bot discussant paper ac sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ...

12
ผู ้ว จารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาว ชาการธนาคารแห งประเทศไทย 17 กันยายน 2558 ข้อค ดเห็นสําหรับบทความ “นโยบายการเง น กับความท้าทาย จากโครงสร้างภาคธนาคารและการเง นโลก” โดยคุณ ณชา อนันต์โชต กุล และ Dulani Seneviratne ASEAN FOR YOU ASEAN FOR YOU

Upload: others

Post on 25-Sep-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

ผูว้ิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา

งานสมัมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

17 กนัยายน 2558

ข้อคิดเหน็สาํหรบับทความ“นโยบายการเงิน กบัความท้าทาย

จากโครงสร้างภาคธนาคารและการเงินโลก”

โดยคณุ ณชา อนันตโ์ชติกลุ และ Dulani Seneviratne

ASEAN FOR YOUASEAN FOR YOU

Page 2: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

ประเดน็ความเหน็ต่อบทความ

1. การนิยามธนาคารต่างชาติ

2. โครงสร้างการแข่งขนัของธนาคารพาณิชยไ์ทย

3. การยอมรบัความเสีAยงในการปล่อยสินเชืAอ

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

2

Page 3: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

• ในอนาคต เราคงยากที�จะบอกไดว้า่ธนาคารใดเป็นธนาคารไทย หรอืต่างชาต ิเมื�อสดัสว่นการถอืหุน้โดยนกัลงทุนต่างชาตมิแีต่จะเพิ�มขึ*น

• อาจวเิคราะหผ์ลจากการถอืหุน้โดยนกัลงทุนต่างชาต ิแยกตามสดัสว่น (0-100)

1. การนิยามธนาคารต่างชาติ

0%

20%

40%

60%

80%

100%

Ma

lay

sia

Ind

on

esia

Sin

ga

po

re

Th

aila

nd

Foreign Domestic

Share of foreign holdings in equity

Sources: Bloomberg, CIMB Thai

3

Page 4: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

• แมว้า่จะไดม้กีารควบคุมตวัแปรดา้นสนิทรพัยข์องธนาคารแลว้ แต่ในบรบิทของธนาคารพาณิชยใ์นไทยและเอเชยี เรามกัพบวา่การแขง่ขนัเป็นลกัษณะผูเ้ลน่รายใหญ่เพยีงไมก่ี�ราย (Oligopolistic Competition)

• อาจวเิคราะหแ์ยกกลุม่ธนาคารออกเป็นขนาดใหญ่ กลาง และเลก็ เพื�อวเิคราะห์ผลการสง่ผา่นนโยบายอตัราดอกเบี*ยต่อการเตบิโตของสนิเชื�อ

2. โครงสร้างการแข่งขนัของธนาคารพาณิชยไ์ทย

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

M I S T

Normalized to 100 for largest market cap

Sources: Bloomberg, CIMBThai

Regional banks categorized by market capitalization

4

Page 5: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

2. โครงสร้างการแข่งขนัของธนาคารพาณิชยไ์ทย (ต่อ)• ธนาคารขนาดใหญ่มกันําตลาด ตามการเปลี�ยนแปลงนโยบายดอกเบี*ย

Page 6: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

-15

-10

-5

0

5

10

15

20

25

80 90 100 110 120 130

Selected commercial banks categorized by LDR, loan

growth and NIM

• LDR อาจไมเ่หมาะที�จะใชว้ดัสภาพคลอ่ง หรอื Financial Constrained

• ธนาคารขนาดเลก็ และต่างชาตมิ ีLDR สงู แต่อาจไมม่ปีญัหาสภาพคลอ่งตํ�า เนื�องจากสามารถหาแหลง่ทุนอื�นนอกจากเงนิฝากได ้

2. โครงสร้างการแข่งขนัของธนาคารพาณิชยไ์ทย (ต่อ)

Loans/Deposits + BE (%)

Loan growth (%yoy)

mediumsmall

largeforeign

Bubble = Net interest income/ Total assets (%)

6Source: Financial reports from various banks in Thailand

Page 7: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

• ธนาคารที�ม ีLDR สงู (highly constrained) จะอ่อนไหวต่อนโยบายการเงนิมากกวา่ ในผลการศกึษา 1 แต่พบวา่โดยมากเป็นธนาคารต่างชาต ิจงึอาจไม่สอดรบักบัผลการศกึษา 2

2. โครงสร้างการแข่งขนัของธนาคารพาณิชยไ์ทย (ต่อ)

7

Page 8: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

• การปล่อยสนิเชื�อจะมากน้อย สว่นหนึ�งขึ*นกบัความสามารถในการยอมรบัความเสี�ยง (Risk Appetite) ของสถาบนัการเงนิดว้ย

• ในชว่งสถานการณ์ทางเศรษฐกจิยํ�าแย ่ความเชื�อมั �นหดหาย แมม้กีารลดดอกเบี*ยนโยบายลงไป สนิเชื�อของธนาคารพาณชิยก์อ็าจไมเ่พิ�มขึ*น จากการที�ธนาคารอาจ

– ไมล่ดดอกเบี*ยตามดอกเบี*ยนโยบาย

– ธนาคารหว่งหนี*เสยีที�เพิ�มขึ*น หรอืกงัวลวา่จะจาํเป็นตอ้งตั *งสาํรองมากขึ*น

3. การยอมรบัความเสีAยงในการปล่อยสินเชืAอ

8

Page 9: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย • ผลของงานวจิยันี*ชี*ใหเ้หน็วา่ธนาคารกลางจะเผชญิความทา้ทายในการกาํหนด

นโยบายดอกเบี*ยมากขึ*น เมืAอสภาวะตลาดการเงินโลกไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกบัในประเทศ

• ผูก้าํหนดนโยบายจาํเป็นตอ้งคาํนึงถงึผลของการที�เรามธีนาคารต่างชาตมิากขึ*น ต่อประสทิธผิลของนโยบายการเงนิ และการพจิารณาระดบัอตัราดอกเบี*ยที�เหมาะสม และเตรยีมพรอ้มที�จะใชม้าตรการเชิงนโยบายอืAนควบคูไ่ปกบันโยบายอตัราดอกเบี*ย

9

“Policymakers will therefore need to internalize th e effects of financial globalization and greater foreign bank presence on monetary policy effectiveness and recalibrate interest rate decisio ns accordingly”

“while also standing ready to use other supporting policy instruments”

Page 10: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (ต่อ)

เมื�อมกีารเปิดเสรทีางการเงนิ (การมธีนาคารต่างชาต)ิ มากขึ*น ความเป็นอสิระในการกาํหนดนโยบายอตัราดอกเบี*ยจะลดลง ดงันั *น เราควร- ใชย้าแรง...เพิ�มหรอืลดดอกเบี*ยมากกวา่เดมิ- หนัไปใชช้อ่งทางอื�น เชน่ macro

prudential หรอื นโยบายอตัราแลกเปลีAยน

อตัราการว่างงานสหรฐัฯ ลดลงเรว็กว่าคาด ส่งผลให้ตลาดคาดว่าสหรฐัฯ อาจปรบัขึOนอตัราดอกเบีOยได้ในเร็ววนันีO ...แต่หากดอกเบีOยไทยจําเป็นต้องคงไว้ในระดบัตํAา หรืออาจลดลงต่อ การลดดอกเบีOยจะมีประสิทธิผลให้สินเชืAอโตหรือไม่?

10

“To this end, effective macroprudential policies woul d not only safeguard the stability of the financial system as a whole, but also help maintain the conditions in which the monetary policy could remain effective and primarily focused on price and output stability”

Page 11: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

11

ABCD

Traps

Advanced

economy

trap

Banking trap

Confidence

trap

Demography

trap

Middle-income trap – Thai

economic potential growth

lowers to 2-3%

Liquidity trap – lowering rates

would not effectively drive

higher demand for business

and household loans

Delay in public investment,

political stability and consistency

of infrastructure projects could

lower confidence of private

investors

Unable to raise fertility,

lowering the supply of labor

in the future amid rapid aging

society

เศรษฐกิจไทยอาจจาํเป็นต้องใช้นโยบายอตัราแลกเปลีAยนเพืAอฝ่ามรสมุกบัดกัเศรษฐกิจ 4 ประการ4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (ต่อ)

Page 12: BOT discussant paper AC Sep 17 · ผู้วิจารณ์: อมรเทพ จาวะลา งานสัมมนาวิชาการธนาคารแห่งประเทศไทย

ขอ้มลู คาํแนะนํา บทวเิคราะห ์ และการแสดงความคดิเหน็ต่างๆ ที�ปรากฏอยูใ่นรายงานฉบบันี* ไดจ้ดัทําขึ*นบนพื*นฐานของแหล่งขอ้มลูที�ไดร้บัมาจากแหล่งขอ้มลูที�เชื�อถอืได ้เพื�อเป็นการเผยแพรค่วามรูแ้ละใหค้วามเหน็ตามหลกัวชิาการเท่านั *น ทั *งนี*สาํนกัวจิยั ธนาคาร ซีไอเอม็บี ไทย จาํกดั (มหาชน) ไมอ่าจรบัรองความถูกตอ้ง และความสมบูรณ์ของขอ้มลูดงักล่าวได ้และสํานักวจิยั ธนาคาร ซไีอเอม็บ ีไทย จาํกดั (มหาชน) จะไม่รบัผดิชอบในความเสยีหายใดๆ ทั *งปวง ที�เกดิขึ*นจากการนําขอ้มลู คําแนะนํา บทวเิคราะห ์ การคาดหมาย และความคดิเหน็ต่างๆ ที�ปรากฏในรายงานนี*ไปใช ้ โดยผูท้ี�ประสงคจ์ะนําไปใชใ้นตอ้งยอมรบัความเสี�ยง และความเสยีหายที�อาจเกดิขึ*นเองโดยลาํพงั