nato

16
NATO ( North Atlantic Treaty Organization )

Upload: saipin

Post on 27-Jun-2015

2.340 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: Nato

NATO ( North Atlantic Treaty Organization )

Page 2: Nato

รายชื่อสมาชิก นาย ภัทรวิน เขื่อนล้อม เลขที่ 2 นาย วิชา อุ่ยอุทัย เลขที่ 5 นางสาว รัตนาภรณ ์ สปุันต๋า เลขที่ 21 นางสาว สุจิตรา ปัญเชื้อ เลขที่ 23

ครูผู้สอน ครู สายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555

Page 3: Nato

เมื่อวันที่ 4 เม.ย. 2492 (ค.ศ. 1949) สหรัฐอเมริกาและประเทศต่าง ๆ ในยุโรปรวม 12 ประเทศ ได้แก่ สหรฐัอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอรเวย์ และโปรตุเกส ได้ร่วมกันลงนามในสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (the North Atlantic Treaty) ก่อต้ังองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือหรือนาโต้ขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดยมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 ส.ค. 2492

Page 4: Nato

วัตถุประสงค ์เริ่มแรกก่อตั้ง คือ เพื่อจัดตั้งระบบพันธมิตรทางทหารในการถ่วงดุลอ านาจกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ (สหภาพโซเวียต) และให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกในกรณีที่ประเทศสมาชิกถูกคุกคามจากภายนอก ตลอดจนส่งเสริมความมัน่คงในทางเศรษฐกิจ

Page 5: Nato

การขยายสมาชิกภาพของนาโต ้

* ระหว่างปี 2495 – 2525 นาโต้รับสมาชิกใหม่ 4 ประเทศ ได้แก่ กรีซ ตุรกี เยอรมนี และสเปน * เมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2542 นาโต้รับสมาชิกเพิม่อีก 3 ประเทศ คือ เช็ก ฮังการี และโปแลนด์ * เมื่อวันที ่26 มี.ค. 2547 สมาชิกนาโต้ลงนามในพิธีสารว่าด้วยการรับสมาชิกใหม่ ที่กรุงบรัสเซลส์ โดยเพิ่มประเทศในเขตยุโรปตะวนัออกอีก 7 ประเทศ ได้แก่ บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลทิัวเนีย สโลวาเกีย สโลวีเนีย และโรมาเนีย ซึ่งถือเป็นการเปิดยุคใหม่ของการเป็นพันธมิตรครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ เพราะท าให้นาโต้มีสมาชิกที่เคยเป็นอดีตคอมมิวนิสต์ถึงร้อยละ 40 และท าให้ขอบเขตของนาโต้ขยายไปจดพรมแดนของรัสเซีย

Page 6: Nato

* ปัจจุบัน นาโต้มีสมาชิก 26 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร แคนาดา เบลเยียม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ โปรตุเกส กรีซ ตรุกี เยอรมนี สเปน เช็ก ฮังการี โปแลนด์ บัลแกเรีย เอสโตเนีย ลัตเวีย ลิทัวเนีย สโลวาเกีย สโลวีเนีย และโรมาเนีย

Page 7: Nato

โครงสร้างของนาโต ้

1. องค์กรฝ่ายพลเรือน 1.) คณะมนตรีแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Council - NAC) เป็นองค์กรหลักรับผิดชอบต่อการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ของนาโต้ที่เกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญาและการน าไปปฏิบัติ คณะมนตรีฯ ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ รฐัมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศสมาชิก มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง

Page 8: Nato

2.) ส านักงานเลขาธิการนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงบรสัเซลส์ ประเทศเบลเยียม มีหน้าที่ บรหิารงานทั่วไปขององค์กร รวมถงึการวางแผนนโยบาย หัวหน้า สนง. / เลขาธิการนาโต้ คนปัจจุบัน คือ นาย Jaap de Hoop Scheffer (อดีต รมว. กต. เนเธอร์แลนด์) เข้ารับต าแหน่งเมื่อปี 2547

Page 9: Nato

2. องค์กรฝ่ายทหาร • คณะกรรมาธิการทางทหาร (The Military Committee) มีหน้าที่ ให้ค าแนะน าด้านการทหารแก่คณะมนตรีและผู้บัญชาการกองก าลังผสม ประกอบด้วยเสนาธิการทหารของทุกประเทศภาคี ยกเว้นฝรั่งเศส และไอซ์แลนด์ (ซึ่งไมม่ีก าลังทหาร) มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยนาโต้ได้แบ่งเขตยุทธศาสตร์ตามภูมิศาสตร์เป็น 3 เขต คือ

Page 10: Nato

• 1.) เขตยุโรป (The European Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ ผู้บัญชาการกองก าลังผสมยุโรป (Supreme Allied Commander Europe - SACEUR) โดยมีกองบัญชาการ เรียกว่า Supreme Headquaters Allied Powers Europe (SHAPE) ประกอบด้วยกองก าลังเคลื่อนที่เร็วจากประเทศสมาชกิ ซึ่งพร้อมจะปฏิบัติการได้ทันที

เขตการรบัผิดชอบ คือ แอฟริกาเหนือ เมดเิตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และยุโรปเหนือ ยกเว้นโปรตุเกส และสหราชอาณาจักร SHAPE

Page 11: Nato

2.) เขตแอตแลนติก (The Atlantic Ocean Command) อยู่ภายใต้การดูแลของ Supreme Allied Commander Atlantic (SACLANT)

เขตการรบัผิดชอบ ตั้งแต่ขั้วโลกเหนือถึงเส้น Tropic of Cancer และจากฝั่งสหรัฐอเมริกาถึงยุโรป SACLANT มีหน้าที่หลักในการพิทักษ์เส้นทางเดินเรือในเขตแอตแลนติก ซึ่งเน้นลักษณะการปฏิบัติการกองก าลังทัพเรือแอตแลนติก (Standing Naval Force Atlantic -- STANA RR LNT) มีกองบัญชาการตั้งอยู่ที่ Norfolk สหรัฐฯ

Page 12: Nato

3.) เขตช่องแคบ (The Channel Command)

อยู่ภายใต้การดูแลของ Allied Commander in Chief Channel – CINCHAN) เขตการรับผิดชอบบริเวณช่องแคบอังกฤษ และทะเลเหนือตอนใต้ ท าหน้าที่ คุ้มครองป้องกันเรือพาณิชย์ในเขตประสานงานกับ SACEUR ในการป้องกันภัยทางอากาศในเขตช่องแคบ CINCHAN มีกองก าลังเรือรบอยู่ภายใต้การควบคุมเรียกว่า Standing Naval Force Channel (STANAFORCHAN) มีกองบัญชาการอยู่ที่ Nortwood สหราชอาณาจักร

Page 13: Nato

นโยบายของนาโต้ยุคหลังสงครามเย็น

หลังจากที่สงครามเย็นสิ้นสุดลง นาโต้ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและปรับปรุงนโยบายในหลายๆ ด้านเพ่ือให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ดังนี้ 1.) การให้ความส าคัญแก่ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peace-keeping) 2.) การหาแนวทางที่จะส่งเสริมความสัมพันธ์กับรัสเซีย โดยมุ่งเน้นให้รัสเซียมีบทบาทส าคัญและสร้างสรรค์ในการสร้างเสถียรภาพในยุโรปในกรอบกว้าง

Page 14: Nato

3.) การปรับบทบาททางการทหารให้เอื้อต่อสภาพความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนการด าเนินนโยบายทางด้านความมั่นคงที่เอื้อต่อพัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ และการจดัสรรงบประมาณที่เหมาะสม ระหว่างงบประมาณด้านการทหารและงบประมาณด้านเศรษฐกิจของประเทศ 4.) ความร่วมมือในโครงการวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ โดยเฉพาะด้านสิ่งแวดล้อม 5.) การเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและการพัฒนาความร่วมมือกับประเทศที่ไม่ใชส่มาชิก

Page 15: Nato

ความสัมพันธ์ไทย-นาโต ้

เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2546 ในระหว่างการเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการ ประธานาธิบดีจอร์จ บุช แห่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศให้ไทยเป็น “ชาติพันธมิตรหลักนอกกลุ่มนาโต้” (Major Non-NATO Ally -- MNNA) การได้รับสถานะดังกล่าวไม่ได้หมายถึงการมีหลักประกันด้านความมั่นคงและการป้องกันประเทศร่วมกันเช่นเดียวกับที่สหรัฐฯมีกับประเทศสมาชิกนาโต้ แต่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความส าคัญที่สหรฐัฯ ให้แก่ความสัมพันธ์ในลักษณะพันธมิตรกับประเทศไทยในศตวรรษที ่21

Page 16: Nato

http://guru.sanook.com/pedia/topic/_(North_Atlantic_Treaty_Organisation_-_NATO)/