Transcript
Page 1: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

1SAFET Y LIFE

ตอไปนีข้อเสนอคําจํากัดความและสาระสาํคัญเกีย่วกบัโฟมดับไฟ (Firefighting Foams)ซึง่เปนความรูพืน้ฐานของสารดับเพลิงชนิดนี้

โฟม (Foam) หมายถึง โฟมใชดับเพลิงเปนฟองอากาศขนาดเล็ก มีความคงทน ไมสลายตัวงาย ความหนาแนนนอยกวาน้ํามันหลอล่ืนน้ํามันเชื้อเพลิงหรือน้ํา โฟมเกิดจากสวนผสมของน้ํายาโฟม (อัตราสวนผสมโฟม) น้ํา และอากาศ โดยน้ํายาโฟมกับน้ําผสมกันแลวจะไดสวนผสมโฟมหรือโฟมละลายน้ําเปนของเหลวและเม่ือเติมอากาศเขาไป สวนผสมโฟมจะเปนฟองเหมือนลูกโปงเล็กๆ อัดแนนรวมตัวกัน ใชคลุมพื้นท่ีเพลิงไหมตอเนื่องเปนบริเวณกวางลักษณะเปนผาหมคลุมไฟเพือ่ไมใหลุกลามและดับลงไปในท่ีสุด

โฟมละลายน้ํา (Foam Solution) คือของเหลวซึง่เกดิจากการผสมน้าํยาโฟมกบัน้าํในอัตราสวนท่ีถูกตอง จะเรียกวา “สวนผสมโฟม

กับน้ํา” ก็ไมผิดความหมายอตัราสวนผสมโฟม (Foam Concentrate)

น้ํายาโฟมท่ีผูผลิตขายใหผูใชนําไปผสมน้ําเพื่อสรางสวนผสมสําหรับใชดับไฟ โดยผูผลิตจะกาํหนดอัตราสวนผสมไวเพือ่บอกวาน้าํยาโฟมนัน้ตองผสมน้าํในอัตราเทาใดจงึจะไดสวนผสมโฟมท่ีมีคุณภาพ เชน น้ํายาโฟมอัตราสวนผสมโฟม3% หมายถงึน้าํยาโฟมท่ีตองผสมน้าํในอัตรา 3:97 (น้าํยาโฟม 3 สวน ผสมน้าํ 97 สวน ไดสวนผสม 100 สวน) หรืออัตราสวนโฟม 6% จะตองใชน้ํายาโฟม 6 สวน ผสมน้ํา 94 สวนเพื่อสรางสวนผสมโฟม 100 สวนสําหรับใชดับไฟ) ฯลฯ

โฟมผสมเสรจ็ (Finished Foam) สวนผสมโฟมกบัน้าํท่ีไดรับการเติมอากาศแลวปลอยออกจากหัวฉีดหรือชองปลอยโฟม

อัตราการระบายน้ํา (Drainage Rate)อัตราการสญูเสยีน้าํของฟองโฟม หรือระยะเวลาท่ีน้ําปริมาณ 25% ระบายออกมาจากฟองโฟม

โฟมท่ีมีอัตราการระบายน้าํเร็ว (ระยะระบายน้าํสัน้) โฟมจะเบาและเคล่ือนท่ีบนผวิเชือ้เพลิงเร็วสวนโฟมท่ีมีอัตราการระบายน้าํชา (ระยะระบายน้ํายาว) โฟมจะหนักและเคล่ือนท่ีบนผิวหนาเชื้อเพลิงชา

อัตราการขยายตัว (Expansion Rate)น้าํยาโฟมเม่ือผสมกบัน้าํและเติมอากาศแลวจะไดฟองโฟม (โฟมผสมเสร็จ) มีปริมาตรเปนกีเ่ทาของปริมาณน้ํายาโฟมท่ีใช นั่นคือ อัตราการขยายตัวของโฟม ตัวอยาง โฟมอัตราการขยายตัว 5: 1 เม่ือใชน้ํายาโฟม 1 แกลลอนผสมน้ําและอากาศจะไดปริมาณโฟมผสมเสร็จบรรจเุต็มถัง 5 แกลลอน ท้ังนี้ มีการแบงโฟมตามอัตราการขยายตัวออกเปน 3 ชนิด ดังตอไปนี้

โฟมอตัราขยายตวัต่าํ (Low ExpansionRate) เปนโฟมท่ีมีอัตราการขยายตัวระหวาง2:1 ถงึ 20:1

โฟมอตัราขยายตวัปานกลาง (Medium

www.safetylifethailand.com

Page 2: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

2SAFET Y LIFE

Expansion Rate) เปนโฟมท่ีมีอัตราการขยายตัวระหวาง 20:1 ถงึ 200:1

โฟมอตัราขยายตวัสงู (Medium Expan-sion Rate) เปนโฟมท่ีมีอัตราการขยายตัวมากกวา 200:1

อตัราการละลายน้าํ อตัราการผสม หรอือตัราสวนน้าํยาโฟมสําหรบัผสมน้าํ (DilutionRate, Mixing Rate or Proportioning Rate) มีความหมายเหมือนกันคือ อัตราสวนผสมโฟมท่ีใชสรางสวนผสมโฟม (โฟมละลายน้าํ) แสดงไวบนถงับรรจ ุเชน หากตัวเลขอัตราสวนผสมโฟมขางถงัเขียนวา 3% หมายความวา ในทุกๆ 100แกลลอนของสวนผสมโฟม จะตองใชน้ํายาโฟม3 แกลลอน ผสมกับน้ํา 97 แกลลอน (หากตองการสวนผสมโฟม 1000 แกลลอน ใชน้าํยาโฟม 30 แกลลอน ใชน้ํา 970 แกลลอน)

ใชน้าํเคม็แทนได (Seawater Compatible)น้าํยาโฟมบางชนิดสามารถผสมกบักบัน้าํไดท้ังน้าํจืด น้าํเค็ม หรือน้ํากรอย โดยไมมีผลกระทบใดๆ ตอคุณภาพสวนผสมโฟม

การแบงชนดิโฟมตามประเภทเช้ือเพลงิ(Class of Foam) ผูผลิตหลายรายแบงชนิดผลิตภัณฑน้าํยาโฟมของตัวเองตามประเภทของเชือ้เพลิงท่ีสามารถดับได โดยท่ัวไปมี 2 ชนดิคือClass A Foam และ Class B Foam

ความรอนไดมากข้ึน เพียงผสมโฟม Class Aลงไปในน้าํท่ีใชดับไฟสามารถเพิม่ประสทิธภิาพน้ําใหสูงข้ึน 5 เทา

โฟม Class A โดยท่ัวไปผสมน้ําในอัตราสวนต้ังแต 0.1% จนถึง 1.0% [ตัวอยาง โฟม0.1 ลิตร ผสมน้ํา 99.9 ลิตร ไดสวนผสมโฟม100 ลิตร (โฟม 1 ลิตร ผสมน้ํา 999 ลิตรไดสวนผสมโฟม 1,000 ลิตร) จนถงึโฟม 1.0 ลิตร

มีฟอง และกําจดัไขมันงายข้ึน ซึง่น้ํายาลางจานอาจทําใหน้ํามีฟองลักษณะเหมือนโฟม แตไมสามารถทําใหมีคุณสมบติัเหมือนโฟมโดยเฉพาะคุณสมบัติในการดับไฟ

Class B Foam ผลิตออกมาเพื่อใชดับไฟClass B ไดแกของเหลวไวไฟ มีอยูดวยกนัหลายชนดิ ซึง่แตละชนดิมีวิธกีารใชงานแตกตางกนัไปรวมท้ังชนิดพิเศษท่ีใชกับระบบตืดต้ังประจําท่ีในบริเวณท่ีทราบแลววาอันตรายคืออะไร

เนื่องจากของเหลวไวไฟชนิดตางๆ มีปฏิกิริยาตอฟองโฟมไมเหมือนกัน โฟมชนิด

Class A Foam โฟมใชดับไฟท่ีเกิดจากเชื้อเพลิง Class A เชน ไม กระดาษ ยาง เสื้อผาเปนสารดับเพลิงชนิดสลายตัวทางชีวภาพ เม่ือผสมน้ําในอัตราสวนท่ีถกูตองจะใหฟองโฟมท่ีมีลักษณะของสารดับเพลิงเปยก (Wetting Agent)โดยจะเปล่ียนแปลงคุณสมบติัของน้าํใน 2 ลักษณะนั่นคือ ทําใหเชื้อเพลิงเปยกซึ่งน้ําจะซึมทะลุเขาไปในเนื้อเชื้อเพลิง Class A ได และทําใหความตึงผวิของน้าํลดลง มีความออนตัว และยดึติดผวิหนาเชื้อเพลิงท้ังในแนวราบและแนวด่ิงโดยไมไหลลงมา โดยรวมแลวน้าํในสวนผสมโฟมดูดซบั

ผสมน้ํา 99 ลิตร ไดสวนผสมโฟม 100 ลิตร]สามารถผสมน้ําไดท้ังแบบผสมในถัง แบบทอดูดทางกล หรือระบบฉีดผสมโฟมอิเล็กทรอนกิสซึ่งแบบอิเล็กทรอนิกสใหความแมนยําในเร่ืองของอัตราสวนผสมกบัน้าํ แตแบบทอดูดทางกลนิยมใชมากท่ีสุด

มีคนกลาว หากเติมน้ํายาลางจานลงไปในน้าํเล็กนอยจะไดสิง่ท่ีเหมือนโฟม Class A ซึง่เปนเร่ืองไมจริง เพราะโฟมดับเพลิงมีโครงสรางทางเคมีซบัซอนกวาน้าํยาลางจานธรรมดา ถกูละนํายาลางจานทําใหน้าํเปล่ียนแปลงไป เชน ล่ืน

Page 3: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

3SAFET Y LIFE

เดียวกัน เม่ือใชกับไฟเกิดจากเหลวไวไฟชนิดหนึ่งไดผลแตอาจไมไดผลกับของเหลวไวไฟอีกชนิดหนึ่ งเนื่องจากสวนผสมทางเคมีตางกันรวมท้ังรูปแบบการใชงาน โฟมท่ีใชกับระบบติดต้ังประจําท่ีแลวใหประสิทธิภาพสูง ในบางกรณอีาจไมเหมาะสมสาํหรับใชงานในรูปแบบอ่ืน

ดวยเหตุผลดังกลาว หนวยดับเพลิงท่ัวไปตองเตรียมโฟมชนิดท่ีสามารถดับไฟท่ีเกิดจากของเหลวไวไฟหลายชนดิท่ีเผชญิเหตุเปนประจาํสวนใหญพวกเขาเลือกใชโฟม AR-FFF (AlcoholResistant, Aqueous Film Forming Foam) ซึ่งก็คือโฟมสรางชั้นฟลมน้ําตอตานแอลกอฮอลเปนโฟมเอนกประสงค ใชงานไดหลากหลายโฟม ชนิดนี้สามารถใชอัตราสวนผสมตํ่า (3%)ผสมน้าํเพือ่ดับไฟเกดิจากน้าํมันเชือ้เพลิง และใชอัตราสวนผสมท่ีสงูกวา (6%) ผสมน้าํเพือ่ดับไฟเกิดจากสารละลายชนิดมีข้ัว (Polar Solvents)เชน แอลกอฮอล (สารไวไฟ Polar Solvents คือสารท่ีผสมน้าํมาแลว ทําใหฟองโฟมท่ีไมใชชนดิตอตานแอลกอฮอลสลายตัวไปอยางรวดเร็ว)

โฟมสรางฟลมน้าํ (AFFF; Aqueous FilmForming Concentrate) อัตราสวนสม 1%, 3%หรือ 6% มีท้ังชนดิผลิตจากวัตถสุงัเคราะห เชนสารสรางโฟมสังเคราะห (Synthetic FoamingAgents) สารลดความตึงผิวของน้ําประเภทไฮโดรคารบอน (hydrocarbon Surfactants) สารทําละลาย (Solvents) เชน สารเพิ่มความหนืดสารตอตานการเยือกแข็ง สารเพิ่มฟองโฟม(Viscosity Leveler, Freezing-point Depressant,Foam Booster) สารเคมีลดความตึงผิวของน้ํากลุมฟลูออโร (Fluoro Chemical Surfactants)เกลือปริมาณเล็กนอย สารสรางความคงตัวของ

โฟม (Foam Stabilizers) เพื่อใหโฟมระบายน้ําชาลงและเพิ่มความตานทานเปลวไฟ

ฟองโฟมไดจากน้าํยาโฟม AFFF ใชดับไฟเกดิจากของเหลวไวไฟไฮโดรคารบอนในลักษณะเดียวกบัฟองโฟมท่ีไดโฟมโปรตีนและโฟมฟลูออโรโปรตีน แตมีลักษณะพเิศษเพิม่เติมข้ึนมา นัน่คือจะมีฟลมน้ําท่ีเหนียวและยืดหยุนเกิดข้ึนบนผิวหนาของเหลวไวไฟชนดิไฮโดรคารบอนซึง่ทําใหโฟม AFFF มีคุณสมบัติโดดเดนมากในดานการควบคุมเพลิงไหมและลมเปลวไฟอยางรวดเร็วเม่ือ

ชนืดไมมีรูอากาศ (Non-aspirating DischargeDevices) ความแตกตางของอุปกรณ 2 ชนดิคือชนดิมีรูอากาศสามารถดึงอากาศภายนอกเขามาผสมกับสวนผสมโฟมกับน้ําภายในตัวอุปกรณสวนชนิดไมมีรูอากาศไมมีลักษณะ ดังกลาว

สวนผสมโฟม AFFF กบัน้ําใชพลังงานตํ่าในการทําใหสวนผสมท่ีเปนของเหลวขยายตัวเปนฟองโฟม แตเม่ือกลายเปนฟองโฟม ของเหลวท่ีระบายออกจากฟองโฟมจะมีคาความตึงผวิตํ่าซึง่สามารถสรางชั้นฟลมลอยบนผิวหนาเชื้อเพลิง

ใชดับไฟเกิดจากการหก ลน ร่ัวไหลของน้ํามันเชื้อเพลิงชนดิไฮโดรคารบอน

ในสถานการณเพลิงไหม เปนเร่ืองเปนไปไมไดท่ีจะสงัเกตเพลิงไหมกาํลังถกูดับดวยชัน้ฟลมฟองโฟมท่ีมองไมเห็นกอนฟองโฟมจะคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงท้ังหมด แตในความเปนจริงโฟมกาํลังทําหนาท่ีของตัวเองอยางสมบรูณแบบสวนผสมโฟม AFFF กบัน้าํสามารถใชดับไฟเกิดจากของเหลวไวไฟไดดวยอุปกรณฉีดโฟมท้ังชนดิมีรูอากาศ (Aspirating Discharge Devices และ

Page 4: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

4SAFET Y LIFE

เม่ือใชอัตราไหลและความดันเทากันสวนผสมโฟม AFFF กบัน้ํา ฉีดดวยอุปกรณชนิดไมมีรูอากาศจะสามารถฉีดไดระยะไกลกวาฉีดดวยอุปกรณชนิดมีรูอากาศ โฟมท่ีฉีดออกจากอุปกรณไมมีรูอากาศโดยท่ัวไปจะดับไฟเกดิจากของเหลวความดันไอตํ่าท่ีหกร่ัวไหลไดเร็วกวาโฟมท่ีฉีดจากอุปกรณมีรูอากาศเล็กนอยเนื่องจากหัวฉีดไมมีรูอากาศใหโฟมท่ีอัตราขยายตัวตํ่ากวาซึ่งมีน้ําในฟองโฟมปริมาณมากกวาจึงเคล่ือนท่ีบนผิวหนาเชื้อเพลิงไดเร็วกวา

เม่ือใชโฟม AFFF เทคนิคการใชงานไมยุงยากเหมือนกับการใชโฟมโปรตีนหรือโฟมฟลูออโรโปรตีน โฟม AFFF สามารถใชวิธฉีีดจากใตพืน้ (Sub-surface Injection) กไ็ดเชนกนั แตวิธดัีงกลาวตองใชกับถังบรรจุเชือ้เพลิงประเภทไฮโดรคารบอนมาตรฐาน หามใชกับถังบรรจุเชื้อเพลิงประเภทสารละลาย/แอลกอฮอล

อัตราสวนผสมในการใชงานของโฟมAFFF ท่ีผูผลิตแนะนําคือ 3%-6% สําหรับผสมน้าํเพือ่สรางโฟมละลายน้าํใชดับไฟเกดิจากการร่ัวไหลของเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอนดวยอัตราการละลายน้ําตํ่าท่ี 0.10 แกลลอน/นาที/ตารางฟุต (gpm/sq.ft.) ในขณะท่ีโฟมโปรตีนและโฟมฟลูออโรโปรตีนมีอัตราการละลายน้าํท่ี0.16 แกลลอน/นาที/ตารางฟุต (gpm/sq.ft.)

โฟม AFFF เหมาะสาํหรับใชงานในลักษณะโฟมท่ีผสมไวแลวลวงหนาและใชงานรวมกบัสารดับเพลิงประเภทผงเคมีแหง ในคลังน้ํามันขนาดใหญมีการใชผงเคมีแหงกบัโฟมพรอมกนัเพือ่ดับไฟเกดิจากการหก ลน ร่ัวไหลของน้าํมันเชื้อเพลิง (Oil Spill Fire)

โฟมสรางฟลมน้าํตานทานแอลกอฮอล(AR-AFFF; Alcohol Resistant-Aqueous FilmForming Foam) โฟม AR-AFFF มีจําหนายในอัตราสวนผสม 3%/6% และ 3%/3% ดวยเหตุผล เพลิงไหมเกิดจากของเหลวไวไฟท่ีผสมน้ํามาแลวดับยากกวาเพลิงไหมเกิดจากเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอน ตัวอยาง เพลิงไหมเกิดจากของเหลวไวไฟประเภทสารทําละลาย/แอลกอฮอลซึ่งมีฤทธิ์ทําลายโฟม AFFF มาตรฐานหรือโฟมฟลูออโร โปรตีน โดยน้าํในสวนผสมโฟมจะรวมกับแอลกอฮอลเนื่องจากแอลกอฮอลผสมน้าํไดตลอดเวลา ผลท่ีตามมา น้ําในฟองโฟมหายไปฟองโฟมยบุตัวลงและสลายตัว ผวิหนาเชือ้เพลิงท่ีเคยถกูโฟมคลุมไวกจ็ะโผลข้ึนมาสมัผสัอากาศและความรอนอีกคร้ังเกิดการลุกติดข้ึนมาใหมและลุกลามตอไป เพื่อแกปญหานี้จึงไดมีการผลิตโฟม AR-AFFF มาใชงานแทน วิธกีารคือ ใชโฟม AFFF ธรรมดาเปนพื้นฐานแลวเติมสารโพลเีมอรโมเลกุลหนักลงไประหวางกระบวนการผลติ

เม่ือใชโฟม AR-AFFF ดับไฟท่ีเกิดจากเชื้อเพลิงประเภทสารทําละลายมีข้ัว (PolarSolvent) สารเชือ้เพลิงดังกลาวนีจ้ะพยายามดูด

ซับน้ําจากฟองโฟม แตสารโพลีเมอรในโฟมจะเรงสรางเยื่อกั้นระหวางผิวหนาเชื้อเพลิงกับฟองโฟม โดยเยือ่กัน้จะปองกนัไมใหฟองโฟมถกูสารเชื้อเพลิงประเภทแอลกอฮอลทําลาย

อัตราสวนผสมโฟมหรือน้ํายาโฟม AR-AFFF เขมขนและหนดืมาก เม่ือใชงานโฟมชนดินี้คร้ังแรกอาจทําใหบางคนไมเชือ่วาเปนน้าํยาโฟมเหมือนกับเจลเหนียวๆ มากกวา และคงใชงานไดไมดี แตจริงๆ แลว เปนธรรมดาท่ีโฟมชนิดนี้จะขนและมีลักษณะเหมือนเจล นัน่เพราะมีสารโพลีเมอรซึ่งเปนสวนผสมหลักสําหรับใชดับไฟเกดิจากสารทําละลายมีข้ัวชนดิตางๆ น้าํยาโฟมAR-AFFF สมัยใหมออกแบบมาเพื่อใชงานกับเคร่ืองผสมโฟม เชน ตัวดูดผสมในทอ (In-lineEductors) ถงุบรรจโุฟมในถงั (Bladder Tanks)ระบบผสมดวยความดันเคร่ืองสูบน้ําสมดุล(Balanced Pressure Pump Systems)

โฟม AR-AFFF อัตราสวนผสม 3%/6%ออกแบบมาเพือ่ใหใชอัตราสวน 3% สาํหรับดับไฟเกดิจากสารไฮโดรคารบอนมาตรฐานท่ัวไป ขณะท่ีอัตราสวน 6% ใชดับไฟเกดิจากสารทําละลายมีข้ัว/แอลกอฮอล สําหรับโฟมอัตราสวนผสม3%/3% ใหใชอัตราสวนผสม 3% ท้ังการดับไฟเกดิจากเชือ้เพลิงไฮโดรคารบอนและเชือ้เพลิงสารทําละลายมีข้ัว/แอลกอฮอล

เม่ือใชโฟม AR-AFFF ในอัตราสวนถกูตองผสมนํ้าแลวนําไปดับไฟเกิดจากสารไฮโดรคารบอนประสิทธิภาพดับไฟท่ีไดจะเทียบเทากับการใชโฟม AFFF มาตรฐาน ฟลมท่ีมองไมเห็นจะกอตัวข้ึน ความเร็วในการเคล่ือนตัวเพื่อคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงไมตางกัน ไมวาจะใชหัวฉีดมีรูอากาศ

Page 5: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

5SAFET Y LIFE

หรือไมมีรูอากาศ แตการใชหัวฉีดมีรูอากาศจะมีประสทิธภิาพกวาเพราะสามารถฉีดฟองโฟมลงบนผวิหนาเชือ้เพลิงประเภทแอลกอฮอลไดอยางนิม่นวลกวา จากนัน้ฟองโฟมจะคอยๆ เคล่ือนท่ีครอบคลุมผวิหนาเชือ้เพลิงอยางชาๆ และท่ัวถงึอีกท้ังไมทําใหผิวหนาเชื้อเพลิงกระฉอกจนเกิดการลุกลามอีกดวย ในกรณีเกดิเพลิงไหมขนาดใหญและตองฉีดโฟมจากระยะไกล อัตราการใชโฟม (Application Rate) จะเปนตัวแปรสําคัญในการพจิารณาใชชนดิหัวฉีดและวิธดัีบไฟ ท้ังนี้เทคนคิการใชโฟมและตัวแปรดานประสทิธภิาพของการใชอัตราสวนผสม 3% ของโฟม AR-AFFFจะเหมือนกันไมวาจะเปนชนิดอัตราสวนผสม3%/6% หรือ 3%/3%

โฟมสงัเคราะห/สารสรางฟอง (อัตราการขยายตวัสงู) [Synthetic/Detergent (HighExpansion) Foam Concentrate] โดยปกติ น้าํยาโฟมชนดินีจ้ะใชอัตราสวนผสม 1.5% ถงึ 2.5%ผลิตจากการผสมสารลดความตึงผิวประเภทไฮโดรคารบอนกับสารทําละลาย สวนผสมโฟมอัตราการขยายตัวสูงกับน้ําจะใชงานกับเคร่ืองกาํเนดิโฟมขายตัวปานกลางหรือขยายตัวสงู ข้ึนอยูกบัความตองการจะนาํไปใชงานในพืน้ท่ีปองกนัหรือระงับเพลิงไหมในพื้นท่ีลักษณะพิเศษ เชนหองใตดิน อุโมงคเหมืองแร หองบรรทุกสินคาบนเรือ ฯลฯ ซึง่เม่ือตองการควบคุมเพลิงไหมใหอยูเฉพาะในพื้นท่ี จึงปลอยโฟมอัตราการขยายตัวสงูท่ีมีฟองน้าํหนกัเบาในปริมาณมากเติมเขาไปจนเต็มพื้นท่ี

โฟมอัตราขยายตัวสูงจะมีอัตราขยายตัว400: 1 จนถงึ 1,000: 1 ข้ึนอยูกบัอุปกรณผลิตฟองโฟมหรือเคร่ืองกําเนิดฟองโฟท่ีใช

โฟมอัตราขยายตัวจะดับไฟดวยวิธทํีาใหอุณหภูมิเยน็ลงและทําใหเปลวไฟมอด สามารถดับไดท้ังไฟท่ีเกดิจากเชือ้เพลิงชนดิของแข็งและเชื้อเพลิงชนิดของเหลวไวไฟ นอกจากนี้ โฟมอัตราการขยายตัวสงูยงัใชควบคุมการร่ัวไหลของแกสธรรมชาติเหลว (LNG) ไดดี ชั้นท่ีอยูลึกไปของโฟมอัตราการขยายตัว 500:1 ทําหนาท่ี

เปนฉนวนกัน้ความรอนรอบบริเวณท่ีแกส LNGร่ัวไหลจงึลดความรอนท่ีสงเขามา สงผลใหอัตราการกล่ันตัวเปนไอของแกสนอยลง และเนือ่งจากโฟมอัตราขยายตัวสูงมีน้ําท่ีผนังฟองโฟมนอยมีน้าํหนกัเบาและฟุงกระจายจึงไมเหมาะสมกบัการใชงานกลางแจง สาํหรับโฟมอัตราการขยายตัวปานกลาง 50:1-60:1 โฟมมีความหนาแนน

และมีน้าํท่ีผนงัฟองโฟมมากกวา สามารถนาํไปใชงานกลางแจงได แตยังไดรับผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศ

โฟมไฟ A (Class A Foam Concentrate)เปนสารผสมชนิดสลายตัวทางชีวภาพจากสารสรางฟองและสารดับเพลิงเปยก เม่ือนาํไปผสมกับน้ําในอัตราสวนท่ีถูกตองจะทําใหคุณสมบัติของน้ําเกิดการเปล่ียนแปลง 2 ประการ ไดแก1) เพิ่มประสิทธิภาพการทําใหเชื้อเพลิงเปยกน้ําซึมทะลุเชื้อเพลิงประเภท A ไดดีและลึกข้ึน

Class A Foam

Page 6: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

6SAFET Y LIFE

2) เพิ่มคุณสมบัติความเปนโฟมของน้ํา ทําใหน้ํายึดติดกับผิวหนาเชื้อเพลิงไดท้ังแนวด่ิงและแนวราบโดยไมไหลลนออกมา น้ําจึงดูดซับความรอนไดมากข้ึน กลาวกนัวา เพยีงเติมน้าํยาโฟมไฟ A เพียงเล็กนอยลงไปในน้ํา น้ําจะมีประสิทธิภาพดับไฟเพิ่มข้ึนถึง 5 เทาสารดับเพลิงเปยก (Wetting Agent) มีลักษณะคลายกบัโฟมไฟ A โดยเฉพาะคุณสมบติัเพิม่ประสิทธภิาพดับไฟของน้าํ แตสารดับเพลิงเปยกไมใชโฟมและเม่ือเติมลงไปในน้ําแลวจะไมทําใหเกิดฟองโฟม

โฟมฟลูออโรโปรตีน (FluoroproteinFoam Concentrate) มีท้ังชนิดอัตราสวนผสม3% และ 6% ใชกรรมวิธีเดียวกับการผลิตโฟมโปรตีนเพียงแตเติมสารลดความตึงผิวประเภทฟลูออโรคารบอน (Fluorocarbon Surfactants)ลงไป โดยสารท่ีเพิ่มลงไปในโฟมโปรตีนทําใหประสทิธภิาพของโฟมฟลูออโรโปรตีนเหนอืกวาโฟมโปรตีนธรรมดาในสองดาน ไดแก 1) โฟมฟลูออโรโปรตีนสามารถตานทานการผสม/การปนเปอนของเชื้อเพลิง ทําใหโฟมไหลล่ืนไปบนผวิหนาเชือ้เพลิงไดดีหลังจากฉีดลงไปบนของเหลวไวไฟ และ 2) เนื่องจากโฟมฟลูออโรโปรตีน

ถงักจ็ะลอยตัวข้ึนมาผานชัน้ตางๆ ของเชือ้เพลิงจนถงัผวิหนาแลวแผคลุมพืน้ท่ีดานบนสดุท้ังหมด

ในบางกรณี โฟมฟลูออโรโปรตีนใชในอุตสาหกรรมผลิตเชือ้เพลิงไฮโดรคารบอน โดยนําไปดับไฟถังเก็บเชื้อเพลิง ดวยเหตุท่ีจําเปนตองใชกบัอุปกรณฉีดโฟมชนดิมีรูอากาศ ผูผลิตจงึแนะนาํอัตราการใชงานของสวนผสมโฟมกบัน้าํสาํหรับฉีดคลุมเชือ้เพลิงไฮโดรคารบอนซึง่หก

ลน ร่ัวไหลท่ี 0.16 แกลลอน/นาที/ตารางฟุตโฟมฟลูออโร-โปรตีนสรางช้ันฟลม

(FFFP; Film Forming Fluoro-Protein) โฟมชนดินี้พัฒนาจากโฟม AFFF และโฟมฟลูออโร โปรตีนโดยใชโฟมฟลูออโรโปรตีนเปนพืน้ฐานแลวเพิม่สาร ลดความตึงผวิของน้าํ “ฟลอูอโรคารบอน”เขาไป โฟม FFFP ไดรับการเสริมประสทิธภิาพใหลมเปลวไฟไดเร็วเหมือนโฟม AFFF แตปกคลุมเชือ้เพลิงเหนยีวแนนปองกนัการลุกติดไฟข้ึนมาใหมเหมือนโฟมฟลูออโรโปรตีน นั่นคือ โฟมFFFP รวมเอาประสิทธิภาพของโฟม AFFF และโฟมฟลูออโรโปรตีนมาอยูดวยกนั ยกเวนในบางสถานการณ เชน โฟม FFFP จะไมมีคุณสมบติัลมเปลวไฟของโฟม AFFF เม่ือดับไฟเกดิจากน้าํมันเชือ้เพลิงหกหรือร่ัวไหลในกรณเีคร่ืองบนิตกหรือรถขนสงน้ํามันนพลิกควํ่าบนถนนหลวง และเม่ือใชกับไฟท่ีไหมลึกลงไปใตผิวหนาเชื้อเพลิงจะไมมีคุณสมบติัปองกนัการลุกติดข้ึนมาใหมของโฟมฟลูออโรโปรตีน

โฟม FFFP สามารถใชงานไดกบัหัวฉีดท้ังชนดิมีรูอากาศและชนิดไมมีรูอากาศ เม่ือใชกับหัวฉีดชนดิไมมีรูอากาศจะไมไดอัตราขยายตัวดีเทาโฟม AFFF ท่ีใชกับหัวฉีดชนิดเดียวกัน ท้ังนี้เม่ือใชโฟม FFFP ดับไฟท่ีเกิดจากสารเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอน หก ร่ัวไหล อัตราการใชงานคือ0.10 แกลลอน/นาที/ตารางฟตุ

โฟมโปรตนี (Protein Foam Concentrate)มีใชงานท่ีอัตราสวนผสม 3% หรือ 6% เปนโฟมไดมาจากการยอยสลายของโปรตีน สารรกษาสภาพ และวัตถกุนัเสียซึง่ใหผลิตภัณฑท่ีมีความคงตัวและมีฟองโฟมหนาแนน แตจะตองใชกับ

ตอตานการปนเปอนจากเชื้อเพลิงจึงสามารถฉีดลงไปท่ีผวิหนาเชือ้เพลิงโดยตรงซึง่โฟมจะไมถกูไอสารเชือ้เพลิงเขาแทนท่ีจนโฟมเสือ่มสภาพ

โฟมชนดินีส้ามารถใชงานไดกบัเคร่ืองผลิตโฟมแบบแรงดันสูงสะทอนกลับและฉีดโฟมลงไปใตผิวหนาเชื้อเพลิงเพื่อใหโฟมกระจายไปถึงพื้นลางสุดของถังเก็บเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอนแบบฝาปดรูปกรวย เม่ือโฟมถึงฐานลางสุดของ

Protein Foam

Page 7: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

7SAFET Y LIFE

อุปกรณชนิดมีรูอากาศ และฟองโฟมมีโอกาสไดรับการปนเปอนจากเชื้อเพลิงหากฉีดตรงๆลงไปท่ีผวิหนาเชือ้เพลิง ดังนัน้การใชโฟมโปรตีนตองคํานงึถึงเทคนิคการฉีดเปนสําคัญ โดยตองฉีดโฟมลงไปท่ีผวิหนาเชือ้เพลิงอยางนุมนวลท่ีสดุเทาท่ีจะทําได อัตราการใชงานของสวนผสมโฟมโปรตีนกับน้ําสําหรับดับไฟท่ีเกิดจากเชื้อเพลิงไฮโดรคารบอนท่ีอัตราการละลายน้ําคือ 0.16แกลลอน/นาที/ตารางฟตุ เนือ่งจากโฟมมีความม่ันคงจงึเคล่ือนตัวอยางชาๆ เม่ือฉีดคลุมเชือ่เพลิงท่ีเปนของเหลวไวไฟ

อายุการเก็บโฟม (Shelf Life) หมายถึงระยะเวลาท่ีน้าํยาโฟมยงัมีความคงตัวและสามารถใชงานไดโดยไมมีการเปล่ียนแปลงคุณลักษณะดานประสิทธิภาพอยางเห็นไดชัด อายุการเก็บโฟมข้ึนอยูกับสวนผสมของน้ํายาโฟม อุณหภูมิโดยรอบท่ีจัดเก็บโฟม วัสดุท่ีใชทําท่ีเก็บโฟม(ถังบรรจุน้ํายาโฟม) ในกรณีท่ีโฟมอยูในถังบรรจุท่ีมาจากโรงงานผลิต อายุการเก็บโฟม20-25 ป เปนไปไดสาํหรับโฟม AFFF, AR-AFFFและโฟมสังเคราะหชนิดอ่ืนๆ ท่ีจัดเก็บตามวิธีท่ีผูผลิตแนะนาํ เขมงวดเร่ืองอุณหภูมิจดัเกบ็และบรรจุในถังเดิมท่ีมาจากโรงงานผลิต สําหรับโฟมโปรตีนซึ่งไมใชโฟมสังเคราะห แตเปนโฟมไดจากธรรมชาติตามสูตรของผูผลิต โอกาสจะเนาเสยีหรือเสือ่มสภาพจงึมีสงูกวาโฟมสงัเคราะหแตหากจดัเกบ็ตามคําแนะนาํของผูผลิต ควบคุมอุณหภูมิจัดเก็บใหเปนไปตามท่ีกําหนดไว และบรรจุอยูในถังเดิมท่ีมาจากโรงงานผลิต เปนไปไดท่ีอายุการเก็บจะยาวนานถึง 10 ป

ขอจํากัดในการใชโฟมดบัไฟ (Limitationon the Use of Foam)

เนื่องจากมีสวนผสมของน้ํา โฟมจึงเปนตัวนําไฟฟา

เชนเดียวกับน้ํา โฟมไมเหมาะสมจะ

นาํไปใชดับไฟเกดิจากโลหะติดไฟ (ไฟ Class D) ไมควรนําโฟมไปดับไฟท่ีเกิดจากหรือ

เกีย่วของกบัแกสหรือของเหลวท่ีมีอุณหภูมิตํ่าสดุ เม่ือฉีดโฟมลงไปท่ีของเหลวกําลังลุก

ไหมซึ่งมีอุณหภูมิเกิน 100 ํC (212 ํF) น้ําในสวนผสมโฟมจะกลายเปนฟองกระเซ็นหรือหกลนออกมา

ในการดับไฟตองเตรียมสวนผสมโฟมในปริมาณท่ีพอเพียงสําหรับการใชงานเสมอ

ขอไดเปรยีบของโฟมดบัไฟ (Advantageof Foam)

ใช ฉีดปกคลุมเพลิงไหม ไดอย างมีประสิทธิภาพ และทําใหไฟเย็นลง

ทําหนาท่ีเปนตัวกั้นไอสารเชื้อเพลิงปองกันไมใหไอสารเชื้อเพลิงระเหยข้ึนมา

สามารถใชดับไฟ Class A เนื่องจากมีน้ําอยูในสวนผสมในปริมาณมาก

ใชฉีดคลุมน้ํามันท่ีกลนร่ัวไหล ทําใหสามารถใชน้ําไดอยางประหยัด

และคุมคา เปนสารดับเพลิงท่ีใหประสิทธิภาพ

สูงสดุในการดับไฟถงับรรจขุองเหลวไวไฟ สามารถใชไดกับท้ังน้ําจืด นําเค็ม น้ํา

กระดาง น้ําออน ไมแตกตัวอยางฉับพลัน แตจะดับไฟ

อยางตอเนือ่งตามลําดับข้ันตอน โฟมจะคลุมเพลิงไหมอยางม่ันคงและ

ดูดซบัความรอนจากเชือ้เพลิงซึง่จะไมทําใหเกดิการลุกติดไฟข้ึนมาใหม

สวนผสมโฟมไมหนักและระบบโฟมใชพื้นท่ีไมมากในการติดต้ัง

ขอแนะนําในการใชโฟม (PracticalFoam Issues)

สวนผสมโฟมจะมีความคงตัวเม่ือผสมกับน้ําอุณหภูมิตํ่า (ระหวาง 1.7 ํC-26.7 ํC)

เพื่ อปองกันสารปนเปอนในอากาศเขาไปในระบบโฟม ใหนําอากาศบริสุทธเขาไปในหัวฉีดโฟมตลอดเวลา

แรงดันหัวฉีดโฟม (Nozzle Pressures)ตองอยูในระหวาง 3.4 - 13.8 บาร (50-200ปอนด/ตารางนิว้)

เม่ือมีการหก ลน ร่ัวไหลของของเหลวไวไฟ ใหรีบปองกนัการลุกติดไฟดวยการฉีดโฟมคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงท้ังหมดไว

ไมแนะนําใหใชโฟมดับไฟท่ีเกิดจากอุปกรณไฟฟาท่ีมีกระแสไฟฟาเดินอยู

หามใชโฟมดับไฟท่ีเกิดจากวัตถุท่ีมีปฏิกิริยากับน้ํา เชน แม็กนีเซียม ไททาเนียมโปแตสเซียม ฯลฯ

รปูแบบการใชโฟม (Foam Applications)ตามมาตรฐาน NFPA 11 การใชงานโฟม

ม ี 2 รูปแบบ ไดแก ระบบโฟม (Foam System)

Page 8: สารสร างโฟมส งเคราะห (Synthetic Foaming Agents) สารลดความต งผ วของน าประเภท ไฮโดรคาร

8SAFET Y LIFE

และการฉีดโฟมดวยมือ (Handline)ระบบโฟม (Foam System) หมายถึง

การใชงานโฟมท่ีเปนระบบครบวงจรติดต้ังในพื้นท่ีปกปอง มีอุปกรณจายน้ํายาโฟมและน้ําอุปกรณผสมโฟมและอุปกรณโฟมฉีดโฟม รวมอยูในระบบเดียวกัน บังคับการทํางานอัตโนมัติหรือบังคับดวยมือ พรอมดวยอุปกรณประกอบท่ีสาํคัญ เชน เคร่ืองสบูน้าํ อุปกรณตรวจจบัเพลิงอุปกรณบังคับการทํางาน ฯลฯ ระบบโฟมท่ีใชกันอยูในปจจุบันแบงออกเปนประเภทยอย ดังตอไปนี้

ระบบโฟมอดัอากาศ (CAFS; CompressedAir Foam System) ใชอุปกรณปลอยโฟมดวยแรงดันอากาศท่ีเชือ่มตอกบัหองผสมโฟมโดยตรงเพือ่ฉีดหรือปลอยโฟมลงบนพืน้ท่ีเปาหมาย บงัคับการทํางานดวยระบบตรวจจบัอัตโนมัติหรือบงัคับดวยมือ โฟมจะถกูฉีดออกมาดวยแรงดันอากาศทําใหคลุมผิวหนาเชื้อเพลิงไดอยางรวดเร็วและท่ัวถึง ใชดับไฟเกิดจากของเหลวติดไฟไดและของเหลวไวไฟ แตหามใชดับไฟตอไปนี้

ไฟเกิดจากสารเคมีประเภท เซลลูโลสไนเตรทซึ่งปลอยออกซิเจนหรือสารออกซิไดซ

ออกมาในปริมาณมาก ไฟเกิดจากอุปกรณไฟฟาในพื้นท่ีเปด

ซึ่งมีกระแสไฟฟาเดินอยู ไฟเกิดจากโลหะท่ีมีปฏิกิริยากับน้ํา

เชน โซเดียม โปแตสเซยีม โซเดียมโปแตสเซยีมอัลลอย (NaK)

ไฟเกิดจากวัตถุอันตรายมีปฏิกิริยากบัน้ํา เชน ไทรเอทิล-อะลูมิเนียม ฟอสฟอรัสเพนทอกไซด ฯลฯ และ

ไฟเกิดจากแกสเหลวไวไฟ ระบบตดิตัง้ประจําที ่(Fixed System)

ระบบซึง่โฟมจะไหลไปตามทอจากสถานผีสมโฟมท่ีเปนศูนยกลางไปยงัอุปกรณฉีดหรือปลอยโฟมแลวฉีดสวนผสมโฟมลงไปคลุมพืน้ท่ีปกปองดวยเคร่ืองสูบน้ําติดต้ังถาวรในระบบ

ระบบเคลื่อนที่ (Mobile System) ระบบซึ่ ง อุ ปกรณ ผลิ ตส วนผสมโฟมติ ดต้ั งบนลอเล่ือนท่ีเคล่ือนท่ีไดเองหรือถูกลากจูงดวยพาหนะอ่ืน โดยตองมีสวนเชือ่มตอกบัน้าํสาํรองหรือโฟมท่ีผสมเสร็จแลวสําหรับใชฉีดดับไฟในบริเวณท่ีอยูหางออกไป

ระบบยกหิว้ (Portable System) อุปกรณ ผลิตสวนผสมโฟม น้าํ น้าํยาโฟม สายสบู หัวฉีดท่ีรวมกันเปนระบบฉีดโฟมสามารถยกห้ิวไปยังจดุท่ีตองการใชโฟมได

ระบบก่ึงติดตั้งประจําที่ (SemifixedSystem) เปนระบบหัวฉีดโฟมหรือหัวปลอยโฟมติดต้ังประจาํท่ีสามารถตอเขากบัสายสบูหรือทอซึง่เชือ่มกบัอุปกรณผลิตโฟมท่ีอยูหางออกไปในระยะท่ีปลอดภัยได

การฉีดโฟมดวยมือ (Handline) ประกอบดวยสายสูบและหัวฉีดโฟมท่ีถือไดดวยมือ

หัวฉีดมอนเิตอร (Monitor) เปนหัวฉีดโฟมขนาดใหญ มี 2 ชนิดคือ

หัวฉีดมอนิ เตอรประจําท่ี (Fixed

Monitor) เปนหัวฉีดปน (Cannon) ฉีดโฟมไดในปริมาณมากในแตละคร้ัง ติดต้ังประจําท่ีบนพื้นท่ีรองรับท้ังพื้นราบและพื้นยกระดับ

หัวฉีดโฟมเคล่ือนยายได (PortableMonitor) เปนหัวฉีดปน (Cannon) ฉีดโฟมไดในปริมาณมากในแตละคร้ัง ติดต้ังบนแทนรองรับเคล่ือนท่ีไดหรือลอเล่ือนเดินทางไปยงัจดุเกดิเหตุ

หัวฉีดโฟมมือถือ (Nozzle) ใชฉีดหรือปลอยสวนผสมโฟมไปยังเพลิงไหม มีใชกันอยูหลายชนิด อาทิ

หัวฉีดโฟมหรืออุปกรณปลอยโฟมประจาํท่ี (Foam Nozzle or Fixed Foam Maker)หัวฉีดโฟมออกแบบมาเพือ่ใชตอกบัสายสบูท่ีสงสวนผสมโฟมเขามาสาํหรับฉีดออกไปคลุมเพลิงไหม โดยสวนใหญจะเปนชนิดมีรูอากาศ

หั วฉีดดูดโฟมด วยตัวเอง (Self-Educting Nozzle) เปนหัวฉีดท่ีเชื่อมตอกับอุปกรณผสมโฟมผานทอดูด (Venturi) ชวงสัน้ๆหรือทอยดืหยุนไดสาํหรับใชดูดโฟมสงไปยงัหัวฉีดเพือ่ฉีดโฟมคลุมเพลิงไหม

ตัวปลอยโฟมดวยแรงดันสงู [PressureFoam Maker (High Back Pressure or ForcingType)] ใชหลักการดูดสวนผสมโฟมเขาไปยงัตัวปลอยโฟมชนิดมีรูอากาศผานทอดูด (Venturi)ดวยแรงดันอากาศ

REFERENCE1. NFPA 11; Standard for Low-, Me-

dium-, and High-Expansion Foam 2010Edition

2. Foam Basics; David's Fire Equip-ment, http://www.davidsfire.com/foam_basics.htm

3. Firefighting foam; Wikipedia, thefree encyclopedia, https://en.wikipedia.org/wiki/Firefighting_foam

Fixed Monitor


Top Related