ce439 electricity

131
INFRASTRUCTURE Chapter 4 page 1 INFRASTRUCTURE Electricity CE 439

Upload: not-my-documents

Post on 10-Apr-2015

438 views

Category:

Documents


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 1

INFRASTRUCTURE

Electricity

CE 439

Page 2: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 2

การผลิตไฟฟ้า - โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ

Page 3: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 3

การผลิตไฟฟ้า

Page 4: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 4

โครงสร้างกิจการไฟฟ้าของประเทศไทยในปัจจุบัน

ผู้ใช้ไฟฟ้า

ผู้ใช้ไฟฟ้า ในเขต

นิคมอุตสาหกรรม

กฟภ.กฟน.

System Operation

องค์กรก ากับดูแลอิสระ- กกพ.

ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่ (IPP)

ผู้ผลิตต่างประเทศ

ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายเล็ก (SPP)

ระบบผลิตไฟฟ้า

ระบบส่งไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้าของ บมจ. กฟผ.

ระบบจ าหน่ายไฟฟ้า

ผู้ใช้ไฟฟ้า

บมจ.กฟผ.

Page 5: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 5

โครงสร้างกิจการไฟฟ้าที่มีการแข่งขันอย่างเสรี

http://www.eppo.go.th/doc/idp-05-priv-vrs.html

Page 6: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 6

กฟผ.กฟน.กฟภ.

-แก้ไข พรบ. กฟผ.-รับซ้ือไฟฟ้า จาก SPP -จัดตั้ง EGCO

ประมูลรับซื้อไฟฟ้าจาก IPP

กฟผ.ลงนามสัญญาซื้อไฟฟ้ากับ IPP 7 ราย

ครม. อนุมตัิแผนแม่บทปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ 4 สาขาให้มีการแข่งขันอย่างเสรีในการขายส่งไฟฟ้า (Power Pool)

คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแนวทาง IRB รายสาขาของ กนร.

-ขายหุ้น RATCH-อนุมัติแผน Power Pool และพรบ. การประกอบกิจการพลังงาน-ปรับโครงสร้าง อัตราค่าไฟฟ้า

ประกาศรับ ซื้อไฟฟ้าจาก VSPP

-แผน Power Pool ถูกชะลอ-แปรรูป ปตท.

-มติ ครม. ยกเลกิแผน Power Pool-ยุทธศาสตร์ : กฟผ. National Champion-เห็นชอบโครงสร้าง ESB และแปรรูป กฟผ.เข้าตลาดหลักทรัพย์ทั้งองค์กร

เลื่อนการแปรรูป กฟผ. เพ่ือลดแรงต่อต้านจากสหภาพ และประชาชน

-เดินหน้า แปรรูป กฟผ. อีกคร้ัง ก าหนด IPO พ.ย.48-ปรับเกณฑ ์การก าหนดค่าไฟฟ้า

2548 2547 2546 2545 2544 2543 2541 2542 2540 2537 2536 2535< 2535

พัฒนาการกิจการไฟฟ้าไทย : การปรับโครงสร้างกิจการ

Page 7: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 7

กฟผ. ผูกขาดกิจการผลิตไฟฟ้า

-แก้ไข พรบ. กฟผ. (เปิดช่องเอกชนมีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้า)-จัดตั้ง EGCO-ประกาศรับซ้ือไฟฟ้าจาก SPP (ระบบ Cogen และพลังงานหมุนเวียน)

เปิดประมูลรับซื้อไฟฟ้าจาก IPP

•กฟผ. ลงนามซื้อขายไฟฟ้ากับ IPP 7 ราย•ครม. มีมติหยุดรับการรับซ้ือไฟฟ้าจาก SPP ยกเว้นที่ใช ้RE

เริ่มซื้อไฟฟ้าจาก สปป.ลาว

ขายหุ้นราชบุรีโฮลดิ้งครม. อนุมตัิแผนระบบตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้า (Power Pool)

ประมูลขอรับเงินสนับสนุนแก่ RE SPP

ประกาศรับซ้ือไฟฟ้าจาก VSPP (RE)

รัฐบาลประกาศให้โรงไฟฟ้าIPP บอ่นอก และหินกรูด ย้ายที่ตั้ง และเปลี่ยนเชื้อเพลิงเป็นก๊าซฯ

อนุมัติแผน PDP โรงไฟฟ้า Gulf ได้รับการจัดสรรก าลังการผลิตเพิ่ม 700 MW

-ครม.เห็น ชอบให ้การไฟฟ้าสามารถลงทุนในธุรกิจ CHP และระบบ DG-กฟผ.ได้รับการจัดสรรการขยายก าลังผลิตร้อยละ 50

2548 2547 2546 2545 2544 2543 2541 2542 2540 2537 2536 2535< 2535

พัฒนาการกิจการไฟฟ้าไทย : บทบาทของภาคเอกชน

(Combined Heat and Power: CHP) Distributed Generation (DG)

Page 8: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 8

2551 2550 2549 2548 2547 2546 2544 2545 2543 2542 2534

จัดตั้งคณะอนุกรรมการ Ft

................

ครม. เห็นชอบแนวทางจัดตั้งองค์กรก ากับดูแลอิสระรายสาขา

ครม. เห็นชอบร่าง พรบ. การประกอบกิจการพลังงาน เพ่ือจัดตั้งองค์กรก ากับดูแล

•ครม. ยกเลกิมต ิ ครม. ปี 2543 เร่งแผน Power Pool และร่าง พรบ. การประกอบกิจการพลังงาน•ครม.เห็นชอบ-โครงสร้างกิจการEnhanced Singer Buyer-ให้มี Board of Commission ท าหน้าที่เป็นองค์ก ากับดูแลโดยมีร่าง พรบ. รองรับ

ม.ีค. ประกาศใช้ระเบียบส านักนายกฯ ว่าด้วยคณะกรรมการก ากับดูแลกิจการไฟฟ้า

พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 บังคับใช้เป็นกฎหมายตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม 2550

ม.ค. ครม. แต่งตั้งคณะกรรมการก ากับกิจการพลังงาน (กกพ.)

พัฒนาการกิจการไฟฟ้าไทย : การก ากับดูแล

Page 9: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 9

ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน

ปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อรายละ 60 เมกะวัตต์แต่ไม่เกิน 90 เมกะวัตต์

Page 10: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 10

ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก (VSPP)

ผู้ผลิตไฟฟ้าทั้งภาคเอกชน รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และประชาชน ทั่วไปที่มีเครื่องก าเนิดไฟฟ้าของตนเองที่จ าหน่ายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าฝ่ายจ าหน่าย โดยมีปริมาณพลังไฟฟ้า

ขายเข้าระบบไม่เกิน 1 เมกะวัตต์ และมีลักษณะกระบวนการผลิตไฟฟ้า ดังนี้ 1. ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังลม พลังแสงอาทิตย์ พลังน้ าขนาดเล็ก พลัง

น้ าขนาดเล็กมาก และก๊าซชีวภาพ เป็นต้น

2. ผลิตไฟฟ้าจากกากหรือเศษวัสดุเหลือใช้ในการเกษตร หรือกากจากการผลิตผลิตภัณฑ์อตุสาหกรรมหรือการเกษตร ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจากกากหรือเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร หรือจากการผลิตผลิตภณัฑ์อตุสาหกรรม หรือการเกษตร ขยะมูลฝอย ไม้จากการปลูกป่าเป็นเชื้อเพลงิ เปน็ตน้

3. การผลิตไฟฟ้าจากไอน้ าที่เหลือจากกระบวนการ ผลิตผลิตภณัฑ์อุตสาหกรรมหรือการเกษตรที่ใช้เชื้อเพลิงในข้อ (1) หรือ (2)

Page 11: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 11

แผนภูมิระบบพลังงานไฟฟ้า ปี 2551

Page 12: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 12

Share of Power Generation by Fuel Type (Feb. 2010)

Page 13: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 13

ก าลังผลิตตามสัญญาในระบบ กฟผ. ในปี 2552

Page 14: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 14

Installed Generating Capacity (February 2010)

Page 15: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 15

สัดส่วนก าลังผลิตไฟฟ้า 2552-2564

Page 16: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 16

ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุดของประเทศ

Page 17: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 17

ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุดในเขตนครหลวง

Page 18: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 18

ความต้องการพลังงานไฟฟ้าสูงสุดในเขตภูมิภาค

Page 19: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 19

ก าลังการผลิตติดตั้งของระบบ / การผลิตของระบบ

Page 20: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 20

Main Electricity Performance Indicators

Page 21: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 21

ก าลังผลิตไฟฟ้าส ารอง

ปริมาณส ารองต่ าสุดของปีมักเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อนก าลังผลิตส ารองในแผนพัฒนาฉบับที่ 8 ที่ก าหนดไว้ในระดับ 20-25%

Page 22: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 22

ลักษณะการใช้ไฟฟ้าในแต่ละวัน

Page 23: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 23

ปริมาณการใช้ไฟฟ้า

Page 24: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 24

เปรียบเทียบดัชนี : การใช้พลังงานไฟฟ้า/คน และ GDP/คน

Page 25: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 25

การขายไฟฟ้าของ กฟผ.

Page 26: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 26

การขายไฟฟ้าของ กฟน.

Page 27: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 27

ความต้องการไฟฟ้าของอาเซี่ยน

Page 28: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 28

การใช้เชื้อเพลิงของ กฟผ. ประจ าเดือนกุมภาพันธ์ 2553

Page 29: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 29

การเปรียบเทียบราคาถ่านหิน-น้ ามัน-ก๊าซธรรมชาติ

Page 30: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 30

ข้อดี ข้อเสียของแต่ละเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

Page 31: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 31

ข้อดี ข้อเสียของแต่ละเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า (ต่อ)

Page 32: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 32

ข้อดี ข้อเสียของแต่ละเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า (ต่อ)

Page 33: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 33

ข้อดี ข้อเสียของแต่ละเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า (ต่อ)

http://www.egco.co.th/th/energy_knowledge_electricity_gen.asp

Page 34: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 34

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้าพลงัความร้อน (Thermal Power Plant)- เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้น้ ามันเตา หรือถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า อาศัย

ความร้อนจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงไปต้มน้ าให้เป็นไอน้ าที่มีแรงดันและมี อุณหภูมิสูง เพื่อไปขับดันกังหันไอน้ า ซึ่งจะมีเพลาต่อเชื่อมกับเครื่องก าเนิดไฟฟ้า จากนั้นไอน้ าจะผ่านไปกลั่นตัวเป็นน้ าที่เครื่องควบแน่น และถูกส่งกลับมารับความร้อนในหม้อน้ า (Boiler) อีกครั้ง

Page 35: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 35

โรงไฟฟ้าพลังความร้อน

Page 36: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 36

โรงไฟฟ้าพลังความร้อน

Page 37: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 37 37

ประสิทธิภาพประมาณ 34%

BFW(Boiler Feed Water)

อากาศ

พลังงานในเชื้อเพลงิ100 หน่วย

พลังงานไฟฟ้าที่ได้34 หน่วย

พลังงานสูญเสียในการผลิต6 หน่วย

พลังงานสูญเสียในห้องต้มไอน้ า 12 หน่วยพลังงานในไอน้ า 88 หน่วย

พลังงานสูญเสียใน Condensor 12 หน่วย

เครื่องจักรไอน้ า

ประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าพลังความร้อน

Page 38: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 38

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้ากังหนัแก๊ส (Gas Turbine Power Plant) - ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือน้ ามันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง โดยท าการอัดอากาศให้มีความ

ดันสูง 8-10 เท่า และส่งอากาศเข้าไปในห้องเผาไหม้ ท าให้เกิดการขยายตัว เกิดแรงดัน และอุณหภูมิสูง ส่งอากาศเข้าไปในหมุนเครื่องกันหันแก๊ส เพลาของเครื่องกังหันแก๊สจะต่อกับเพลาของเครื่องก าเนิดไฟฟ้า ท าให้เกิดการเหนี่ยวน าและได้กระแสไฟฟ้า

Page 39: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 39

เครื่องก าเนิดโรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส

Page 40: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 40 40

พลังงานไฟฟ้าที่ได้36 หน่วย

พลังงานในเชื้อเพลงิ100 หน่วย

~

พลังงานสูญเสียในการผลิต6 หน่วย

อากาศ

พลังงานในไอเสีย58 หน่วย

ประสิทธิภาพประมาณ 36%

ประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส

Page 41: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 41

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้าพลงัความร้อนร่วม (Combined-Cycle Power Plant) - เป็นการน าเอาเทคโนโลยีของโรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ และโรงไฟฟ้าพลังไอน้ ามา

ใช้งานเป็นระบบร่วมกัน เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ซึ่งมีการท างาน 2 ระบบร่วมกัน

- โดยการน าไอเสียจากเครื่องกังหันก๊าซ ซึ่งมีความร้อนสูง (ประมาณ 500oซ.) ไปผ่านหม้อน้ า (Heat Recovery Steam Generator) และถ่ายเทความร้อนให้กับน้ า ท าให้น้ าเดือดกลายเป็นไอ เพื่อขับกังหันไอน้ าส าหรับผลิตพลังงานไฟฟ้า

- โดยทั่วไปโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจะประกอบด้วยเครื่องกังหันก๊าซ 1 – 4 เครื่องร่วมกับกังหันไอน้ า 1 เครื่อง โดยมีประสิทธิภาพรวม 40-45% มีอายุการใช้งานประมาณ 20 ปี และใช้เป็นโรงไฟฟ้าผลิตพลังงานปานกลางถึงระดับฐาน (Medium to Base Load Plant)

Page 42: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 42

โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม

http://www.power-technology.com/projects/san_joaquin/san_joaquin3.html

Page 43: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 43

โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมน้ าพอง

Page 44: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 44

โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมระยอง

Page 45: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 45

45

~กังหันแก๊ส HRSG

(Heat Recovery Steam Generator)

ประสิทธิภาพรวมประมาณ 53%

พลังงานสูญเสียใน Condensor 23 หน่วยพลังงานสูญเสียในการผลิต

12 หน่วย

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากกังหันแก๊ส36 หน่วย

พลังงานไฟฟ้าที่ได้จากเครื่องจักรไอน้ า17 หน่วย

พลังงานในเชื้อเพลงิ100 หน่วย

พลังงานสูญเสียใน HRSG 12 หน่วย

เครื่องจักรไอน้ า

ประสิทธิภาพโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม

Page 46: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 46

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (Nuclear Power Plant) - เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนประเภทหนึ่ง อาศัยพลังความร้อนที่เกิดขึ้นจาก

ปฏิกิริยาการแตกตัวของธาตุยูเรเนียม แล้วน าไปใช้ในกระบวนการผลิตไอน้ าที่ใช้ในการเดินเครื่องก าเนิดไฟฟ้า

Page 47: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 47

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass Power Plant) - เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้เศษวัสดุจากเชื้อเพลิงชีวมวล ได้แก่ กากหรือเศษวัสดุเหลือ

ใช้ทางการเกษตร กากจากผลผลิตทางการเกษตรที่ผ่านการแปรรูปแล้ว เช่น แกลบ ชานอ้อย เศษไม้ กากปาล์ม กากมันส าปะหลัง ซังข้าวโพด กากและกะลามะพร้าว ส่าเหล้า เป็นต้น น ามาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า และพลังไอน้ า ซึ่งอาจเป็นเศษวัสดุชนิดเดียว หรือหลายชนิดรวมกันก็ได้ โดยชีวมวลแต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป ส าหรับโรงไฟฟ้าที่เลือกใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิง เนื่องจากแกลบมีความชื้นต่ า จึงให้ค่าความร้อนสูง และมีหลักการท างานคล้ายกับโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน

Page 48: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 48

โรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงชีวมวล

Page 49: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 49

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้าพลงังานขยะ (Incinery Power Plant) - ใช้ขยะ เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า โดยขยะส่วนใหญ่เป็นมวลชีวภาพ เช่น

กระดาษ เศษอาหาร และไม้ ฯลฯ โรงไฟฟ้าพลังงานขยะมีวิธีการท างานเหมือนกับโรงไฟฟ้าอื่นๆ โดยจะน าขยะมาเผาบนตะแกรง แล้วน าความร้อนที่เกิดขึ้นมาใช้ต้มน้ าในหม้อน้ าจนกลายเป็นไอน้ าเดือด ซึ่งจะไปหมุนกังหันของเครื่องก าเนิดไฟฟ้า

Page 50: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 50

การจัดการขยะของประเทศต่างๆ ในปี 2000

Page 51: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 51

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้าพลงัน้ า (Hydro Power Plant)- ใช้แรงดันของน้ าจากเขื่อน และอ่างเก็บน้ า ซึ่งอยู่ในระดับสูงกว่าโรงไฟฟ้าไป

หมุนเพลาของกังหันน้ า ซึ่งจะขุดให้เครื่องก าเนิดไฟฟ้าผลิตไฟฟ้าตลอดเวลาที่มีการเปิดน้ าให้ไหลผ่าน

Page 52: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 52

โรงไฟฟ้าพลังน้ า

reference.findtarget.com/search/spillway/

Page 53: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 53

สถานภาพโรงไฟฟ้าพลังน้ าของระบบ ปี 2551

Page 54: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 54

สถานภาพโรงไฟฟ้าพลังน้ าของระบบ ปี 2551 (ต่อ)

Page 55: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 55

สถานภาพโรงไฟฟ้าพลังน้ าของระบบ ปี 2551 (ต่อ)

ที่มา: รายงานไฟฟ้าของประเทศไทย 2551

Page 56: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 56

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้าพลงังานแสงอาทติย์ (Solar Power Plant)- เป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้ความร้อนของแสงอาทิตย์ไปต้มน้ า หรือท าให้ก๊าซร้อน แล้ว

ใช้ไอน้ าร้อน หรือก๊าซร้อน ไปท าให้เทอร์ไบน์หรือกังหันใบพัดของเครื่องก าเนิดไฟฟ้าหมุนอีกต่อหนึ่ง หรืออาจใช้เซลล์สุริยะ หรือโซล่าร์เซลล์ (Solar Cell) ในปริมาณมาก เป็นตัวน าความร้อน ซึ่งการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์จ าเป็นต้องใช้เทคโนโลยีค่อนข้างสูง มีความสลับซับซ้อน และราคาลงทุนขั้นแรกสูงมาก

Page 57: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 57

ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทย

เฉลี่ย 18.2 MJ/m2-day

Page 58: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 58

ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์

Page 59: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 59

ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนแสงอาทิตย์

Seville, Spain - PS10 - 11 MW & PS20 – 20 MW

Page 60: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 60

ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยความร้อนแสงอาทิตย์

Page 61: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 61

การแยกโรงไฟฟ้าตามชนิดเชื้อเพลิงที่ใช้

• โรงไฟฟ้าพลงังานลม (Wind Power Plant)- เป็นพลังงานธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิของผิวโลก โดยใช้

กังหันลมเป็นอุปกรณ์น าพลังงานลมมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า และในการสูบน้ า จึงต้องติดตั้งกังหันลมไว้ในสถานที่ที่ลมพัดแรงตลอดเวลาจึงจะท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Page 62: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 62

โรงไฟฟ้าพลังความร้อนใต้ภิภพฝาง

Page 63: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 63

โรงไฟฟ้าพลังความร้อนใต้ภิภพฝาง (ต่อ)

Page 64: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 64 64

พลังลม : แหลมพรหมเทพ 0.2 MW พลังแสงอาทิตย์ : ผาบ่อง 0.5 MW

พลังความร้อนใต้พิภพ : ฝาง 0.3 MW

โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนของ กฟผ.

Page 65: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 65

โรงไฟฟ้าแบบพลังงานร่วม (Co-generation plant)

ระบบ Co-generation หมายถึง การผลิตพลังงานไฟฟ้า (หรือพลังงานกล) ร่วมกับพลังงานความร้อน (ก๊าซร้อน, ของเหลวร้อน, หรือไอน้ า) หรือเรียกอีกชือ่ว่า Combined Heat and Power (CHP) เป็นการประสานการใช้ประโยชน์ทั้งพลังงานไฟฟ้าหรือพลังงานกลและพลังงานความ ร้อนร่วมกัน จากแหล่งเชื้อเพลิงป้อนเพียงแหล่งเดยีว จึงเปน็วิธีการใช้ประโยชน์จากเชื้อเพลิงอย่างมีประสิทธิภาพ และสนองตอบต่อมาตราการประหยัดพลังงาน

Page 66: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 66

ก าลังการผลิตติดตั้งจ าแนกตามประเภทโรงไฟฟ้า 2533-2542

ที่มา: รายงานไฟฟ้าของประเทศไทย 2542

Page 67: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 67

ก าลังการผลิตติดตั้งจ าแนกตามประเภทโรงไฟฟ้า 2547-2551

ที่มา: รายงานไฟฟ้าของประเทศไทย 2551

Page 68: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 68

ก าลังการผลิตติดตั้งของผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนที่เข้าระบบ

ที่มา: รายงานไฟฟ้าของประเทศไทย 2551

Page 69: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 69

การผลิตพลังงานไฟฟ้าในแต่ละวัน

Page 70: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 70

การผลิตพลังงานไฟฟ้าในแต่ละวัน

ท่ีมา: กฟผ.ผลิตไฟฟ้าอย่างไร (2534)

Page 71: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 71

โรงไฟฟ้าฐาน (พลังงานความร้อน)

Page 72: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 72

โรงไฟฟ้าปานกลาง (พลังงานความร้อนร่วม)

Page 73: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 73

โรงไฟฟ้าส าหรับ Peak Load

Page 74: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 74

ราคาค่าไฟฟ้าที่ กฟผ. ขายให้แก่ กฟน. และ กฟภ.

Page 75: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 75

แนวคิดของโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ าแบบสูบกลับ

Page 76: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 76

หลักการท างานของโรงไฟฟ้าพลังน้ าแบบสบูกลับ

Page 77: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 77

หลักการท างานของโรงไฟฟ้าพลังน้ าแบบสบูกลับ (ต่อ)

Page 78: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 78

โรงไฟฟ้าพลังน้ าล าตะคองแบบสบูกลับ

Page 79: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 79

โรงไฟฟ้าพลังน้ าล าตะคองแบบสบูกลับ (ต่อ)

อ่างเก็บน้ าตอนบนพื้นที่ผิวน้ า 0.34 ตารางกิโลเมตรความสูง 50 เมตร ความยาว 2,170 เมตรระดับเก็บกักสูงสุด 660 ม. (รทก.)ระดับเก็บกักต่ าสุด 620 ม. (รทก.)ความจุอ่างทั้งหมด 10.3 ล้านลูกบาศก์เมตรความจุอ่างใช้งาน 9.9 ล้านลูกบาศก์เมตร

อุโมงค์ส่งน้ าเข้าโรงไฟฟ้า จ านวน 2 อุโมงค์ เชื่อมระหว่างอ่างพักน้ าบนเขา และโรงไฟฟ้าใต้ดิน มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 เมตร ความยาวอุโมงค์ 651 เมตรอุโมงค์ท้ายน้ า จ านวน 2 อุโมงค์ เชื่อมระหว่างโรงไฟฟ้าใต้ดิน และอ่างเก็บน้ าตอนล่าง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6.80 เมตร ความยาวอุโมงค์ละ 1,430 เมตร

Page 80: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 80

โรงไฟฟ้าพลังน้ าล าตะคองแบบสบูกลับ (ต่อ)

โรงไฟฟ้าใต้ดิน ตั้งอยู่ลึกจากผิวดินประมาณ 350 เมตรมีขนาดกว้าง 23 เมตร ยาว 175 เมตร สูง 47 เมตรติดตั้งเครื่องก าเนิดไฟฟ้าขนาด 250,000 กิโลวัตต์ รวม 4 เครื่อง กังหันน้ า/สูบกลบั Vertical Shaft Francis Type Reversible Pump-Turbineเคร่ืองก าเนิดไฟฟ้า 3 Phase AC Synchronous Generator -Motorก าลังผลิตติดตั้ง ระยะแรก 2 x 250 เมกะวัตต์

ระยะที่สอง 2 x 250 เมกะวัตต์พลังงานไฟฟ้าเฉลีย่ 400 ล้านกิโลวัตต์ - ชั่วโมง

Page 81: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 81

เขื่อนภูมิพล

Page 82: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 82

การติดตั้งเครื่องก าเนิดไฟฟ้าของเขื่อนภูมิพล

โรงไฟฟ้าพลังน้ าเขื่อนภูมิพล มีก าลังการผลิตไฟฟ้าทั้งสิ้น 743,800 กิโลวัตต์

Page 83: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 83

การติดตั้งเครื่องก าเนิดไฟฟ้าของเขื่อนภูมิพล (ต่อ)

Page 84: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 84

Pumping and Power Generation Operation Patterns-Unit 8

Page 85: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 85

เขื่อนแม่ปิงตอนล่างส าหรับโรงไฟฟ้าพลังน้ าแบบสูบกลับ

เขื่อนแม่ปิงตอนล่าง เป็นเขื่อนดินถมแกนดินเหนียวปิดทับหน้าด้วยหินท้ิง กั้นล าน้ าปิง ห่างจากเขื่อนภูมิพลลงมาทางท้ายน้ า ๕ กิโลเมตร ความยาวเขื่อน ๒๐๐ เมตร สูง ๑๒ เมตรจากท้องน้ า ความกว้าง สันเขื่อน ๑๐ เมตร อาคารระบายน้ าเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง ๒๘ เมตร ยาว ๑๔๔ เมตร สูง ๑๔ เมตร ช่องระบายน้ า ๑๐ ชอ่ง กว้างช่องละ ๑๐.๕ เมตร อ่างเก็บน้ ามีความจุ ๔.๙๒ ล้านลูกบาศก์เมตร ก่อสร้างแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม ๒๕๓๘

Page 86: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 86

ระบบผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.

Page 87: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 87

พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตตามประเภทโรงไฟฟ้า

Page 88: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 88

พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตตามประเภทโรงไฟฟ้า (ต่อ)

Page 89: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 89

โรงไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดใหญ่ (IPP)

(ข้อมูล ณ มีนาคม 2552)

Page 90: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 90

โรงไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็ก (SPP)

Page 91: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 91

โรงไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดเล็ก (SPP) (ต่อ)

( มี.ค. 2552)

Page 92: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 92

SPP แยกตามประเภทเชื้อเพลิง (ตามจ านวนราย)

Page 93: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 93

SPP แยกตามประเภทเชื้อเพลิง (ตามปริมาณพลังไฟฟ้า)

Page 94: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 94

สรุปการซื้อขาย ไฟฟ้าของกฟผ. (สิงหาคม 2552)

Page 95: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 95

ระบบการส่งก าลังไฟฟ้า (Transmission Line)

Page 96: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 96

ระบบการส่งก าลังไฟฟ้า (Transmission Line)

เพื่อแก้ปัญหาการสูญเสียแรงดัน และก าลังไฟฟ้า ในการส่งจึงต้องเพิ่มแรงดันไฟฟ้าให้สูงขึ้นส าหรับประเทศไทยในการส่งก าลังไฟฟ้าต้องเพิ่มแรงดันไฟฟ้าถึง 230,000 โวลต์

Page 97: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 97

แผนภูมิแสดงระบบการส่งกระแสไฟฟ้า

Page 98: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 98

แผนที่ระบบสายส่งไฟฟ้าของ กฟผ.

Page 99: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 99

ความยาวสายส่งไฟฟ้าของกฟผ. แยกตามภูมิภาค

หมายเหต:ุ ความยาวเป็นกิโลเมตร ข้อมูล ณ ปี 2548

Page 100: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 100

การเชื่อมโยงพลังงานกับประเทศเพื่อนบ้าน

Page 101: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 101

ASEAN Power Grid

Page 102: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 102

ระบบจ าหน่ายไฟฟ้า - เขตนครหลวง

Page 103: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 103

ระบบจ าหน่ายไฟฟ้า - เขตภูมิภาค

Page 104: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 104

จ านวนหมู่บ้านและครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้จ าแนกตามภาค ปี2551

Page 105: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 105

ราคารับซื้อไฟฟ้า (ไม่รวม VAT) ประจ าเดือนกรกฏาคม 2552

Page 106: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 106

ค่า Ft คืออะไร?

Page 107: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 107

สถิติค่าเอฟทีและค่าไฟฟ้าขายปลีก

Page 108: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 108

วิธีการค านวณราคารับซื้อไฟฟ้า

Page 109: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 109

ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (มติ กพช. 13 พ.ย. 2551)

Page 110: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 110

ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (มติ กพช. 9 มี.ค. 2552)

Page 111: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 111

ราคาจ าหน่ายพลังงานไฟฟ้า

ที่มา: รายงานไฟฟ้าของประเทศไทย 2551

Page 112: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 112

ราคาจ าหน่ายพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยต่อหน่วยตามประเภทผู้ใช้

Page 113: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 113

ราคาจ าหน่ายไฟฟ้าเฉลี่ยในเขตนครหลวงและเขตภูมิภาค

ที่มา: รายงานไฟฟ้าของประเทศไทย 2551

Page 114: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 114

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

35,000

40,000

45,000

50,000

55,000

2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564

เมกะวัตต์

ปี 2550 – 2554 เฉล่ียเพ่ิมขึ้น 1,412 เมกะวัตต์

ปี 2555 – 2559 เฉล่ียเพ่ิมขึ้น 1,903 เมกะวัตต์

ปี 2560 – 2564 เฉล่ียเพ่ิมขึ้น 2,315 เมกะวัตต์

1,4441,268

1,411

1,434

1,686

1,759

1,832

2,066

2,170

2,179

2,233

2,287

2,401

2,476

1,503

50 - 54 55 - 59 60 - 64 MWDiff from

Apr 06MW

Diff from

Apr 06MW

Diff from

Apr 06

Apr 06 5.96 5.44 5.24 29,337 38,241 49,355

Jan 07 5.95 6.00 5.51 28,124 -1,213 37,637 -604 49,213 -142

Average Growth % 2554 2559 2564

ค่าพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้า ชุด มกราคม 2550

Page 115: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 115

ความต้องการไฟฟ้าเพิ่มปีละ 5-6% คาดว่า Demand ประมาณ 35,500 MW ใน

ปี 2558 (2015) เพิ่มจากปัจจุบัน 14,000 MW

ต้องมีโรงไฟฟ้าขนาด 700 MW เข้าระบบปีละ 2-3 เครื่อง

ความต้องการเงินลงทุนในกิจการผลิตและส่งไฟฟ้า

ระบบผลิต 35,000 – 50,000 ล้านบาท/ปี

ระบบส่ง 15,000 – 20,000 ล้านบาท/ปี

รวม 50,000 – 70,000 ล้านบาท/ปี

ความต้องการไฟฟ้าและการผลิตไฟฟ้าในอนาคต

Page 116: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 116 116

ลงทุนโรงไฟฟา้

ลงทุนสายส่ง

ลงทุนสายจ าหน่าย

35,000 ล้านบาท/ปี

15,000 ล้านบาท/ปี

20,000 ล้านบาท/ปี

ความต้องการฟ้าเพิ่ม

การลงทุนในกิจการผลิตไฟฟ้า

Page 117: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 117

15,000

20,000

25,000

30,000

35,000

40,000

ก าลังผลิต (เมกะวัตต์)

2550 2551 2552 2553 2554

ปี

จะนะ

CC

7

46

.8 M

W

ราชบุรีเพาเวอร์

#1

-2 2

x7

00

MW

พระนครเหนือ

CC

# 1

72

3.4

MW

พระนครใต้C

C #

3 7

67

.6 M

W

ซื้อจากสปป

.ลาว

(NT

2)9

20

MW

บางปะกง

CC

# 5

7

63

.3 M

W

RP

S 3

3 M

W

ซื้อจากสปป

.ลาว

(NN

G2

) 5

96

.6 M

W

SP

P 2

0.3

MW

ก าลังผลิตติดตั้ง

ก าลังผลิตพึ่งได้

บ.กัลฟ์เพาเวอร์

#1

7

34

MW

บ.

BLC

P เพาเวอร์

#2

6

73

.25

MW

บ.กัลฟ์เพาเวอร์

#2

7

34

MW

SP

P 6

8.0

MW

RP

S 4

2.0

M

W

RP

S 6

5.7

MW

ก าลังผลิตและความต้องการไฟฟ้าช่วง พ.ศ. 2550-2554

Page 118: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 118

ประกอบด้วย โรงไฟฟ้าของ กฟผ. - ใช้ก๊าซธรรมชาติ 3,001 เมกะวัตต์

- พลังงานทดแทน (RPS) 140.7 เมกะวัตต์

โรงไฟฟ้าของเอกชน

- ใช้ก๊าซธรรมชาติ 2,868 เมกะวัตต์

- ใช้ถ่านหิน 673.3 เมกะวัตต์

- พลังงานทดแทน 88.3 เมกะวัตต์

ซื้อจากประเทศเพื่อนบ้าน

- พลังน้ า 1,517 เมกะวัตต์

แผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟ้าของ กฟผ. (ปี 2550-2554)

Page 119: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 119

โครงการพลังงานทดแทน 140.7 เมกะวัตต์ ของ กฟผ. ประกอบด้วย

กฟผ. ด าเนินการเอง จ านวน 81.7 เมกะวัตต์

- พลังน้ าขนาดเล็ก 78.70 เมกะวัตต์ - พลังงานแสงอาทิตย์ 1.00 เมกะวัตต์ - พลังงานลม 2.00 เมกะวัตต์

กฟผ. ด าเนินการรับซื้อจากเอกชน จ านวน 59.0 เมกะวัตต์

- พลังงานแสงอาทิตย์ 1.00 เมกะวัตต์ - พลังงานลม 2.00 เมกะวัตต์ - รฟ.ชีวมวล 36.00 เมกะวัตต์ - รฟ.ขยะ 20.00 เมกะวัตต์

โครงการพลังงานทดแทนของ กฟผ.

Page 120: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 120

การถือหุ้นบริษัทในเครือของ กฟผ.

Page 121: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 121

สัดส่วนก าลังผลิตติดตั้งของบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ ากัด ปี 2552

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552ก าลังผลิตติดตัง้ทั้งหมด 3,980.64 เมกะวัตต์ รายได้รวม 9,495 ล้านบาท ก าไรสุทธิ 7,903 ล้านบาทยอดสินทรัพย์รวม 62,920 ล้านบาท

Page 122: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 122

การถือหุ้นบริษัทในเครือของ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ ากัด

Page 123: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 123

กลุ่มธุรกิจไฟฟ้าของ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ ากัด

Page 124: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 124

ผลการด าเนินการของ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ ากัด

Page 125: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 125

ก าไรของกลุ่มธุรกิจไฟฟ้าของ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ ากัด

Page 126: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 126

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ ากัด (มหาชน)

บริษัทฯ มีก าลังผลิตติดตั้งทั้งหมด 4,346.75 เมกะวัตต์ จากการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าซึ่งมีการเดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้วหากรวมก าลังผลิตในปัจจุบันและก าลังผลิตจากโครงการที่อยู่ระหว่างด าเนินการก่อสร้างและพัฒนาแล้ว บริษัทฯ จะมีก าลังผลิตรวมทั้งหมดจ านวน 5,478.38 เมกะวัตต์

Page 127: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 127

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ ากัด (มหาชน)

Page 128: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 128

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ ากัด (มหาชน)

1. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า IPP

Page 129: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 129

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ ากัด (มหาชน)

2. ธุรกิจผลิตไฟฟ้า SPP/VSPP/Renewable

3. ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง

Page 130: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 130

ก าลังผลิตติดตั้งของบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ ากัด

ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2552ก าลังผลิตติดตัง้ทั้งหมด 4,346.75 เมกะวัตต์ รายได้รวม 37,653.83 ล้านบาท ก าไรสุทธิ 6,739.60 ล้านบาท ยอดสินทรัพย์รวม 69,341.82 ล้านบาท

Page 131: CE439 Electricity

INFRASTRUCTUREChapter 4 page 131

บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ ากัด (มหาชน)