flash animate

Post on 25-Dec-2014

23.021 Views

Category:

Design

1 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

หลักการทำการ์ตูนแอนิเมชั่นใน Flash

TRANSCRIPT

เทคนิคและขั้นตอนการสร้างงานภาพเคลื่อนไหว

FLASH CARTOON ANIMATION

โดยวิทยากร

สาธิต เอี่ยมจิตต์email : demomaz@gmail.com

วัตถุประสงค์1. เข้าใจหลักการสร้างงานแอนิเมชั่นได้อย่างถูกต้อง

2. เพิ่มสิทธิภาพในการวางโครงเรื่องอย่างเป็นระบบและ น่าสนใจ

3. เพื่อเพิ่มทักษะ และเทคนิคการสร้างงานจากโปรแกรมแฟลชได้อย่างสวยงาม

ความหมายของการ์ตูนแอนิเมชัน“แอนิเมชั่น” (Animation) มาจากคำภาษาลาติน ว่า “Anima” แปลว่า วิญญาณ หรือลมหายใจ

ขั้นตอนหลักในการสร้างแอนิเมชัน หลักๆ แบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน

1.ขั้นตอนก่อนการผลิต (Pre – Production)

2.ขั้นตอนการผลิต (Production)

3.ขั้นตอนหลังการผลิต (Post – Production)

1.ขั้นตอนก่อนการผลิต (Pre – Production)

คือ การเตรียมงาน หาข้อมูล วางแผนงาน เตรียมเรื่องราว ที่สำคัญคือ การเขียน Storyboard ก่อนจะลงมือทำ

ตัวอย่าง Storyboard

2.ขั้นตอนการผลิต (Production)

คือ ขั้นตอนที่ต้องลงมือทำงานต่อจาก Storyboard ที่ได้เตรียมไว้ จนได้งานแอนิเมชั่นออกมาเกือบสมบูรณ์

3.ขั้นตอนหลังการผลิต (Post-Production)

คือ ขั้นตอนเก็บรายละเอียด เช่นตัดต่อภาพ ตกแต่งเสียงประกอบ Sound effect เพี่อให้งานแอนิเมชั่นออกมา

สมบูรณ์อย่างที่ต้องการ

Story Develop เริ่มคิดเนื้อเรื่อง

เป็นเรื่องที่เกิดจากแรงบันดาลใจ

เป็นเรื่องใกล้ๆ ตัว ในชีวิตประจำวัน

เป็นเรื่องที่อยู่ในกระแสปัจจุบัน

เป็นเรื่องที่คาดไม่ถึง ให้แง่คิด

สิ่งที่ควรพิจารณาในการออกแบบเนื้อเรื่อง

จะสื่อสารแบบไหน

ใครคือผู้ชมของเรา

อะไรสร้างความประทับใจ

อะไรจะสร้างความขบขัน

อะไรทำให้ผู้ชมรู้สึกเบื่อ

รูปแบบและสไตล์การเล่าเรื่องแบ่งออกเป็น

★แนวสืบสวน★แนวไซไฟ วิทยาศาสตร์★แนวตลก ขบขัน★แนวแฟนตาซี★แนวชีวิต (Drama)★แนวรักหวานซึ้ง (Romance)★แนวAction บู๊ล้างผลาญ★แนวผจญภัย★แนวลึกลับ★แนวสยองขวัญ★แนวประวัติศาสตร์

โครงเรื่องและการแบ่งส่วนเนื้อหาของเรื่อง

แบ่งได้เป็น 3 ส่วนใหญ่ๆ

1.การเปิดเรื่อง2.การดำเนินเรื่อง

3.การปิดเรื่อง

จิตวิทยาของเส้น

ในการออกแบบ

การใช้เส้นนอนให้ความรู้สึกกว้าง สงบ

อย่างเช่นเส้นขอบฟ้า เส้นถนน

การใช้เส้นหยัก ฟันปลาให้ความรู้สึกอันตราย แหลมคมอย่างเช่น ฟันแหลมของสัตว์ร้าย

การใช้เส้นโค้งให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวหรือให้ความนุ่มนวล

การใช้เส้นหนาเพื่อเน้น เพื่อเพิ่มแรงจูงใจ

จิตวิทยาของสี

ในการออกแบบ

สงบผ่อนคลายเย็น

สว่างเร้าร้อนฉูดฉาด

งอกงามพักผ่อนสดชื่น

ลึกลับมีเลศนัย

เศร้าหดหู่ทึบ

บริสุทธิ์สะอาดใหม่

ส่วางสดใสระวัง

เก่าหนักสงบ

ให้ความรู้สึกอบอุ่น ร้อนแรง สนุกสนาน

สีวรรณะ ร้อน

ให้ความรู้สึกสดชื่น เย็นสบาย สงบ

สีวรรณะ เย็น

Character Design & Casting

การออกแบบตัวละคร

7 ARCHETYPE•พระเอก นางเอก•อาจารย์ ผู้รู้ ผู้แนะนำ•เพื่อนพระเอก เพื่อนนางเอก•สัตว์ประหลาด•ตัวอิจฉา (ด้านด ีหรือร้ายก็ได้)•ตัวตลก•ตัวร้าย จอมมาร

1.ตีโจทย์ให้แตก หาเอกลักษณ์ให้ได้2.สร้างและออกแบบข้อมูลของตัวละคร3.วาด วาด วาด วาด4.เตรียมตัวละคร ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย

ขั้นตอนการออกแบบตัวละคร

5. สร้างตัวละครตามอารมณ์ต่างๆ และด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลัง

ขั้นตอนการออกแบบตัวละคร

Storyboardเพื่อช่วยการทำแอนิเมชั่น

Field of Viewขนาดของภาพ ใช้กำหนดอารมณ์

บรรยาการ การเล่าเรื่อง

ภาพไกลมาก (EXS)ใช้เปิดเรื่อง บอกสถานที ่บรรยากาศ สิ่งแวดล้อม

EXTREME LONG SHOT

ภาพไกล(LS)เห็นภาพโดยรวม ว่าใครทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่

มีความสัมพันธ์กับใคร กับอะไรบ้าง

LONG SHOT

ภาพปานกลาง(MS)เห็นภาพโดยรวมบุคคล ครึ่งตัวเห็นรายละเอียดของละคร

MEDIUM SHOT

ภาพระยะใกล้ (CU)แสดงภาพใบหน้าของตัวละคร ในขณะนั้น

เพื่อให้ทราบถึงอารมณ์ได้ชัดเจน เศร้า สุข ยิ้ม

CLOSE UP

ภาพระยะใกล้พิเศษ (ECU)แสดงภาพใบหน้าบางส่วนของตัวละคร ในขณะนั้น

เพื่อให้ทราบถึงอารมณ์ไดอย่างใกล้ชิด

EXTREME CLOSE UP

Camera การใช้กล้องเคลื่อนที่เพื่อการเล่าเรื่อง

การใช้กล้องเคลื่อนที่เพื่อการเล่าเรื่อง

การ Pan กล้องการ Tilt กล้องการ Truck กล้อง

WorkShop มาลองทำกันจริงๆ สักหน่อยดีกว่า

top related