วิทยาศาสตร พ ้นฐานทางคลินิก basic clinical...

Post on 07-Mar-2020

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

I

ผู�ช�วยศาสตราจารย� ดร.สุกัญญา จงถาวรสถิตย�

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียนภาควิชาสังคมศาสตร� คณะสังคมศาสตร�และมนุษยศาสตร�มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาศาสตร�พ�้นฐานทางคลินิก Basic Clinical Science

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

II

ISBN : 978-616-443-144-7

จัดพิมพ์โดย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเวชระเบียน คณะสังคมศาสตร์เเละมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ออกแบบปกและรูปเล่ม : น�า้ฝน นามวงษ์ ส�านักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์ พิมพ์ที่ : ส�านักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์พิมพ์ครั้งที่ 1ปีที่พิมพ์: 2561พิมพ์จ�ำนวน: 100 เล่ม

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

III

วทิยาศาสตร์พืน้ฐานทางคลนิกิ เป็นองค์ความรูท้างการแพทย์พืน้ฐานท่ีส�าคญั ท�าให้เกดิความเข้าใจ

การเกิดโรคในระบบต่างๆ ของร่างกาย การตรวจวินิจฉัยโรค และแนวทางการรักษาของแพทย์ ซึ่งนักศึกษา

เวชระเบียน เป็นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข มีบทบาทเก่ียวกับการดูแลจัดเก็บประวัติข้อมูล

การรักษาพยาบาลของผู้ป่วยในโรงพยาบาล การให้รหัสกลุ่มโรค รหัสหัตถการทั้งผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน

การให้รหัสทางการแพทย์ในระบบกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม การตรวจสอบคุณภาพรหัสทางการแพทย์และ

เวชระเบียน การจัดท�าสถิติรายงานผู้ป่วย เป็นต้น ความรู้ทางการแพทย์พื้นฐาน จะสามารถน�าไปประยุกต์ใช้

ในการปฎิบัติงานในโรงพยาบาลได้ ไม่ว่าจะเป็นงานเวชระเบียน งานบริการทางคลินิก งานวิชาการ หรือ

งานวจิยั ผูเ้ขยีนได้รวบรวมองค์ความรูท้างการแพทย์ท่ีจ�าเป็นในทางคลนิกิ โรคทีพ่บบ่อยๆ ในผูป่้วย จากต�ารา

ต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ มาเขียนเป็นภาษาไทยให้อ่านเข้าใจง่าย พร้อมกับรวบรวมศัพท์เทคนิคทาง

การแพทย์ที่แพทย์ใช้บ่อยในทางคลินิกควบคู่ไปด้วย จะช่วยให้นักศึกษาเข้าใจการบันทึกการวินิจฉัยโรค และ

แนวทางการรักษาของแพทย์ในเวชระเบียนไม่ว่าจะเป็นแฟ้มเวชระเบียนหรือเวชระบียนอิเล็กทรอนิกส์

ซึ่งนักศึกษามีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกายวิภาคศาสตร์มาแล้ว ส�าหรับเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ แบ่งตามระบบ

ของร่างกาย 5 ระบบ ได้แก่ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร

ระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์เพศหญิง โดยแต่ละระบบ เนื้อหาประกอบด้วย กายวิภาคและ

สรีรวิทยา พยาธิสภาพของโรค การวินิจฉัย การรักษา หัตถการ และค�าย่อที่ใช้บ่อย

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ในการอ่านประกอบการเรียนการสอน

ในรายวิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิก ศัพท์เทคนิคทางการแพทย์ พยาธิวิทยา วิธีด�าเนินการ

ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ การให้รหัสกลุ่มโรค และรหัสหัตถการ ส�าหรับนักศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต

สาขาวิชาเวชระเบียน และผู้สนใจทั่วไป

ผูเ้ขยีนขอขอบคุณผูท้รงคุณวฒุ ิทีไ่ด้กรุณาให้ค�าแนะน�า ตรวจความถูกต้องครบถ้วนของเนือ้หา ได้แก่

นายแพทย์สมชาย ดุษฎีเวทกุล นายแพทย์ธรรมเชษฐ์ เดชวีระธรรม และรองศาสตราจารย์ ดร.แสงเทียน

อยู่เถา ตลอดจนขอขอบคุณภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ที่ให้การสนับสนุนในการท�าหนังสือเล่มนี้

ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร. สุกัญญำ จงถำวรสถิตย์

ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหิดล

ค�ำน�ำ

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

IV

ค�ำน�ำ

สำรบัญ

บทที่ 1 ระบบกระดูกและกลำ้มเนื้อ

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของกระดูก

พยาธิสภาพของกระดูก

การวินิจฉัยและหัตถการ

กายวิภาคและสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อ

พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อ

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

กายวิภาคและสรีรวิทยาของข้อต่อ

พยาธิสภาพของข้อต่อ

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บทที่ 2 ระบบหัวใจและหลอดเลือด

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบหัวใจและหลอดเลือด

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

III

IV

1

3

3

9

11

12

15

17

18

20

25

26

27

29

31

31

35

47

55

56

สำรบัญ

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

V

บทที่ 3 ระบบทำงเดินอำหำร

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบทางเดินอาหาร

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บทที่ 4 ระบบทำงเดินปัสสำวะ

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบทางเดินปัสสาวะ

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บทที่ 5 ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

บทน�า

กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

พยาธิสภาพของโรค

การวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ

ค�าย่อที่ใช้บ่อย

สรุป

บรรณำนุกรม

ประมวลค�ำย่อ

Index

ดัชน ี

ประวัติผู้เขียน

สำรบัญ (ต่อ)

57

59

59

64

71

77

78

79

81

81

83

87

94

94

95

97

97

102

108

113

114

115

119

127

137

145

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

147

ประวัติผู้เขียน

กำรศึกษำ

- ปร.ด. (ประชากรศาสตร์) (นานาชาติ)

มหาวิทยาลัยมหิดล

- วท.ม. (สาธารณสุขศาสตร์) สาขาวิชาเอก โรคติดเชื้อ (ระบาดวิทยา)

มหาวิทยาลัยมหิดล

- วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ์)

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สถำนที่ปฎิบัติงำน

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เวชระเบียน และหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชา

การจัดการเวชสารสนเทศ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผลงำนวิจัย

1. Chongthawonsatid, S., & Chinjenpradit, W. (2017). The use of a pedometer with or

without a supervised exercise program for control of pre to mild hypertension: A randomized

control trial and follow-up study in Thailand. Journal of Health Research. https://doi.org/10.1108/

JHR-11-2017-009

2. Chongthawonsatid, S. (2017). Validity of principal diagnoses on discharge

summaries and coding assessments, ICD 10: The national data in Thailand. Healthcare

Informatics Research. 23(4):293-303.

3. Chongthawonsatid, S. (2017). Inequity of healthcare utilization on mammography

examination and Pap smear screening in Thailand: Analysis of a population-based household

survey. PLoS ONE. 12(3): e0173656. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0173656

4. Chongthawonsatid, S., & Dutsadeevettakul, S. (2017). Validity and reliability of the

ankle-brachial index by oscillometric blood pressure and automated ankle-brachial index.

Journal of Research in Medical Sciences. 22:44.

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

148

5. Prasithsirikul, W., Chongthawonsatid, S., Keadpudsa, S., Klinbuayaem, W., Rerksirikul,

P., & Kerr, S.J. (2017). Depression and anxiety were low amongst virally suppressed, long-term

treated HIV-infected individuals enrolled in a public sector antiretroviral program in Thailand.

AIDS Care. Psychological and Socio-medical Aspects of AIDS/HIV. 29(3). 299-305.

6. Chongthawonsatid, S. (2015). Medical records management of foreign

patients in Thai border hospitals. Journal of Health Research. 29 (6): 473-80.

7. Chongthawonsatid, S. (2015). Relationship between dyslipidemia patients and

hypertension: Follow up medical record data. Journal of Health Research. 29(5): 365-70.

8. Chongthawonsatid, S. (2015). Demographic factors and health care behavior of

hypertension disease in Thailand. Silpakorn University Science and Technology Journal. 9(1): 9-16.

9. Chongthawonsatid, S. (2015). Social epidemiology in public health research.

Journal of Public Health. 44(1): 93-105 (in Thai).

10. Chongthawonsatid, S. (2012). Life expectancy of HIV/AIDS patients in the era of

highly active antiretroviral therapy: Thailand, 2008-2010. Office of Disease Prevention and

Control I Journal. 16(2): 77-9. (in Thai).

11. Chongthawonsatid, S. (2011). Projection of HIV/AIDS patients at Bamrasnaradura

Infectious Diseases Institute, 2011-2013. Journal of Bamrasnaradura Infectious Diseases

Institute. 5(1): 36-41. (in Thai).

12. Ruansawang, P., Chongthawonsatid, S., Prasithsirikul, W., Limjaroen, K., Muangpaisan,

K., & Siriwarothai, Y. (2011). Demographic factors, stage of disease and survival of HIV patients

in adult. Journal of Health Science. 20(4): 586-93. (in Thai).

13. Ruansawang, P., Chongthawonsatid, S., Prasithsirikul, W., Limjaroen, K., Muangpaisan,

K., & Siriwarothai, Y. (2011). Demographic factors, stage of disease and adherence of

antiretroviral drug therapy in HIV/AIDS. Disease Control Journal. 37(1): 18-26. (in Thai).

14. Chongthawonsatid, S. (2010). Cause of death among HIV infected patients.

Office of Disease Prevention and Control I Journal. 14(2): 123-26.(in Thai).

15. Chongthawonsatid, S., Ingkavanit, A., & Poonsawad, N. (2009). The relationship

between age, time of diagnosis and type of pneumonia in patients under five years old,

Ayutthaya province: 2003-2007. Office of Disease Prevention and Control I Journal. 13(2). (in Thai).

16. Theerawitthayalert, R., Chongthawonsatid, S., & Narasetaphan, P. (2009). Knowledge

and behavior of care-taker on prevention of diarrheal disease in children. Disease Control

Journal. 35(1): 39-46. (in Thai).

วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางคลินิกBasic Clinical Science

149

17. Chongthawonsatid, S., & Rattanadilok Na Bhuket, P. (2009). Demographic factors

and cholera in Thailand, 2007. Journal of Health Science. 18:187-92. (in Thai).

18. Chongthawonsatid, S., Isarabhakdi, P., Jampaklay, A., Entwisle, B., & Suchindran,

C.M. (2008). The relationship between migration and timing of birth in Nang Rong, Thailand.

Journal of Population and Social Studies. 17(1): 1-18.

19. Sirinavin, S., Thavornnunth, J., Sakchainanont, B., Bangtrakulnonth, A., Chongthawon-

satid, S., & Junumporn, S. (2003). Norfloxacin and azithromycin for treatment of nontyphoid-

al salmonella carriers. Clinical Infectious Diseases. 27(9): 37: 685-91.

20. Chongthawonsatid, S., Patumanond, J., & Ratanarat, P. (2002). Survival of patients

with colorectal cancer in Thailand. Bulletin of the Department of Medical Services. 27(9):

434-442. (in Thai).

top related