการสอน อาจารยผูสอนไดนําปรัชญาเศรษฐกิจมาใชปฏิบัติในการวางเคา

โครงการสอน โดยการศึกษาคนควาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆ การสืบคนทางอินเตอรเน็ ตเอกสาร ตํารา งานวิจัย และจากการเขารับการอบรมสัมมนา มาใชเปนขอมูลในการวางแผนการเรียนการสอน

“ คณะฯมีนโยบายใหอาจารยสวนใหญนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต ในการจัดทําแผนการสอนและวางแผนขั้นตอนการทํางานกอนจัดทําหลักสูตร โดยศึก ษาวิเคราะหองคความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากเอกสารหรือตําราตางๆ แลวนํามาสอดแทรกในแผนการสอน”

Page 70: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

73

( ดรุณี ชูประยูร คณบดี คณะศิลปศาสตรสัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553เวลา 15.00 น.)

“............................นําความรูที่ไดจากการเขารวมสัมมนาดานเศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษาและบทความวิชาการ งานวิจัยมาประยุกตในการวางแผนการสอนในวิชาที่รับมอบหมาย”

( ฉัตรรัตน เชาวลิต สัมภาษณวันจันทรที่ 20 กันยายน 2553 เวลา 10.30 น. )

2.2) ดานวิธีการสอน อาจารยผูสอนไดอธิบายชี้แจงวัตถุประสงครายวิชาของหลักสูตรตลอดจนชี้แจงใหนักศึกษาทราบและศึกษาคนควาดวยตนเอง เปดโอกาสใหนักศึกษาไดซักถามและนําเสนออยางเปนเหตุเปนผล

“.............................จะชี้แจงวัตถุประสงค รายละเอียดของวิชาใหนักศึกษาไดรับทราบ ในเน้ือหาบทเรียนจะบรรยายใหนักศึกษาเขาใจ โดยการยกตัวอยางกรณีศึกษา ชี้ใหเห็นแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนวิธีการซึ่งจะนําไปสูเปาหมายคือการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่นํามาประยุกตไดระดับบุคคล ระดับสังคมและระดับประเทศ”

( ยุพา ชุมจันทร สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 10.30 น.)“...............................บรรยายในเน้ือหาภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ใหนักศึกษาแสดง

ความคิดเห็น และการมีสวนรวม เปดโอกาสใหนักศึกษาไดซักถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น แลวอาจารยจะเปนผูสอดแทรกแนวคิดตางๆดานวิชา ที่เปนเหตุเปนผล เพื่อใหนักศึกษาเกิดความเขาใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น”

( ประไพพิศ เขมะชิต สัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553 เวลา 14.00 น.)2.3) ดานสื่อการสอน อาจารยผูสอนสวนใหญไดจัดหาสื่อการสอนที่ เกี่ยวของกับ

เน้ือหาวิชา เชน การใชภาพยนตรเกี่ยวของกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่เปนพระบรมราโชวาทของสมเด็จพระเจาอยูหัว เพื่อสื่อใหนักศึกษาเกิดความรูความเขาใจในวิชาเศรษฐกิจพอเพียง

“.......................สําหรับสื่อการสอน นอกจากเอกสารประการสอนที่จะใชอานประกอบแลว สื่อการสอนที่จะใหความรูความเขาใจไดอีกวิธีหน่ึง คือ การใชสื่อภาพยนตรที่เปนกรณีศึกษา โดยสอดแทรกในการสอนใหเห็นภาพที่ชัดเจน”

( สมชาย กําปนทอง สัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553 เวลา 10.00 น.)

“.......................นอกจากเอกสารประกอบการสอน และวิธีการบรรยายแลว การยกตัวอยาง กรณีศึกษาบุคคลที่เปนตัวอยางที่ประสบความสําเร็จ เชน นายแพทยประเวศ วะสี นายสัญญา

Page 71: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

74

ธรรมศักด์ิ เปนตนเปนสื่อการสอนที่ดี นอกจากน้ันจะฉายภาพยนตที่เกี่ยวกับโครงการตามพระราชดําริของสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลที่ทําใหประชาชนชาวไทยไดรับประโยชนไดแก การใชทฤษฎีใหมมาเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของเกษตรกร.......................”

( สยมพร ทองสาริ สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 16.00 น.)

2.4) ดานกิจกรรมสนับสนุน อาจารยผูสอนวิชาบัณฑิตอุดมคติ ไดจัดกิจกรรม/โครงการนํานักศึกษาเดินทางไปปฏิบัติธรรม ฝกสมาธิ ณ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงหบุรี ระยะเวลา 3 วัน เพื่อปลูกฝงดานจริยธรรม ศีลธรรม ที่ทําใหนักศึกษาเกิดความเชื่อเกี่ยวกับกฎแหงกรรม ที่ชี้ใหเห็นถึงการทําดียอมไดผลดีตามหลักพุทธศาสนา

“.........................ใหนักศึกษารวมกิจกรรมฝกวิชาชีพเสริมซึ่งเปนโครงการของคณะศิลปศาสตรในสัปดาหวิชาการ เพื่อใหนักศึกษารูจักการปฏิบัติตนใหมีคุณคา ไมปลอยเวลาวางใหหมดไปโดยไมเกิดประโยชน”

(สยมพร ทองสาริ สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 16.00 น.)“....................จัดกิจกรรมสนับสนุนปลูกฝงดานจริยธรรม ศีลธรรมใหแกนักศึกษา

โดยการปฎิบัติธรรม ณ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงหบุรี ระยะเวลา 3 วัน 2 คืนทุกภาคการศึกษาที่เปดวิชาน้ีเพื่อกลมเกลาจิตใจนักศึกษา ทําใหนักศึกษาเกิดความเขาใจในหลักธรรมคําสอนของศาสนาพุทธ และเขาใจถึงการทําความดี และกฎแหงกรรม เพื่อประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดี”

( ฉัตรรัตน เชาวลิต สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 13.30 น.)2.5) ดานการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน อาจารยผูสอนไดออกขอสอบโดยให

นักศึกษาวิเคราะหปญหาดวยตนเอง เนนการแสดงความคิดเห็นประเด็นตางๆ วิชาเศรษฐกิจพอเพียงและวิชาบัณฑิตอุดมคติไทย เนนการประยุกตทฤษฎี เพื่อไปใชในการดําเนินชีวิต

“........................การวัดผลการศึกษาของวิชาบัณฑิตอุดมคติไทย จะออกขอสอบที่เนนใหนักศึกษาวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นจริงในสังคมไทย โดยใหนักศึกษา วิเคราะหที่มาของปญหาตางๆที่เกิดขึ้นในสังคมไทยและผลที่จะไดรับ ตลอดจนวิธีแกไขปองกัน”

( ฉัตรรัตน เชาวลิต สัมภาษณ วันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 13.30 น.)“การออกขอสอบจะแบงสวนทั้งภาคทฤษฎีและการประยุกตทฤษีไปใชในการดําเนิน

ชีวิต อยางละเทากัน โดยเนนใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็นในกรณีศึกษาตางๆที่เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นในสังคม”

( ยุพา ชุมจันทร สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 10.30 น.)

Page 72: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

75

3) ดานภูมิคุมกันในตัวท่ีดี3.1) ดานแผนการสอน อาจารยผูสอนสวนใหญไดสอดแทรกเน้ือหาดานคุณธรรม ใน

หัวขอที่เกี่ยวของกับการใชชีวิตในสังคม การดํารงตน ไดแก วิชาจิตวิทยาทั่วไป วิชาบัณฑิตอุดมคติไทยซึ่งสวนใหญหัวขอบรรยายเนนความมีคุณธรรม การสรางคานิยม การมีความรูคูคุณธรรมในวิชาปรัชญาสังคมและจริยธรรมทางสังคม

“......................จะกําหนดระยะเวลาในการจัดการเรียนการสอนใหเพียงพอ กําหนดสิ่งที่จะสอน โดยนํานโยบายของคณะฯมาเปนเกณฑ และจัดการเรียนการสอนที่สอดแทรกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเขาไปในแผนการสอน”

(สมชาย กําปนทอง สัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553 เวลา 10.00 น.)

“..........................หัวขอการบรรยายจะสอดแทรก การสรางคานิยมจริยธรรมศีลธรรมเขาไปในหัวขอตางๆที่เกี่ยวของกับการดํารงตนในสังคม.............................”

( ฉัตรรัตน เชาวลิต สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 10.30 น.)

3.2) ดานวิธีการสอน อาจารยผูสอนสวนใหญไดสอดแทรกแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใหนักศึกษาสามารถประยุกตความรูไดอยางเหมาะสมภายใตคุณธรรม ใหนักศึกษาคิดวิเคราะหสถานการณตางๆที่เกิดขึ้นและการเตรียมความพรอมของตน การปฏิบัติตนอยูในระเบียบวินัย การสืบสานวัฒนธรรมไทย การปฏิบัติตามคําสอนทางศาสนา

“...........................วิธีการสอนต้ังแตเร่ิมคร้ังแรกของการเรียนการสอน จะปลูกฝงความรูดานคุณธรรมเปนสิ่งสําคัญ ในการเรียนใหประสบผลสําเร็จไดแก การตรงตอเวลา ความรับผิดชอบ ความมีนํ้าใจเอ้ือเฟอเผ่ือแผ เปนตน”

(โกญจนาท เจริญสุข สัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553 เวลา 17.00 น.)“ในการเรียนการสอนจะปลูกฝงใหนักศึกษาปฏิบัติตนอยูในระเบียบวินัยของ

มหาวิทยาลัย ซึ่งจะเปนประโยชนตอผูปฏิบัติและสังคมที่มีบุคคลอยูในระเบียบวินัยยอมนําความเจริญมาสูสังคมน้ัน โดยยกตัวอยาง กรณีศึกษาที่เปนปรากฏการณใหเห็นอยูในปจจุบัน นอกจากจากน้ันจะใหความสําคัญกับวัฒนธรรมไทย ที่เปนแบบอยางที่ดี เชน การเคารพผูใหญมีสัมมาคารวะ การออนนอมถอมตนเปนตน อีกประการหน่ึงคือการประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดีอยูในศีลธรรม”

( ฉัตรรัตน เชาวลิต สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา16.00 น.)

Page 73: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

76

3.3) ดานสื่อการสอน อาจารยผูสอนในวิชาที่มีหัวขอเกี่ยวของกับจริยธรรมทางสังคมอาจารยสวนใหญใชวิธีการบรรยายใหความรู โดยใชเอกสารประกอบการสอน ใชวีดีทัศนที่เกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่น การอนุรักษศิลปวัฒนธรรม การอนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อสื่อใหนักศึกษามีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม เห็นคุณคาของวัฒนธรรมคานิยมความเปนไทย ทามกลางการเปลี่ยนตางๆ

“.......................ใหนักศึกษาติดตามรายการทางโทรทัศน ไดแก รายการธรรมะดิลิเวอร่ี เพื่อศึกษาหลักธรรมคําสอนของศาสนา รายการปราชญชาวบาน (พอเพียง) เพื่อสรางความรูความเขาใจในภูมิปญญาทองถ่ินที่ควรอนุรักษเปนมรดกของประเทศไทย เชนการใชสมุนไพรไทยในการรักษาโรคเปนตน”

( เสรี ชึขุนทด สัมภาษณวันจันทรที่ 20 กันยายน 2553 เวลา 10.00 น.)

“......................ใชสื่อวิดีทัศนในการใหความรูเกี่ยวกับการอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทยการอนุรักษสิ่งแวดลอมเพื่อรักษาทรัพยากรที่มีคุณคาทางธรรมชาติ เชนอุทยานแหงชาติแหลงตางๆเปนการสรางจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม “

( สยมพร ทองสาริ สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา 16.00 น.)

3.4) ดานกิจกรรมสนับสนุน อาจารยผูสอนวิชาบัณฑิตอุดมคติไทย จัดกิจกรรมใหนักศึกษาฝกปฏิบัติธรรมโดยฝกทําสมาธิ ณ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงหบุรีระยะเวลา 3 วัน 2 คืน เปนกิจกรรมสรางเสริมคุณธรรมจริยธรรมในตนแกนักศึกษา นอกจากน้ันจัดใหมีโครงการจิตอาสา โดยใหนักศึกษาทํากิจกรรมกลุมยอย จัดกิจกรรมเพื่อสังคม ไดแก การรับบริจาคสิ่งของและนําไปมอบแกบานพักฉุกเฉิน บานเด็กออน บานพักคนชรา ศูนยโรคเอดส ชุมชนคลองตัน เปนตน ทําใหนักศึกษาตระหนักในหนาที่การปฏิบัติตนเปนคนดีของสังคม รูจักเสียสละ การมีสวนรวมในสังคม เปนการปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม การจัดบอรดวิชาการ โครงการคนดีของสังคมไทย ศึกษาชุมชนทองถิ่นเปนแหลงเรียนรูและ สัมภาษณอาชีพที่สนใจ แนวโนมในการเลือกอาชีพ ใหเปรียบเทียบอดีตและปจจุบัน

“....................ใหนักศึกษาแบงกลุมยอยโดยเขียนโครงการจิตอาสา เปนกิจกรรมที่เปนการบริการสังคม เชน การรับบริจาคสิ่งของเคร่ืองใชที่จําเปน แลวนําไปบริจาคยังบานพักฉุกเฉินบานเด็กออน บานเด็กพิการซับซอน บานพักคนชรา (บางแค)บานราชวดี ชุมชนคลองตันเพื่อใหนักศึกษารูจักเสียสละ การปลูกจิตสํานึกดานคุณธรรม การมีสวนรวมในสังคมไทย”

(ฉัตรรัตน เชาวลิต สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา16.00 น.)

Page 74: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

77

“.....................ใหนักศึกษาจัดบอรดวิชาการ โครงการคนดีของสังคมไทยนําเสนอชีวประวัติของบุคคลตัวอยาง ที่เปนแบบอยางที่ดีในสังคมไทย เชน หลวงตามหาบัว เปนตน

( สยมพร ทองสาริ สัมภาษณวันจันทรที่ 20 กันยายน 2553 15.00 น.)

“................... กิจกรรมในแตละภาคการศึกษา จะใหนักศึกษาทํารายงาน 2 สวน ไดแกหาความรูจากแหลงการเรียนรูจากชุมชนทองถ่ิน และใหนักศึกษาสัมภาษณอาชีพที่สนใจ เพื่อดูแนวโนมในการเลือกอาชีพ ทัศนะการมองชีวิตบุคคลเพื่อสะทอนสังคมไทย โดยใหเปรียบเทียบอดีตและปจจุบัน”

(ยุพา ชุมจันทร สัมภาษณวันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน 2553 เวลา 13.30 น.)

3.5) ดานการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน อาจารยผูสอนไดจัดแบงการวัดผลการเรียนการสอน โดยจัดใหมีคะแนนสําหรับกิจกรรมที่ใหนักศึกษามีสวนรวมและคะแนนการสอบที่วัดความรูและความเขาใจ โดยการแสดงความคิดเห็นของนักศึกษา และการประยุกตความรูที่ไดรับกับสถานการณที่เกิดขึ้นจริง โดยจัดแบงคะแนนอยางสมดุล โดยเนนใหนักศึกษา คิด วิเคราะหเชื่อมโยงสูเหตุการณในปจจุบัน

“.......................ในการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน จะจัดแบงคะแนนสําหรับการสอบและการทํากิจกรรมที่เกิดประโยชนฯตอสังคม( ทําเปนกลุม) ซึ่งนักศึกษาจะตองมานําเสนอหนาชั้นเรียนใหเพื่อนๆๆไดรับทราบ”

( ฉัตรรัตน เชาวลิต สัมภาษณวันศุกรที่ 17 กันยายน 2553 เวลา10.30 น.)

“จะวัดและประเมินผลการเรียนจะจัดแบงคะแนนสําหรับกิจกรรมงานกลุมและงานเดียว และการสอบปลายภาค สําหรับงานงานกลุมจะใชวิธีการสังเกตและสัมภาษณ ใหนักศึกษาแสดงความคิดเห็น เนนการทํางานโดยแบงกันทําและสงตามเวลาที่กําหนด ใหนักศึกษามีความรับผิดชอบรวมกัน และใหนักศึกษาในชั้นชั้นเรียนชวยกันวิจารณผลงานของเพื่อน”

( สุภาพร โรจนศุภมิตร สัมภาษณวันจันทรที่ 20 กันยายน 2553 เวลา 15.00 น.)

สรุปการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนของอาจารยผูสอนและผูบริหาร ครอบคลุม 5 ดาน ไดแก 1) ดานแผนการสอน 2) ดานวิธีการสอน 3) ดานสื่อการสอน 4)ดานกิจกรรมสนับสนุน และ 5) ดานการวัดและประผลการเรียนการสอน ในดานความพอประมาณ ดานความมีเหตุผล และดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี สรุปไดดังน้ี

Page 75: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

78

ตารางท่ี 4.19 การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ภูมิคุมกันในตัวท่ีดี

1. แผนการสอน เนนทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันอยางสมดุล

ศึกษาแหลงความรูมาเปนขอมูลวางแผนการสอน

ส อ ด แ ท ร ก เ นื้ อ ห า ด า นคุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร มห ลั ก ธ ร ร ม คํ า ส อ น ข อ งศาสนาในบทเรียน

2. วิธีการสอน เ น น ก า ร มี ส ว น ร ว ม ข อ งนักศึกษา ทํางานเปนหมูคณะใหนักศึกษาทําบัญชีควบคุมคาใชจายของตนเอง ฝกนิสัยรักความประหยัด

ช้ีแจงวัตถุประสงคของวิชา การแบงคะแนนและการวัดผลเปดโอกาสใหซักถามและนําเสนออยางมีเหตุผล

ใหนักศึกษาวิเคราะหส ถ า น ก า ร ณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใ นสังคมไทยและแสดงความคิดเห็นหาแนวทางแกไขการปฏิบัติตนอยูในระเบียบวินัย เชน การตรงตอเวลาความรับผิดชอบฯลฯ สืบสานวัฒนธรรม ปฏิบัติตนตามหลักคําสอนของศาสนา

3. ส่ือการสอน ชมวีดีทัศนกรณีศึกษาชุมชนเขมแข็งที่ประสบความสําเร็จชมรายการโทรทัศนปราชญชาวบาน

จั ด ห า ส่ื อ ก า ร ส อ น ที่เก่ียวของกับรายวิชาใชภาพยนตโครงการตามพระราชดําริเ พ่ือใหเกิดความเขาใจ

เอกสารประกอบการสอนที่เ ก่ียวของกับจริยธรรมในสังคมไทย คานิยมไทยวีดีทัศนที่เก่ียวกับภูมิปญญาท อ ง ถ่ิ น ก า ร อ นุ รั ก ษส่ิงแวดลอม

4. กิจกรรมสนับสนุน กิ จ ก ร ร ม เ ป น ก ลุ ม โ ด ยประยุกตวัสดุอุปกรณที่เหลือใชหรือใชแลวมาประดิษฐส่ิงของที่ใชใหเกิดประโยชนเนนการประหยัด

จั ด โ ค ร ง ก า ร เ ดิ น ท า งปฏิ บั ติ ธร ร ม ณ ศ าสนสถาน เ พ่ือปลูกฝงด านจ ริ ย ธ ร ร ม ศี ล ธ ร ร มปลูกฝงความเช่ือดานกฎแหงกรรม

จั ด กิ จ ก ร ร ม จิ ต อ า ส า ยั งบานพักคนชรา(บางแค) บานเด็กออน ชุมชนคลองตันบานราชวดีจัดบอรดวิชาการแสดงถึงบุคคลที่เปนตัวอยางการทําความดี

5. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน

แจงวิธีการวัดผลและจัดแบงคะแนนทั้ งภาคทฤษฎีและป ฏิ บั ติ ค ว บ คู อ ย า ง ส ม ดุ ลประเมินผลตามสภาพความเปนจริง ตามความสามารถของนักศึกษา

อ อ ก ข อ ส อ บ โ ด ย ใ หวิ เ ค ร า ะ ห ป ญ ห า ด ว ยตน เ อ ง เ น น การ แ สด งความคิดเห็น การประยุกตทฤษฎีไปใชในการดําเนินชีวิต

จัดใหมีการวัดผลในการทํากิจกรรมที่ใหนักศึกษามีสวนรวม วัดและประเมินผลจากการทํ างานส งตามเวลาที่กํ า ห น ด แ ล ะ มี ค ว า มรับผิดชอบตอผลงาน

Page 76: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

79

4.5 ขอเสนอแนะเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกริก

ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกริก พบวา กลุมตัวอยางไดใหขอเสนอแนะดังน้ี

1) ตองรูจักนํามาประยุกตเพื่อใหเกิดประโยชนแก สังคม ผูอ่ืน และตนเอง2) ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนทฤษฎีที่สามารถปฏิบัติไดจริง แตตองสามารถนําไปใชใน

ชีวิตประจําวันใหถูกตองตามหลัก และสามารถประยุกตใชใหเขากับสังคม และเศรษฐกิจได ขึ้นอยูกับการนําไปใช

3) แจกเอกสารเกี่ยวกับการสอนเฉพาะที่มีความสําคัญในการสอน สวนตัวอยางก็ใหอาจารยผูสอนนําเสนอในชั้นเรียนโดยเคร่ืองแอลซีดี ไมตองแจกเอกสาร จะทําใหประหยัด

4) ควรจัดใหบุคลากรและนักศึกษาไดมีโอกาสไปทัศนศึกษาดูงานในพื้นที่ที่ทําเกษตรทฤษฎีใหมโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

5) เศรษฐกิจพอเพียงจําเปนอยางยิ่งตอชีวิตในอนาคต จึงอยากใหทางมหาวิทยาลัยมีการสอนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หรือมีการจัดกิจกรรมใหความรูแกนักศึกษา และประชาสัมพันธใหมากขึ้น

6) ตองการใหมีขอมูลเสนอเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหมากขึ้น เพื่อนักศึกษาจะไดซึมซับ

7) ควรใหมีประชาสัมพันธ หรือขาว ขอมูลขาวสารในมหาวิทยาลัยมากกวาน้ี และในการเรียนการสอนก็มีการสอดแทรกเน้ือหาลงในการสอนอยูแลวอันน้ีก็ถือวาดี แตตองขยายขอมูลขาวสารใหกวางไกลมากกวาน้ี เน่ืองจากเวลามีขาวอะไรก็ตามไมใชแตเร่ืองของเศรษฐกิจพอเพียง แตทุกๆ เร่ืองทุกๆ ขาวก็อยากใหนักศึกษาทุกๆ คนไดรูทั่วถึงกัน

8) อยากจะใหทางมหาวิทยาลัยมีการจัดสัมมนาเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มมากขึ้น แล ะมีการประชาสัมพันธขาวสารขอมูลใหครอบคลุมและมากกวาน้ีในดานตางๆ

9) ควรเปดหลักสูตรเศรษฐกิจพอเพียงและใหมีวิชาที่เนนเร่ืองน้ี อยางจริงจัง เพื่อใหนักศึกษาไดรูลึกซึ้งถึงหลักเศรษฐกิจพอเพียง

10) ควรจะสํารวจการใชชีวิต การดําเนินกิจกรรมประจําวัน และแกไขปญหาใหตรงจุด เชนการเบิกงบในการทํากิจกรรมควรดูความเหมาะสม สภาพอากาศหนาวไมควรเปดแอร

11) ตองเปลี่ยนการแจกเอกสารตางๆ ใหนักศึกษาจดหรือคนควาเอง เพราะวาการแจกเอกสารน้ัน นักศึกษาบางคนเอาไปแลวไมอาน บางทีก็เขียนเลน จึงเปนการเปลืองกระดาษ ดังน้ันตองเปนการจดหรือเขียนแทน

Page 77: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

80

12) ดานเอกสาร ในการจัดทําแบบสอบถามควรจะจัดใหมีการแสดงขอความที่สั้นกระชับประหยัดเวลาในการทําแบบสอบถาม ดานองคความรู ควรจะจัดใหมีการบูรณาการปรัชญาใหสอดคลองกับสภาพของมหาวิทยาลัย

13) อยากใหอาจารยจัดกิจกรรมหรือมีการสอนในเร่ืองของเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มเติม และสอนใหนักศึกษามีความกระตือรือรนในการที่จะทํากิจกรรม หรือการทํางานนอกเวลาเรียนมากขึ้นเพื่อกระตุนใหนักศึกษามีประสบการณในการทํางานและไดรู จักการนําความรูที่ไดเรียน ไปประยุกตใชกับการทํางานมากขึ้น เพื่อเปนการฝกฝนความรูที่ไดเรียนมาดวย และเพื่อปองกันมิใหนักศึกษาวางจากการเรียนแลวเอาเวลาวางกลับหองไปนอนอยางเดียว และอยากใหอาจารยชวยกระตุนใหนักศึกษารูจักใชเวลาวางใหเกิดประโยชนมากกวาที่ทําอยู

14) ควรจัดหาหองเรียนใหเหมาะสมกับจํานวนนักศึกษาที่จะเรียนในวิชาน้ัน เพื่อประหยัดพลังงาน

15) จัดอบรมอาจารยผูสอนถึงการสอดแทรกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนการสอนอยางไร โดยอาจจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการใหเปนรูปธรรม

16) ควรสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับปรัชญาเศรษฐกิจพอ เพียงเปนกิจกรรมหลักเปนงานในระดับคณะ และสนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมใหเพียงพอในแตละป

17) ในการปฐมนิเทศและปจฉิมนิเทศใหสอดแทรกความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไวในหลักสูตร

Page 78: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

81

บทที่ 5สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง “การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก” โดยวัตถุประสงคในการวิจัยเพื่อศึกษาระดับความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี และศึกษาการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรีตลอดจนขอเสนอแนะตางๆ เพื่อประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริกตอไป

ประชากรที่ใชในการวิจัยคือ อาจารยผูสอนและนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นปประจําปการศึกษา 2553 โดยกลุมตัวอยางที่เปนอาจารยผูสอน ระดับปริญญาตรีและผูบริหารคณะวิชาที่เกี่ยวของ จํานวน 11 คน กลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษา จํานวน 400 คน จากจํานวนนักศึกษา 2,863 คนสถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลคือ คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) โดยวิเคราะหและประมวลผลขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ สําหรับการศึกษาการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ผูวิจัยไดสัมภาษณ อาจารยผูสอนและผูบริหาร

เคร่ืองมือที่ใชในการเก็บขอมูลคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ แบบสอบถามแบงเปน 4ตอนคือ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 คําถามเกี่ยวกับแหลงในการรับรูขอมูลขาวสารความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และตอนที่ 4 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกริก

5.1 สรุปผล

5.1.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยางจากผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 20 ป

หรือนอยกวา สวนใหญกําลังศึกษาอยูในคณะบริหารธุรกิจ มากกวาคร่ึงคือ รอยละ 67.8 มีคุณวุฒิกอนเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยเกริก อยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สวนใหญมีภูมิลําเนาอยูในภาคกลางอาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัวสวนใหญเปนเกษตรกร

Page 79: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

82

5.1.2 แหลงในการรับรูขาวสารขอมูลเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

จากผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษามีการรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในภาพรวมอยูในระดับบอยคร้ัง เมื่อพิจารณาเปนรายดานและเรียงลําดับจากมากไปหานอย พบวา แหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริก นักศึกษาใหความสําคัญเปนลําดับแรก และนักศึกษารับรูขาวสารมากที่สุดจากอินเตอรเน็ต รองลงมาคือ จากโทรทัศน หนังสือพิมพ เพื่อนนิตยสาร/วารสาร คนในครอบครัว และวิทยุ ตามลําดับ สําหรับแหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริกนักศึกษาใหความสําคัญรองลงมา และนักศึกษามีการรับรูขาวสารจากการมอบหมายงานของอาจารยผูสอน รองลงมาคือ การสอดแทรกของอาจารยผูสอน และหลักสูตร/วิชาเรียน หนังสือ บทความงานวิจัยจากหองสมุด สื่อประชาสัมพันธในมหาวิทยาลัย นโยบาย /แผนงานของมหาวิทยาลัยเกริกนิทรรศการ การประชุมสัมมนา/การอภิปรายผลงานทางวิชาการ และจากการศึกษาดูงาน ตามลําดับ

5.1.3 ความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

การศึกษาระดับความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ทุกคณะ ทุกชั้นป ของมหาวิทยาลัยเกริก ประจําปการศึกษา 2553 ซึ่งวัดระดับความรู 6 ดาน คือ ดานภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดานความพอประมาณ ดานความมีเหตุผล ดานภูมิคุมกันในตนที่ดีดานความรู และดานความมีคุณธรรม จํานวน 38 ขอ 38 คะแนน

จากผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญมีความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยูในระดับตํ่ารองลงมาคือ มีความรูในระดับปานกลาง ดานที่กลุมตัวอยางมีความรูอยูในเกณฑระดับปานกลาง ไดแกดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี ดานภาพรวมของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดานความรู และดานคุณธรรมสวนนักศึกษามีความรูในเกณฑระดับตํ่า ไดแก ดานความมีเหตุผลและดานความพอประมาณ

5.1.4 การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน

การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ของอาจารยผูสอนพบวาอาจารยสวนใหญอายุเฉลี่ย 50 ป มีประสบการณการสอนมากกวา 25 ป วุฒิปริญญาโท ทางดานสังคมศาสตร การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ทั้ง 3 ดาน คือ ดานความพอประมาณ ดานความมีเหตุผลและดานภูมิคุมกันในตัวที่ดี โดยครอบคลุมการจัดการเรียนการสอน 5 ดาน ไดแก ดานแผนการสอน ดานวิธีการสอน ดานสื่อการสอน ดานกิจกรรมสนับสนุน และดานการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน สรุปไดดังน้ี

Page 80: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

83

1) ดานความพอประมาณ อาจารยผูสอนไดประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ดานความพอประมาณ โดยรวมอยูในระดับมาก อาจารยผูสอนไดมีการวางแผนการสอนที่เนนดานทฤษฎีและปฏิบัติควบคูกันอยางสมดุล เนนวิธีการสอนที่มีสวนรวม การรูจักประหยัด ใชสื่อการสอนที่สามารถใชและหาไดงาย การจัดกิจกรรมสนับสนุนโดยใหนักศึกษาทํางานรวมกันเปนกลุมหรือหมูคณะ ไดแก การนํามาใชใหมของวัสดุตางๆ การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนไดแจงวิ ธีและจัดแบงคะแนนอยางสมดุล

2) ดานความมีเหตุผล อาจารยผูสอนไดประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดการเรียนการสอน ดานความมีเหตุผล โดยรวมอยูในระดับมาก อาจารยผูสอนไดวางแผนการสอนจากแหลงการเรียนรูตางๆ อาจารยไดชี้แจงแนวทางในการเรียนการสอน วัตถุประสงคของรายวิชา จัดหาสื่อการสอนที่เกี่ยวของและเชื่อมโยงกับเน้ือหา การจัดกิจกรรมสนับสนุนที่ปลูกฝงดานคุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรมเพื่อชี้ใหเห็นถึงผลของการทําความดี การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนโดยวัดความรูและประยุกตทฤษฎีในการปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานของหลักสูตร

3) ดานภูมิคุมกันในตัวท่ีดี อาจารยผูสอนไดประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดานภูมิคุมกันในตนที่ดีโดยรวมอยูในระดับมาก อาจารยผูสอนไดสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในแผนการสอน ดานวิธีการสอนใหนักศึกษาวิเคราะหสถานการณและเตรียมความพรอมของตน ตลอดจนเนนดานระเบียบวินัยสืบสานวัฒนธรรมไทย ใชสื่อการสอนที่เนนดานสรางจิตสํานึกคานิยมความเปนไทยและภูมิปญญาทองถิ่น จัดกิจกรรมที่เสริมสรางคุณธรรมจริยธรรมและตระหนักในหนาที่การปฏิบัติตนเปนคนดีมีจิตอาสา การวัดแลประเมินผลการเรียนการสอน ใหคิดวิเคราะหและแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวกับบทเรียนและการประยุกตความรูกับสถานการณที่เกิดขึ้นจริง

5.2 อภิปรายผล

จากการศึกษาเร่ือง การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี ผูวิจัยนํามาอภิปรายผลไดดังน้ี

ผลการศึกษาระดับความรูปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาอยูในระดับปานกลางจนถึงตํ่า ทั้งน้ีสวนใหญนักศึกษามีความรูเร่ืองเน้ือหาสาระที่เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในดานความหมาย หลักการ วัตถุประสงค องคประกอบ แนวคิดตางๆ แตยังขาดความเขาใจเชิงลึกและการนํามาประยุกตใชในการดํารงชีวิตและภาคปฏิบัติ ดังที่เบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom และคณะ; อางถึงใน ศิริพรรณ อัศวินวงศ, 2544) ไดแบงความรูของมนุษยออกเปน 6 ขั้น คือ ขั้นความรู-ความจํา ความเขาใจ การประยุกต การวิเคราะห การสังเคราะหและการประเมินผล ทั้งน้ีกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาสวนใหญจะอยูในขั้นที่ 1-2 เทาน้ัน ยังไมสามารถนําความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจ

Page 81: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

84

พอเพียง ไปใชในการสถานการณตางๆ ทั้งในสถานการณจริงและสถานการณจําลองได รวมทั้งยังไมสามารถแกปญหาหรือตัดสินใจในเร่ืองตางๆ สอดคลองกับผลงานวิจัยที่ปรีชา เปยมพงศสานต(www.oknation.net/blog, 10 มกราคม 2554) หัวหนาโครงการวิจัยการสังเคราะหองคความรูเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ที่ไดสรุปสถานะองคความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ออกเปน 2 สวน คือสถานะความรูเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในระดับแนวคิดและสถานะความรู ระดับการปฏิบัติหรือการประยุกต ประกอบกับความรูที่นักศึกษารับรูผานสื่อตางๆ เปนความรูที่เผยแพรโดยการกลาวถึงในภาพรวมและมักจะเชื่อมโยงเกี่ยวกับการดําเนินชีวิตประจําวันของประชาชนในชนบทเปนสวนใหญนอกจากน้ีในการเผยแพรความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยสวนใหญไมไดกลาวถึงความรูความเขาใจเชิงนําความรูมาประยุกตใชกับประชาชนในแตละระดับ นักศึกษาจึงรับรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางผิวเผิน ดังน้ันเมื่อนํามาทดสอบความรูกับนักศึกษา จึงทําใหนักศึกษาตอบดวยความๆไมมั่นใจในความรูที่มีอยู

นอกจากน้ันกลุมตัวอยางสวนใหญเปนนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจซึ่งไมไดเลือกเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง เน่ืองจากมีการเปดสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุมวิชาสังคมศาสตร หมวดวิชาทั่วไปของคณะศิลปศาสตร เพื่อใหนักศึกษาไดเลือกเรียน เฉพาะบางหลักสูตรของปริญญาตรี และมีการเปดสอน เฉพาะภาคปลาย ของแตละปการศึกษา ดังน้ันมหาวิทยาลัยเกริกควรจะใชแนวทางจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ทุกหลักสูตรที่ เปดสอนไดศึกษาและรับรูเน้ือหาสาระของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางครบถวน

ในดานการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนพบวาอาจารยผูสอนไดมีการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนในระดับมาก แสดงใหเห็นวาอาจารยผูสอนตระหนักถึงความสําคัญของการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการจัดการเรียนการสอน สอดคลองกับงานวิจัยของฐิติมน ทองพิมพ (2551) ที่ศึกษาถึงสภาพการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรูของครู วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหมพบวาสภาพการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรู ประกอบดวย 3 ดาน คือ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และความมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี โดยแตละดานครอบคลุมทั้ง 4 องคประกอบ คือ การจัดทําแผนการเรียนรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู การใชสื่อประกอบการเรียนรูและการวัดผลประเมินผล สภาพการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรูของครูโดยรวมมีคาเฉลี่ยระดับมาก

อยางไรก็ตามแมวาอาจารยผูสอน ไดนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตในการจัดการเรียนการสอนแลว แตพบวายังมีปจจัยอ่ืนๆที่เกี่ยวของ ที่สงผลใหการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพี ยงเปนไปไดเพียงระดับหน่ึง อาทิเชน อาจารยผูสอนมีการวางแผนการเรียนการสอนและการคนควาขอมูลยังไมเพียงพอ เน่ืองจากมีภาระงานอ่ืนๆที่เกี่ยวของที่ตองดําเนินการมาก ประกอบกับสวนใหญใน

Page 82: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

85

มหาวิทยาลัยตางๆที่เปดสอนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง อาจารยผูสอนหรือคณะที่รับผิดชอบในการเปดสอนจะอยูในความรับผิดชอบของคณะเศรษฐศาสตรมากกวาคณะศิลปศาสตร นอกจากน้ันการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อสนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตองใชงบประมาณสูงเมื่อเทียบกับวิชาทั่วๆไปเพื่อใหนักศึกษาไดรับประสบการณตรงโดยเฉพาะ เมื่อเทียบกับจํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในแตละรายวิชาในหมวดวิชาทั่วไป อาทิเชน การศึกษาดูงานนอกสถานที่ การทํากิจกรรมในแหลงเรียนรูภายนอก เปนตนและ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่ผูเรียนมีประสบการณความรูตางกัน ทําใหการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนบางกิจกรรมไมสอดคลองกับความแตกตางของผูเรียน

ดังน้ันในการสรางความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหสามารถนําไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต จําเปนตองมีการสรางกระบวนการเรียนรูอยางเขมขน เนนการวิเคราะหที่กระบวนการเรียนรู ซึ่งเปนกลไกสําคัญในการสนับสนุนเสริมหรือปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน โลกทัศนคานิยมและวิถีการดํารงชีวิต ยุทธศาสตรในการเรียนรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงตองทําความเขาใจแบบบูรณาการและอยางตอเน่ืองใชวิธีการเรียนรูและการคิดอยางเปนระบบ เพื่อใหนักศึกษามีความรูความสามารถ ในการสังเคราะหวิเคราะหและนําไปประยุกตใชในการดํารงชีวิต

5.3 ขอเสนอแนะ

5.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย

1) ผูรับผิดชอบในการจัดการศึกษา จะตองมีความรูความเขาใจ มีประสบการณและมีความจริงใจในการจัดการศึกษา คือกําหนดนโยบายทางการศึกษาหรือนํานโยบายไปสูการปฏิบัติเพื่อบรรลุตามหลักการ หรือจุดมุงหมาย เชน การดําเนินการตามแนวทางการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปจัดการศึกษาในสถานศึกษา ตามขั้นตอนดังน้ี

1.1) กําหนดนโยบายการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนนโยบายสําคัญ

1.2) พัฒนาความรูความเขาใจแกบุคลากรทั้งผูบริหาร คณาจารย และสงเสริมใหปฏิบัติตนตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1.3) ประชาสัมพันธเผยแพรความรู ความเขาใจแกผูเกี่ยวของอ่ืน ๆ1.4) ทบทวนหรือปรับปรุงโครงสรางและพัฒนาการบริหารจัดการตามแนวปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

Page 83: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

86

1.5) จัดทํา ปรับปรุง หรือเพิ่มเติมโครงการ กิจกรรม และปรับแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการ

1.6) ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร1.7) เสริมสรางบรรยากาศ และสภาพแวดลอมใหเอ้ือตอการจัดการเรียนรู1.8) จัดระบบติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนินการ1.9) ดําเนินการสนับสนุนใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา

2) การสงเสริมสนับสนุนใหคณาจารย เจาหนาที่ นักศึกษาและผูเกี่ยวของในสถานศึกษาประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต เพื่อใหเกิดทักษะและคนพบตนเองสามารถพึ่งตนเอง มีคุณธรรมและจริยธรรม เรียนรูวิธีแกปญหาอยางเปนระบบ รูจักการมีสวนรวมพัฒนาตนเองใหอยูรวมกับผูอ่ืนได

3) อาจารยผูสอนสงเสริมผูเรียนมีความรูคูกับคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาทักษะในการสอน การอบรม มีพฤติกรรมที่เหมาะสม พัฒนาตนเองและดูแลผูเรียนดวยความจริงใจและจริงจัง รวมทั้งจะตองนํานโยบายหลักรวมกันในการปลูกฝง สงเสริม พัฒนาคุณธรรมจริยธรรม คานิยม คุณลักษณะอันพึงประสงคและตองปฏิบัติใหเกิดเปนรูปธรรมเปนตัวอยางที่ดีและในสังคม จัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนาอยางผูมีจิตสํานึกรับผิดชอบกับผูเรียน จัดการเรียนการสอนที่เนนกระบวนการ สงเสริมพัฒนาทักษะสอนใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ เพื่อใหคิดเปน และจัดอบรมคุณธรรม จริยธรรม คานิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค อยางจริงใจและจริงจัง

4) ควรจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ทุกหลักสูตรไดเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียงเปนวิชาบังคับเรียน และวิชาดังกลาวอาจอยูในความรับผิดชอบของคณะเศรษฐศาสตร หรือจัดการเรียนการสอนเปนทีมโดยสอนรวมกันจากคณาจารยในสาขาวิชาตางๆ

5.3.2 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัย

1) ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบระหวางสถานศึกษา เพื่อใหไดขอมูลเพิ่มเติมในเร่ืองตางๆและใหมีความครอบคลุมไดมากขึ้น ควรศึกษาวาเมื่อนักศึกษามีความรูความเขาใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแลวอะไรเปนสาเหตุที่นักศึกษาผูน้ันนําไปปฏิบัติ และสาเหตุอะไรที่นักศึกษาไมนําไปปฏิบัติ

2) ควรศึกษาสัมฤทธิผลในการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในวิชาตางๆในหลักสูตรปริญญาตรี ของสถานศึกษา

3) การศึกษาบทบาทของอาจารยผูสอนในการสงเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา4) การศึกษาคุณลักษณะบัณฑิตที่สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของสถาบันอุดมศึกษา

Page 84: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

87

5) ควรทบทวนและใหความสําคัญกับปจจัยที่มีผลตอระดับความรูความเขาใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อจะไดหาแนวทางการสงเสริมใหเกิดองคความรูในการบริหารจัดการอันนําไปสูความสําเร็จ

Page 85: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

88

บรรณานุกรม

หนังสือและบทความเกษม วัฒนชัย. การเรียนรูท่ีแทและพอเพียง ในหลักคิด พอเพียง. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ

มติชน, 2549.

ชวาล แพรัตกุล. เทคนิคการวัดผลทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวัฒนาพานิช, 2526.

ปรมะ สตะเวทิน. การสื่อสารมวลชน กระบวนการและทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวนจํากัดภาพพิมพ, 2538.

วิชัย รูปขําดี. “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาชุมชน.” เอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารการพัฒนา เมื่อวันที่14 มิถุนายน 2550 สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2550.

ว. วชิรเมธี. “ความสับสนเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง.” เนชั่นสุดสัปดาห ปที่ 15 ฉบับที่ 763(12-18 มกราคม 2550).

สุชา จันทนเอม และสุรางค จันทนเอง. จิตวิทยาการเรียนรู. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, 2541.

เสถียร เชยประทับ. การสื่อสารและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ม.ป.ป.

สุเมธ ตันติเวชกุล. หลักธรรม หลักทํา ตามรอยพระยุคลบาท. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพดานสุทธาการพิมพ, 2549.

สุเมธ ตันติเวชกุล. “เศรษฐกิจพอเพียงคือรากฐานของประเทศ.” สยามรัฐ (5-11 ธันวาคม 2542)

อุทุมพร(ทองอุไทย) จามรมาน.คูมือการประเมินโครงการฝกอบรม. กรุงเทพมหานคร : ฟนน่ีพับบลิชชิ่ง, 2523.

Page 86: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

89

งานวิจัยฐิติมน ทองพิมพ. “สภาพการใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนรูของครูวิทยาลัย

เกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม.” การคนควาแบบอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2551.

เทวิล ศรีสองเมือง. “การพัฒนารูปแบบเครือขายการจัดการเรียนการสอนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน.” วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.

เธียรธิดา เหมพิพัฒน. “ความคิดเห็นของนักศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตรตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”. ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร,2546.

ธนพล สมัครการ. “ความรูความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหลังเขารวมโครงการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ : ศึกษากรณีผูเขาอบรมพลังกายทิพยเพื่อสุขภาพกรมขนสงทหารอากาศ กองบัญชาการสนับสนุนทหารอากาศ.” ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2550.

นพพร เมธีอนันตกุล. “การนําแนวปฏิบัติตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดําเนินชีวิต: กรณีศึกษาเกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. อําเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบุรี.” ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2549.

บุญธรรม คําพอ. “การศึกษาความแตกตางระหวางผูยอมรับและไมยอมรับบริหารการแผนใหม :ศึกษาเฉพาะกรณี มูลนิธิบูรณะชนบท หมูท่ี 10 ตําบลโพธิงาม อําเภอสรรคบุรีจังหวัดชัยนาท.” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2520.

ประดิษฐ กาวี. “ความคิดเห็นของประชาชนตอการเปนเครือขายชมรมรักษแมนํ้าอิง ศึกษากรณีอําเภอแมใจ จังหวัดพะเยา”. ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2520.

Page 87: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

90

ปวัน มีนรักษเรืองเดช. “การประยุกตแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติของประชาชนท่ีเขารวมโครงการชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดําริ.” ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2549.

ปริญญา ชนะวาที. “การศึกษาการบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอนวิชาศิลปศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาในภาคเหนือ.” วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2551.

พงศพิชญ วงศสวัสด์ิ. “ความรูความเขาใจเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน พื้นท่ีจังหวัดเชียงราย.” วิทยานิพนธ ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยแมโจ, 2551.

วิไลพร วรจิตตานนท.“ความรูความเขาใจและพฤติกรรมการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษาคณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง.” สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง,2551.

ศิริพรรณ อัศวินวงศ. “ตํารวจชุมชนสัมพันธกับบทบาทในการเผยแพรความรูความเขาใจเร่ืองสิ่งแวดลอม : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม.” วิทยานิพนธมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2544.

ศศิพรรณ บัวทรัพย. “ความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหงตอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.” ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2547.

สมหมาย สาตทรัพย. “ความเขมแข็งของชุมชนตามแนวทางพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงของชาวพุทธ : ศึกษากรณี ชุมชนศีรษะอโศก อําเภอกันทรลักษณ จังหวัดศรีสะเกษ.”ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2542.

สายนํ้าผ้ึง รัตนงาม. “ความคิดเห็นในการดําเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาสมาชิกเสถียรธรรมสถาน”. ภาคนิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2547.

Page 88: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

91

สันสกฤต มุนีโมไนย. “ความรู ความเขาใจและการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการดําเนินชีวิต : ศึกษากรณีนักศึกษาปริญญาโทภาคพิเศษ คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.” ภาคนิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร, 2551.

สหัทยา พลปถพี. “การนําเสนอแนวทางการพัฒนาคนใหมีคุณลักษณะตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.” วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548.

สุมาลี จันทรชลอและคณะ. “ การศึกษาความเขาใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของประชาชนในกรุงเทพมหานคร.” สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ, 2550.

อภิชัย พันธเสน และคณะ. “ การประยุกตพระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงกับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม”. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2546.

BookGood, Carter Victor, Merkel. Winifred R. Dictionary of education. New York :

McGraw-Hill, 1959.

Websitesคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.กระบวนการและ

ขบวนการทางสังคมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาชุมพรคาบานา รีสอรต. http://www.chumphoncabana.com/plearn/,17 สิงหาคม 2551.

ปรีชา เปยมพงศสานต. โครงการวิจัยการสังเคราะหองคความรูเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. www.okanation.net/blog, วันที่ 10 มกราคม 2554.

พิพัฒน ยอดพฤติการ. เศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองของ UNDP. กรุงเทพธุรกิจhttp://www.nidambe11.net/ekonomiz/2007q1/2007jan 18p2.htmวันที่ 18 มกราคม 2550.

www.kirirk.ac.th วันที่ 16 สิงหาคม 2552.

Page 89: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

92

สัมภาษณ

1.โกญจนาท เจริญสุข อาจารยประจํา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก.........วันที่ 16 กันยายน 532. ฉัตรรัตน เชาวลิต อาจารยประจํา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก..........วันที่ 20 กันยายน 533. ดร.ดรุณี ชูประยูร คณบดี คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก……………...วันที่ 16 กันยายน 534. ประไพพิศ เขมะชิต อาจารยประจํา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก....... วันที่ 16 กันยายน 535. ยุพา ชุมจันทร อาจารยประจํา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก................วันที่ 17 กันยายน 536. วิภาวี ตลึงจิตร รองคณบดี คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก.....................วันที่ 16 กันยายน 537. สยมพร ทองสาริ อาจารยประจํา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก............วันที่ 17 กันยายน 538. สมชาย กําปนทอง หัวหนาภาควิชาทั่วไป คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก..วันที่ 16กันยายน 539. สุภาพร โรจนศุภมิตร อาจารยประจํา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก.....วันที่ 20 กันยายน 5310. เสรี ชึขุนทด อาจารยพิเศษ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยเกริก...................วันที่ 20 กันยายน 53

Page 90: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

93

ภาคผนวก

Page 91: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

94

ผนวก กแบบสอบถาม

เร่ือง การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถามคําชี้แจง โปรดทําเคร่ืองหมายถูกลงในชองวาง () และเติมขอมูลตามสภาพความเปนจริง1. เพศ

( ) 1. ชาย ( ) 2. หญิง

2. อายุ............................ป

3. คณะที่ทานกําลังศึกษาอยูในปจจุบัน( ) 1. คณะนิติศาสตร ( ) 2. คณะบริหารธุรกิจ( ) 3. คณะศิลปศาสตร ( ) 4. คณะเศรษฐศาสตร( ) 5. คณะนิเทศศาสตร

4. คุณวุฒิกอนเขาศึกษา( ) 1. มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ) 2. ปวช.( ) 3. ปวส. / อนุปริญญา ( ) 4. อ่ืนๆ (ระบุ) .....................

5. ภูมิลําเนาของทานกอนเขารับการศึกษาอยูในจังหวัด...................................

6. อาชีพของบิดาหรือผูนําครอบครัว( ) 1. ขาราชการ ( ) 2. พนักงานรัฐวิสาหกิจ( ) 3. คาขาย ( ) 4. พนักงานบริษัทเอกชน( ) 5. รับจาง ( ) 6. ผูประกอบการ( ) 7. เกษตรกร ( ) 8. อ่ืนๆ (ระบุ).....................

Page 92: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

95

ตอนท่ี 2 แหลงในการรับรูขาวสารความรูเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2.1 แหลงความรูภายในมหาวิทยาลัยเกริกทานรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากกิจกรรมของมหาวิทยาลัยเกริกมากนอยเพียงใด

2.2 แหลงความรูภายนอกมหาวิทยาลัยเกริกทานรับรูขอมูลขาวสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากแหลงตอไปน้ี มากนอยเพียงใด

ขอความ

ระดับการรับรูขาวสารเปน

ประจํา(4)

บอยคร้ัง(3)

นานๆคร้ัง(2)

ไมเคยเลย(1)

1. นโยบาย / แผนงานของมหาวิทยาลัยเกริก2. การประชุมสัมมนา / การอภิปรายผลงานทางวิชาการ3. หลักสูตร / วิชาเรียน4. อาจารยผูสอนสอดแทรกในการสอน5. อาจารยสอนมอบหมายงาน6. นิทรรศการ7. การศึกษาดูงาน8. สื่อประชาสัมพันธภายในมหาวิทยาลัย9. หนังสือ บทความ งานวิจัยจากหองสมุด

แหลงท่ีรับขาวสารระดับการรับรูขาวสาร

เปนประจํา(4)

บอยคร้ัง(3)

นานๆ คร้ัง(2)

ไมเคยเลย(1)

1. วิทยุ2. โทรทัศน3. หนังสือพิมพ4. นิตยสาร / วารสาร5. อินเตอรเน็ต6. คนในครอบครัว7. เพื่อน

Page 93: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

96

ตอนท่ี 3 ความรูเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคําชี้แจง ใหทานทําเคร่ืองหมายถูก ( ) ในทายขอความเพียง 1 ชองเทาน้ัน ตามท่ีทานมีความรู

เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในขอความตอไปน้ี

ขอความ ถูก ผิด ไมทราบ(1) ภาพรวมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง1. วิธีดําเนินการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มี 2 ขั้นตอน ขั้นตอน

แรกคือ การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูจํากัดเพื่อสรางพื้นฐานใหพึ่งตนเองได และขั้นตอนสอง คือ การรวมพลังไปสูชุมชนเขมแข็ง

2. ประโยชนที่ไดรับจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความมั่งคั่งรํ่ารวยในทรัพยสมบัติของผูปฏิบัติตน ตามแนวทางน้ีทุกคน

(2) ดานความพอประมาณ3. ความพอประมาณ หมายถึง รักษาระดับความพอดี พอเหมาะสมของ

การกระทํา4. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเนนใหคนดําเนินชีวิตตามสภาพเศรษฐกิจ

และกระแสสังคมขณะน้ัน5. การกูยืมเงิน เพื่อพัฒนากิจการที่เรามีศักยภาพเปนสิ่งที่ไมสามารถ

กระทําได6. สมบูรณ ดําเนินชีวิตตามกระแสของสังคมไทยปจจุบัน โดยซื้อ

สิ่งอํานวยความสะดวกทุกอยางที่คนอ่ืนๆมี แสดงวา สมบูรณมีความพอประมาณ

7. สมใจกูเงินมาซื้อเคร่ืองปรับอากาศและโทรศัพทมือถือโดยที่สมใจสามารถผอนชําระไดโดยไมเดือดรอน ถือวาสมใจมีความพอประมาณตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

8. บริษัท ก.กูเงินมาลงทุนเพิ่มดวยเห็นวาตลาดกําลังเติบโต แสดงวาบริษัท ก.มีความพอประมาณตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

(3) ดานความมีเหตุผล9. การรูจักจัดระดับความสําคัญวาอะไรควรทํากอนและอะไรควรทํา

ทีหลัง ไมไดแสดงถึง ความมีเหตุมีผล10. บุคคลที่ดําเนินชีวิตตามความพึงพอใจของตนเองโดยไมเบียดเบียน

ผูอ่ืนถือวาเปนผูที่มีเหตุมีผล

Page 94: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

97

ขอความ ถูก ผิด ไมทราบ11. การใชชีวิตบนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตองไมกูยืมเงิน12. สมภพ ไมยอมใหสมชายยืมเงินเพราะรูวาจะไมไดคืนแนนอน เน่ือง

จากสมชายติดการพนันจึงตองเสียเพื่อนไป แสดงวาสมภพมีเหตุผลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

13. สมศรี เปนขาราชการประจํา มีอาชีพเสริมโดยการขายหวยใตดินครอบครัวจึงสุขสบายแสดงวา สมศรีมีเหตุผลตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

14. เราไมสามารถนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตในการทําธุรกิจตองมุงแสวงหากําไร

15. การคํานึงถึงความเหมาะสมของสภาพภูมิศาสตรและสังคมของแตละชุมชนในการนําเทคโนโลยีจากตางชาติมาใชสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

(4) ดานภูมิคุมกันในตนท่ีดี16. ผูที่ใชชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะเปนผูที่ไมประมาท

ในการใชชีวิตประจําวัน17. ผูที่มีหลักการหรืออุดมการณชีวิตจะไมสามารถปรับตัวให

สอดคลองกับกระแสโลกาภิวัตนไดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง18. เศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางเตรียมพรอมเพื่อเผชิญสถานการณ

ความไมแนนอนในอนาคต19. ความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตนคือภูมิคุมกันทางสังคมที่ชวยให

ไมถูกครอบงําจากโลกภายนอก20. สมพงษกูเงินจากสหกรณของหนวยงานตน ตามเพื่อนๆ โดยไมได

วางแผนการใชเงินกอนน้ี แตเขาสามารถผอนสงไดอยางไมเดือดรอนตนเองและครอบครัว แสดงวาสมพงษมีภูมิคุมกันที่ดี

21. สมศักด์ิ มีสุขภาพรางกายแข็งแรง จึงยังไมคิดจะจัดสรรรายไดของตนเอง ไปทําประกันชีวิต แสดงวาสมศักด์ิมีภูมิคุมกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

22. การที่เราเขารวมในงานประเพณีตางๆของทองถิ่นไมถือวาเปนการปฏิบัติตนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแตประการใด

Page 95: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

98

ขอความ ถูก ผิด ไมทราบ23. การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับชุมชน หมายถึง การ

ที่ชุมชนพยายามดําเนินกิจกรรมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมใหเปนไปอยางสมดุล

24. การมีแผนสํารองและแผนเผชิญเหตุเปนการประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติงานอยางหน่ึง

(5) ดานความรู25. ความพอใจในการแสวงหาความรูแลวนําไปปฏิบัติจนเกิดความ

เขาใจในเร่ืองน้ัน ๆ อยางแจมแจงคือองคประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

26. การไมแสดงความคิดเห็นใดๆ ในที่ประชุม คือ การใชชีวิตที่สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

27. นายสีหนาททบทวนแผนงานที่วางแผนอยางรอบคอบกอนทํางานเสมอ แสดงวา นายสีหนาทมีความระมัดระวัง ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

28. สมดี เปนคนเกง ชอบอานหนังสือละมีความมั่นใจในตนเองวาเปนผูรูมาก จึงไมคอยรับฟงความคิดเห็นจากผูอ่ืน แสดงวาสมดีมีการใชชีวิตที่สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

29. สมชาติ ทํางานที่ไดรับมอบหมายเปนอยางดี จนไมเปนอันกินอันนอนถือวาสมชาติทํางานอยางรูกาลเทศะ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

30. หนวยงาน ก.จัดอบรมเพื่อพัฒนาความรู ความสามารถใหบุคลากรในสังกัดเสมอ เปนตัวอยางของการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประการหน่ึง

(6) ดานความมีคุณธรรม31. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวคิดและวิธีการที่ไมสามารถนําไป

สูการปฏิบัติไดจริงในชีวิตประจําวัน32. การประพฤติตนเพื่อกอใหเกิดประโยชนทั้งตนเองและสังคม

ประเทศชาติโดยรวม คือ คุณธรรมตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง33. หลักคุณธรรมที่สําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ความเพียร

และรักสันโดษ

Page 96: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

99

ขอความ ถูก ผิด ไมทราบ34. การชวยเหลือเกื้อกูล เอ้ือเฟอเผ่ือแผตอผูที่เดือดรอนเปนแนวทาง

ปฏิบัติหน่ึงของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง35. ประเทือง ไมรวมกิจกรรมใดๆในการพัฒนาชุมชนของตนเอง แสดง

วาเปนคนรักสันโดษตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง36. ชาวบานนาดีรวมกันขุดรองนํ้าเขาชุมชนตน ทําใหชุมชนบานนาสาร

ไมมีนํ้าใช แสดงวาชุมชนนาดีมีความรูรักสามัคคี ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง

37. การจะพิจารณาวา การกระทําใดเปนไปตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไมน้ัน ดูจากความถูกตองตามศีลธรรมสําคัญกวาความถูกตองตามหลักวิชาการ

38. สังคมแหงการแขงขันในโลกปจจุบันบางคร้ังจําเปนตองเอาตัวรอดโดยเอาเปรียบผูอ่ืนและไมยอมเสียเปรียบใครเพื่อชัยชนะสอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนท่ี 4 ขอเสนอแนะเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยเกริก

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................

*** ขอขอบคุณในความอนุเคราะหของทานมา ณ โอกาสนี้ ***

Page 97: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

100

ผนวก ขแบบสัมภาษณสําหรับผูบริหาร

“เร่ือง การวัดความรู และการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก”

-------------------------------------------------------------------------------------------------------1. ขอมูลพื้นฐานของผูใหสัมภาษณ

ชื่อ – นามสกุล................................................................ตําแหนง.........................................................................อายุ.........................ป

ระยะเวลาในการดํารงตําแหนง..............................ปวุฒิการศึกษา..................................................................ประสบการณการสอน ..................ป

2. ทาน เคยอบรม/สัมมนาเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม อยางไร

3. ทานมีนโยบาย/แนวทางการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนที่ใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทาง สําหรับวิชาศึกษาทั่วไป อยางไร

4. ทานมีความคิดเห็นวาเน้ือหาวิชา หลักสูตรในหมวดศึกษาทั่วไปในปจจุบันสอดรับกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไมอยางไร

5. ทานคิดวาการพัฒนาหลักสูตรโดยบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตในการจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปน้ัน ควรมีแนวทางอยางไร (ดานเน้ือหา ดานกิจกรรมการเรียนการสอน ดานงบประมาณ)

6. ทานคิดวาอาจารยผูสอนสามารถมีสวนรวมในการนําองคความรูเร่ืองปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนฐานของการกําหนดหลักสูตร เน้ือหา และกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปรวมกับมหาวิทยาลัยอยางไร

96

Page 98: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

101

7. ทานคิดวานักศึกษาควรไดรับประโยชนอะไรจากการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปโดยบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

8. ทานมีขอเสนอแนะและความคิดเห็นอ่ืนๆเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนโดยประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สําหรับวิชาศึกษาทั่วไปอยางไร

9. ทานคิดวาควรมีวิธีใดหรือกิจกรรมอะไรเพิ่มเติมบาง เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหแกนักศึกษา

10. ทานคิดวามีแนวทางจะสงเสริมสนับสนุนกิจกรรมวิชาการที่ประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแกนักศึกษาอยางไร (การสนับสนุนต้ังงบประมาณ/โครงการที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจพอเพียง)

11. ทานคิดวามีแนวทางในการพัฒนาผูสอนใหมีความรูความเขาใจในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางไร

12. ทานมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในมหาวิทยาลัยเกริกอยางไร

Page 99: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

102

ผนวก คแบบสัมภาษณสําหรับอาจารย

เร่ือง การวัดความรูและการประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการเรียนการสอน ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกริก”

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1. ขอมูลพื้นฐานของผูใหสัมภาษณ

ชื่อ – นามสกุล................................................................ตําแหนง.........................................................................อายุ.........................ป

วุฒิการศึกษา..................................................................ประสบการณการสอน ..................ป

2. ทานเคยมีประสบการณในการเขารวมฝกอบรม ประชุม สัมมนา เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม อยางไร

3. ทานเคยหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม อยางไร4. ทานไดจัดทําหลักสูตรการเรียนการสอนที่ใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางหรือไม

อยางไร5. ในเน้ือหาวิชาที่ทานไดรับผิดชอบในการสอนทานไดสอดแทรกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ในหัวขอที่สอน หรือไม อยางไร6. ทานมอบหมายใหนักศึกษาหาความรูเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม อยางไร7. การจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ทานไดประยุกตหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช

ในกิจกรรมหรือไม อยางไร8. ทานไดจัดหาสื่อการสอนที่สอดคลองกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการเรียนการสอน

หรือไม อยางไร9. การประเมินผลการเรียนในวิชาที่ทานรับมอบหมาย ทานไดมีการประเมินผลโดยใชปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงมามีสวนในการประเมินดวย ตัวอยางเชน การออกขอสอบที่เกี่ยวของกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนตน

10. ทานไดเนนการมีสวนรวมของผูเรียน โดยมุงเนนใหผูเรียนมีความรูและมีคุณธรรมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยางไร

Page 100: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

103

11. ทานคิดวาควรมีวิธีใดหรือกิจกรรมอะไรเพิ่มเติมบาง เพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหแกนักศึกษา

12. ทานมีขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในมหาวิทยาลัยเกริกอยางไร

Page 101: 2 # ’ 1 ’ 2 ! # 9÷ A % 0 2 # ˙ # 0 8 ÷ ˙ # 1 2 @ ( # ) 4 ...research.krirk.ac.th/images/researchs/2013_07/40/usrfile_220872_210719.pdf · 6 Title Knowledge Measurement and

104

ผนวก งประวัติและผลงานผูวิจัย

ชื่อ - สกุล นางเพ็ญพรรณ ชูติวิศุทธิ์

ตําแหนง อาจารยประจํา สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย คณะบริหารธุรกิจ

ภูมิลําเนา จังหวัดกรุงเทพมหานคร

ประวัติการศึกษา2524 ปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต (บริหารงานบุคคล) วิทยาลัยเกริก2536 ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสังคม)

สถาบันเทคโนโลยีสังคมผลงานทางวิชาการ2538 บทความเร่ือง “การทํางานรวมกันใหประสบผลสําเร็จ”2545 บทความเร่ือง “มนุษยสัมพันธกับงานบริการ2548 บทความเร่ือง “ธรรมาภิบาลกับการบริหารธุรกิจ”2549 ตําราเรียบเรียงเร่ือง “การจัดการทรัพยากรมนุษย”2549 งานวิจัย(กลุม) เร่ือง “ยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยเกริกภายใต

สภาวการณแขงขันในอนาคต”2550 งานวิจัย(กลุม) เร่ือง“วิถีชีวิตชาวประมงพื้นบาน จังหวัดสมุทรสงคราม”2553 บทความเร่ือง “การประยุกตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการ

เรียนการสอน ระดับปริญญาตรี”