โดย นายอนุิสษฐุณากร ค รอง ... science 3 2012... ·...

Post on 24-Jul-2020

5 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

17 ต.ค. 55 11

การอภิปรายทางวิชาการ เรื่อง

“ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล และนโยบาย”

โดย

นายอนุสิษฐ คุณากร

รองเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ

17 ต.ค. 55 2

สถานการณ์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล

และประเด็นปัญหา

๑) สถานการณ์ความมั่นคงทางทะเลในระดับโลก

การก่อการร้ายและอาชญากรรมข้ามชาต ิ

ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก

ความขดัแย้งทางเศรษฐกจิ

๒) สถานการณ์ความมั่นคงทางทะเลในระดับภูมิภาค

ช่องแคบฮอร์มุช ช่องแคบมะละกา และทะเลจีนใต้

17 ต.ค. 55 3

สถานการณ์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล

และประเด็นปัญหา (ต่อ)

๓) สถานการณ์ความมั่นคงทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้านพม่า

มาเลเซีย

กมัพูชา

เวยีดนาม

อนิโดนีเซีย

๔) สถานการณ์ความมั่นคงในพื้นที่ทางทะเลของไทยปัญหาการบริหารจดัการของรัฐ

ปัญหาทีเ่กีย่วเนื่องกบัทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

ปัญหาภยัคุกคามและอาชญากรรมข้ามชาติ

17 ต.ค. 55 4

สถานการณ์ความมัน่คงทางทะเล

:: วเิคราะห์จุดอ่อนและจุดแขง็ของไทยจุดแข็ง

ประเทศไทยตั้งที่เป็นภูมิรัฐศาสตร์ที่มีความสําคัญของโลก

มีความเป็นกลางและไม่มีผลประโยชน์ขัดกับประเทศมหาอํานาจ

การมีกองทัพเรือที่มีศักยภาพ

ใหค้วามสําคัญกับความมั่นคงของมนุษย์ และความมั่นคงรูปแบบใหม่

จุดอ่อน

ขาดความชัดเจนการการกําหนดเป้าหมายแหง่ชาติหรือยุทธศาสตร์ชาติทางทะเล

ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

โอกาส

การพัฒนาความร่วมมือในภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจและจัดการกับภัยคุกคามต่างๆ

เสริมสร้างองค์ความรู้และบุคลากรด้านกฎหมายทะเล

ความท้าทาย

การแก้ไขปัญหาพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลกับประเทศเพื่อนบ้าน

ปัญหาการทําประมงผิดกฎหมาย

ความขัดแยง้ในเรื่องทรัพยากรที่มีความรุนแรงมากขึ้น

17 ต.ค. 55 55

๑. นโยบายและยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาและรักษาผลประโยชน์

ของชาติทางทะเล

๒. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล(พ.ศ. ๒๕๔๒ – ๒๕๔๖)

๓. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล(พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๒)

นโยบายและยุทธศาสตร์ที่ผ่านมา

17 ต.ค. 55 66

สถานการณ์

เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ๑๒.๒ ล้านล้านบาท

ยัง่ยนื

มัน่คง มัง่คัง่

การปกป้องและรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล

ภัยคุกคาม

รูปแบบใหม่

มูลค่าทางเศรษฐกิจสูง

++

17 ต.ค. 55 77

ข้อแตกต่างที่สําคัญของร่างยุทธศาสตร์ฯ ฉบับใหม่

กับนโยบาย/ยทุธศาสตร์ทางทะเลฉบับที่ผ่านมา

๑. การขยายกระบวนทัศน์เรื่องผลประโยชน์ของชาติทางทะเล จากความมั่นคงของรัฐ ไปสู่ ความมั่นคงของสังคม ความมั่นคงของมนุษย์ และความมั่นคงของสิ่งแวดล้อม ตลอดจนมุง่เน้นการบริหารกจิการทางทะเลที่ดี

๒. การใช้กระบวนการการมสี่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

๓. การปรับเปลี่ยนรูปแบบและโครงสร้างของยุทธศาสตร์ใหช้ัดเจน และมทีศิทาง

๔. การส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการทางทะเลของภาครฐั

๕. การสร้างความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ฯ กับนโยบาย/ยุทธศาสตร์และแผนอืน่ๆ ที่สําคัญของประเทศ

๖. พัฒนาการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกบัทะเลให้เกิดการบูรณาการทีม่ปีระสิทธิภาพ และเป็นเอกภาพ

17 ต.ค. 55 88

ร่างยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล

(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)

17 ต.ค. 55 99

วิสัยทศัน์

“ประเทศไทยสามารถปกปอ้ง รักษา และแสวงหา

ผลประโยชน์ของชาติทางทะเลได้อย่างสมดุลและยั่งยืน

ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการมีส่วนร่วมของ

ทุกฝ่ายในการบริหารจัดการและการบูรณาการการใช้

พลังอํานาจของชาติในทุกด้านอย่างมีประสิทธิภาพ”

17 ต.ค. 55 1010

ผลประโยชน์ของชาติทางทะเล

๑. อํานาจอธิปไตย บูรณภาพแหง่ดินแดน และสิทธอิธิปไตยของชาติทางทะเล

๒. ความมัน่คง ความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย และการมีสภาวะแวดล้อมทีเ่อื้อ

ต่อการใช้ประโยชน์และการดําเนินกิจกรรมทางทะเล

๓. ความเจริญรุ่งเรือง ความสมบูรณ์มัง่คั่งทีย่ั่งยืนของชาติ และความอยู่ดีมีสุขของ

ประชาชนอันเนื่องมาจากกิจกรรมทางทะเลในทุกมติิ

๔. ผลประโยชน์สูงสุด และยั่งยืนจากทะเลและสิ่งที่เกี่ยวเนื่องกบัทะเลในทุกมิติ

ทัง้ในระยะสั้น และระยะยาว

๕. การมีเกียรติ ศักดิ์ศรี และเป็นที่ยอมรับในประชาคมระหว่างประเทศด้านกิจกรรม

ทางทะเล

17 ต.ค. 55 1111

วัตถุประสงค์ของชาติทางทะเล๑. เพื่อปกป้องและรักษาอํานาจอธิปไตย บูรณภาพแห่งดินแดน และสิทธิอธิปไตทางทะเล จาก

ภัยคุกคามทุกรปูแบบ

๒. เพื่อคุ้มครองและรกัษาชีวิต สิทธิ และทรัพย์สินของประชาชนที่ดําเนินกิจกรรมหรือมีความเกี่ยวข้องกับทะเลทั้งในและนอกน่านน้ํา

๓. เพื่อจัดการและควบคุมการใช้ทะเลให้มีความสงบเรียบร้อย มปีระสิทธิภาพ เอื้อต่อการดําเนินกิจกรรมของทุกฝ่ายร่วมกันอย่างสมดุลและยั่งยืน ตลอดจนส่งเสริมศักยภาพในการแสวงหาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล

๔. เพื่อปกป้อง รักษา และฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางทะเล

๕. เพื่อสร้างและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้ ความตระหนักรู้ความสําคัญของทะเล และปลูกจิตสํานึกในการรักษาทรัพยากร ตลอดจนสง่เสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

๖. เพื่อสร้างและพัฒนากฎหมาย รวมทั้งการบรหิารจัดการทางทะเลขององค์กรของรฐั

17 ต.ค. 55 1212

ร่างยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล

(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ประกอบด้วย ๖ ประเด็นยุทธศาสตร์

๑. การพัฒนาศักยภาพความมั่นคงของชาติทางทะเล

๒. การคุ้มครองการใช้ประโยชน์จากทะเล

๓. การสร้างความสงบเรียบร้อย และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทะเล

๔. การสร้างความสมดุลและยั่งยืนของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทาง

ทะเล

๕ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้และความตระหนักรู้

ความสําคัญของทะเล

๖. การบริหารจัดการผลประโยชน์ของชาติทางทะเลขององค์กรของรัฐ

17 ต.ค. 55 1313

ร่างยุทธศาสตร์ความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)

ประกอบด้วย ๖ ประเด็นยุทธศาสตร์

ประเด็นปัญหา

ความขัดแย้งกับประเทศเพื่อนบ้าน การรุกรานและการแข่งขันใน

ด้านการสะสมอาวุธ

วัตถุประสงค ์

เพื่อปกป้องและรักษาอํานาจอธิปไตย บูรณภาพแหง่ดินแดน สิทธอิธิปไตย

และเขตอํานาจของชาติทางทะเลจากภัยคกุคามทุกรูปแบบ

มี ๕ แนวทางในการดําเนินการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาศักยภาพความมั่นคงของชาติทางทะเล

17 ต.ค. 55 1414

ประเด็นปัญหา

ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ที่มีลักษณะข้ามพรมแดนทั้งอาชญากรรมข้ามชาติ

การก่อการร้าย ภัยธรรมชาติ และภัยที่เกิดจากรัฐที่มีแนวคิดในการใช้

ความรุนแรงในการบังคับใช้กฎหมาย

วัตถุประสงค ์

เพื่อคุ้มครองและรักษาชีวิต สิทธิ และทรัพย์สินของประชาชนที่ดําเนิน

กิจกรรมหรือมีความเกี่ยวข้องกับทะเลทั้งในและนอกน่านน้ํา

มี ๖ แนวทางในการดําเนินการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ การคุ้มครองการใช้ประโยชน์จากทะเล

17 ต.ค. 55 1515

ประเด็นปัญหา

ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจจากทั้งภายในและภายนอกประเทศ การกระทําทีผ่ิดกฎหมาย การบงัคับใช้กฎหมายและการบริหารจัดการทะเลที่ขาดประสทิธิภาพ การขาดการสนับสนุนและขาดการบูรณาการ ในการใช้ประโยชน์จากทะเล

วัตถุประสงค์

เพื่อจัดการและควบคุมการใช้ทะเลให้มีความสงบเรียบร้อย มีประสทิธิภาพ เอื้อต่อการดําเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างสมดุลและยั่งยืน ตลอดจนส่งเสริมศักยภาพในการแสวงหาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล

มี ๗ แนวทางในการดําเนินการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างความสงบเรียบร้อย และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทะเล

17 ต.ค. 55 1616

ประเด็นปัญหา

สิ่งแวดล้อมถูกทําลายอย่างหนัก รุนแรงและมีผลกระทบในวงกว้าง

การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงในอนาคต

การแสวงหาผลประโยชนจ์ากทะเลอย่างขาดความรับผิดชอบ

การขาดนโยบาย/ยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมในการกํากับดูแลการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเล

การบังคบัใช้กฎหมายและการบริหารจัดการที่ขาดประสิทธิภาพ ขาดความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ จนทําใหส้ิ่งแวดล้อมถูกทําลายอย่างรวดเร็ว

วัตถุประสงค ์

เพื่อปกป้อง รกัษา และฟื้นฟู ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางทะเล

มี ๗ แนวทางในการดําเนินการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างความสมดุลและยั่งยืน ของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางทะเล

17 ต.ค. 55 1717

ประเด็นปัญหา

ขาดองค์กรและระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทะเลทั้งด้านความมั่นคงและด้านอืน่ๆ

ภาคประชาชนขาดความรู้และความเข้าใจ และขาดมิติทางความคิดที่เกี่ยวข้องกับทะเล ภาครัฐขาดบุคคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจและความชํานาญในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทะเล

ขาดการส่งเสริมการเข้ามามีบทบาทของภาคประชาชนอย่างเพียงพอ

วัตถุประสงค ์

เพือ่พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เสริมสร้างองค์ความรู้ ความตระหนักรู้ความสําคัญของทะเล และปลูกจิตสาํนึกในการรักษาทรัพยากร ตลอดจนส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

มี ๕ แนวทางในการดําเนินการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ องค์ความรู้และความตระหนักรู้ความสําคัญของทะเล

17 ต.ค. 55 1818

ประเด็นปัญหา

องค์กรของรัฐขาดประสิทธิภาพในการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล กฎหมายไม่ทันสมัยและไม่มีมาตรการทีเ่ข้ากับสถานการณ์

ผลกระทบจากการเข้าเป็นภาคใีนอนุสญัญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. ๑๙๘๒

วัตถุประสงค ์

เพื่อจัดทําและพัฒนากฎหมาย และการบริหารจัดการทางทะเลขององค์กรของรัฐ

มี ๗ แนวทางในการดําเนินการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการผลประโยชน์ของชาติทางทะเลขององค์กรของรัฐ

17 ต.ค. 55 1919

ปัจจัยแห่งความสาํเร็จ

๑. มีระบบการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ที่มปีระสิทธิภาพ

๒. มีกลไกและระบบการประเมินผลยุทธศาสตร์

๓. มีการสร้างความสมดุลและสอดคล้องทัง้ด้านความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

๔. มีการศึกษาวิจัยทางวิชาการ เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ในมิติทางด้านความมั่นคงทางทะเล

๕. มีภาคีเครือข่ายสนับสนุนการดําเนินการตามยุทธศาสตร์

๖. มีการรณรงค์ให้ทุกฝ่ายภายในชาติตื่นตัวและตระหนักถึงความรับผิดชอบร่วมกันในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงทางทะเล

๗. มีการปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย เพือ่สนับสนุนการดําเนินงานด้านความมั่นคงทางทะเล

๘. มีการเชือ่มโยงกับยุทธศาสตร์ / นโยบายที่เกี่ยวขอ้ง โดยเฉพาะแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการบริหารราชการแผน่ดินอย่างชัดเจน

17 ต.ค. 55 2020

เปรียบเสมือนธรรมนูญทางทะเล

กฎระเบียบพื้นฐานในการจัดการในทะเล การระงับข้อพิพาท ที่เกี่ยวข้องกับทะเล มีประเทศภาคี ๑๖๔ ประเทศ

ไทยเป็นรัฐภาคีโดยสมบูรณ์เมื่อวันที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๔

การดําเนินงานของประเทศไทยภายหลงัเข้าเป็นรัฐภาคีของ UNCLOS

ให้คณะกรรมการกฎหมายทะเลและเขตทางทะเลของประเทศไทย พิจารณาตรวจสอบบทบัญญัตขิอง

อนุสัญญาฯ และจัดทําเป็นแผนพัฒนากฎหมายใหส้อดคล้องกับอนุสัญญาฯ

บทบาทของ สมช.ในการสนับสนุนการดําเนินงานเพื่อการอนวุัติกฎหมาย

ร่างยุทธศาสตรค์วามมั่นคงแห่งชาตทิางทะเล (๒๕๕๕-๒๕๕๙)

คณะอนุกรรมการดา้นกฎหมายและองค์กรในการรักษาผลประโยชน์และความมัน่คงของชาตทิางทะเล

อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. ๑๙๘๒ (พ.ศ. ๒๕๒๕)United Nation Convention on the Law of the Sea 1982 (UNCLOS)

17 ต.ค. 55 21

จบการบรรยาย

top related