adverse drug reaction 09

71
ADVERSE DRUG REACTION การประเมินผื่นแพ้ยา

Upload: rachanont-hiranwong

Post on 28-May-2015

3.655 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

การประเมินผื่นแพ้ยา

TRANSCRIPT

Page 1: Adverse drug reaction 09

ADVERSE DRUG

REACTION

การประเมินผื่นแพ้ยา

Page 2: Adverse drug reaction 09

ค าจ ากัดความ

ศูนย์ติดตามอาการไม่พึงประสงค์

จากการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ส านักงานคณะกรรมการอาหารและ

ยา กระทรวงสาธารณสุข เลือกใช้ค า

จ ากัดความขององค์การอนามัยโลก

(WHO)

Page 3: Adverse drug reaction 09

DRUG ALLERGY

ปฏิกิริยาทีเ่กิดจากภูมิคุ้มกัน

ของร่างกายต่อต้านยาที่ได้รับ

เข้าไป

Page 4: Adverse drug reaction 09

SIDE EFFECT

ผลใดๆ ที่ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น

จากเภสัชภัณฑ์

(pharmaceutical product) ซ่ึง

เกิดขึ้นในขนาดการใช้ตามปกตใิน

มนุษย์ และสัมพันธ์กับคุณสมบัติ

ทางเภสัชวิทยาของยา

Page 5: Adverse drug reaction 09

ADVERSE DRUG REACTION

การตอบสนองต่อยาที่เป็น

อันตราย และไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น

ซึ่งเกิดขึน้ในขนาดการใช้ตามปกติใน

มนุษย์ โดยไม่รวมถึงการได้รับยา

เกินขนาด หรือการจงใจใช้ยาในทาง

ที่ผิดจนเกิดอันตราย

Page 6: Adverse drug reaction 09

ADVERSE DRUG REACTION

จากค าจ ากัดความดังกล่าว

ADR ของ WHO จึงหมายรวมทั้ง

การแพ้ยาและอาการข้างเคียงจาก

การใช้ยา ( ADR = Drug

allergy + Side effect )

Page 7: Adverse drug reaction 09

การแบ่งประเภทของ ADR

Type A (Augmented) ADR

Type B (Bizarre) ADR

Page 8: Adverse drug reaction 09

TYPE A (AUGMENTED) ADR

เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยา

หรือเมตาบอไลท์ของยา

ไม่มีความจ าเพาะในการเกิดกับคนบาง

กลุ่ม

ความรุนแรงของอาการที่เกิดมี

ความสัมพันธ์กับขนาดยา

Page 9: Adverse drug reaction 09

TYPE A (AUGMENTED) ADR

ส่วนใหญ่พบตั้งแต่ขั้นตอนการทดลองยาในสัตว์

มีอุบัติการณ์เกิดสูง แต่มีอัตราการเสียชีวิตน้อย

สามารถรักษาได้โดยการลดขนาดยา

Page 10: Adverse drug reaction 09

TYPE A (AUGMENTED) ADR

oพิษจากการได้รับยาเกินขนาด เช่น ตับวายจาก

การได้รับ paracetamol ขนาดสูง

oผลข้างเคียงจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา

เช่น อาการง่วงนอนของ Chlorpheniramine

เกิดความดันโลหิตต่ าจากยาลดความดันโลหิต

เป็นต้น

Page 11: Adverse drug reaction 09

TYPE A (AUGMENTED) ADR

oผลต่อเนื่องจากฤทธิ์หลักของยา เช่น

ท้องเสียจากการใช้ Antibiotics ที่มีฤทธิ์

กว้าง ท าให้มีการท าลาย bacterial flora

ในทางเดินอาหารและมีการเจริญของเชื้อที่

ดื้อยานั้น จึงท าให้เกิดอาการท้องเสียจาก

เชื้อที่ดื้อยา

Page 12: Adverse drug reaction 09

TYPE A (AUGMENTED) ADR

oผลจากปฏิกิริยาต่อกันของยาท าให้เกิด

อาการไม่พึงประสงค์ขึ้น เช่น อาการชักจาก

พิษของ theophylline เมื่อใช้ร่วมกับ

Erythromycin หรือ Clarithromycin

Page 13: Adverse drug reaction 09

TYPE B (BIZARRE) ADR

เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะส าหรับบาง

คน จะเกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยานั้น

ผลที่เกิดขึ้นไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัช

วิทยาตามปกติของยา

ไม่สามารถท านายอาการที่เกิดขึ้นด้วย

ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาได้

Page 14: Adverse drug reaction 09

TYPE B (BIZARRE) ADR

ความรุนแรงของอาการที่เกิดไม่สัมพันธ์กับ

ขนาดยา ได้รับยาเพียงเล็กน้อยก็อาจเกิด

อันตรายถึงชีวิต

ไม่สามารถสังเกตพบจากขั้นตอนการ

ตรวจสอบความเป็นพิษของยาในการทดลอง

ยาใหม่ หรือท านายฤทธิ์จากสัตว์ทดลองได้

Page 15: Adverse drug reaction 09

TYPE B (BIZARRE) ADR

มีอุบัติการณ์การเกิดต่ า แต่ท าให้

เสียชีวิตได้สูง

การรักษาท าได้โดยหยุดใช้ยา

Page 16: Adverse drug reaction 09

TYPE B (BIZARRE) ADR

• Anaphylaxis จากการแพ้ยากลุ่มเพน

นิซิลลิน

• Stevens – Johnson syndrome

จากการแพ้ยากลุ่ม Sulfa

Page 17: Adverse drug reaction 09

OTHER TYPE

•Type C, D และ E

• เข้าใจได้ยากในทางปฏิบัติ

Page 18: Adverse drug reaction 09

การแบ่งตามกลไกการเกิดปฏิกิริยา

Immunologic type

Non - immunologic type

Page 19: Adverse drug reaction 09

IMMUNOLOGIC TYPE

ADR ที่เรียกว่าการแพ้ยา

(drug allergy) กลไกการเกิด

จะเกี่ยวขอ้งกับระบบภูมิคุ้มกัน

Page 20: Adverse drug reaction 09

IMMUNOLOGIC TYPE

อาการที่เกิดขึ้นไม่มีความสัมพันธ์กับผล

ทางเภสัชวิทยาตามปกติของยา

การตอบสนองของการแพ้ไม่สัมพันธ์เชิง

เส้นตรงกับปริมาณของยา แม้ได้รับ

ปริมาณน้อยๆ ก็สามารถท าให้เกิดการแพ้

ได้

Page 21: Adverse drug reaction 09

IMMUNOLOGIC TYPE

เกิดอาการเมื่อรับยาสักระยะหนึ่งที่นานพอ จนยา

สามารถกระตุ้นให้เกิดการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน

จึงจะแสดงอาการ โดยทั่วไปจะใช้เวลา 1-2

สัปดาห์

ลักษณะอาการแพ้ยาที่เป็นปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน

ได้แก่ ผื่น หอบ ผื่นลมพิษ anaphylaxis

angioedema

Page 22: Adverse drug reaction 09

IMMUNOLOGIC TYPE

การจัดการปัญหาในกรณี

ของ Immunologic type คือ

ให้หยุดใช้ยา และห้ามใชย้านั้น

อีกต่อไป

Page 23: Adverse drug reaction 09

NON - IMMUNOLOGIC TYPE

กลไกการเกิดจะไม่เกี่ยวข้องกับระบบ

ภูมิคุ้มกันของร่างกาย

จะเกิดอาการได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่

ได้รับยา เพราะเป็นผลจากฤทธิ์ของ

ยาโดยตรง

Page 24: Adverse drug reaction 09

NON - IMMUNOLOGIC TYPE

การจัดการปัญหาท าได้โดยการ

หยุดใช้ยาในกรณีที่รุนแรง หรือหากไม่

รุนแรงอาจใช้วิธีการลดขนาดยา ลด

ความเร็วในการให้ยา หรืออาจให้ยา

ป้องกัน และผู้ป่วยยังสามารถใช้ยา

นั้นในครั้งต่อไปได้

Page 25: Adverse drug reaction 09

ลักษณะผื่นแพ้ยา

Page 26: Adverse drug reaction 09

Maculopapular rash

Page 27: Adverse drug reaction 09

• พบบ่อยที่สุด

• Macule หมายถึง ผื่นที่

มีเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสี

ผิว มีขนาดใหญ่กว่า 1 ซม.

• Papule หมายถึง ตุ่มนูน

ที่ผิวหนัง

• มีอาการคันร่วมด้วย

Page 28: Adverse drug reaction 09

Urticaria (ผื่นลมพิษ)

Page 29: Adverse drug reaction 09

• เกิดขึ้นเร็วมาก

• เป็นรอยนูนแดงขนาด

เล็ก คันมาก

• ผื่นค่อยๆ ขยายออก มี

ขอบยกนูน รูปร่างเหมือน

วงกลม แต่มักไม่ครบวง

• บางครั้งดูคล้ายแผนที่มี

ขอบหยักไปหยักมา ผื่น

กระจายทั่วร่างกาย

Page 30: Adverse drug reaction 09

Angioedema

Page 31: Adverse drug reaction 09

• ผื่นลมพิษที่เกิดในชั้น

ผิวหนังส่วนลึกหรือชั้นไขมัน

ใต้ผิวหนัง

• มักเกิดตามเยื่อบุ เช่น

เปลือกตา ริมฝีปาก อวัยวะ

เพศ ซึ่งจะบวมนูนไม่มี

ขอบเขตชัดเจน

• กว่าจะยุบอาจใช้เวลา 2-

5 วัน

Page 32: Adverse drug reaction 09

Fixed Drug Eruption

Page 33: Adverse drug reaction 09

• รูปร่างกลม ขอบชัด สีแดงจัด

จนตรงกลางของผื่นอาจ

เปลี่ยนเป็นสีแดงคล้ าหรือสีม่วง

หรือพองเป็นตุ่มน้ า

• ผื่นมักจะมีอาการแสบร้อน

เจ็บๆคันๆ

• พบบ่อยที่บริเวณริมฝีปาก

และเยื่อบุตามผิวหนังอื่นๆ

Page 34: Adverse drug reaction 09

• เม่ือได้รับยาที่เป็นสาเหตุอีกใน

ครั้งต่อมาจะปรากฏผื่นที่บริเวณ

เดิมทุกครั้ง

• มักเกิดหลังรับยาประมาณ 30

นาที แต่มักไม่นานเกิน 24

ชั่วโมง

• เม่ือผื่นหายแล้วจะปรากฏรอย

ด าที่บริเวณผื่นนานเป็นเดือน

Page 35: Adverse drug reaction 09

Exfoliative dermatitis

Page 36: Adverse drug reaction 09

• ผิวหนังจะแดงทั่วๆไปคล้าย

MP rash แต่ไม่เกิดอย่าง

รวดเร็ว

• ไม่มีอาการแสบร้อน และไม่

เกิดตุ่มน้ าพอง

• ผิวหนังจะค่อยๆ ลอกเป็นขุย

แห้งจนทั่วร่างกาย

• ฝ่ามือฝ่าเท้าจะหนาเป็นแผ่น

กว่าจะหลุดใช้เวลานานกว่า

Page 37: Adverse drug reaction 09

Erythema multiforme

Page 38: Adverse drug reaction 09

แบ่งเป็น 2 ชนิด

o EM minor หรือ EM มีผื่น

ตามผิวหนังร่วมกับผื่นตามเยื่อ

บุ เช่น เยื่อบุตา เยื่อบุช่อง

ปาก จมูก ทวาร อวัยวะเพศ

อีก 1 แห่ง

oลักษณะเหมือนเป้ายิงธนู

(Target lesion)

Page 39: Adverse drug reaction 09

o EM major หรือที่เรียกว่า

Stevens Johnson

syndrome จะมีผื่นตามเยื่อบุ

มากกว่า 1 แห่ง

oมีอาการค่อนข้างรุนแรงกว่า

อาการน าก่อนเกิดผื่น ผู้ป่วย

จะมีอาการคล้ายไข้หวัด คือมี

ไข้ อ่อนเพลีย ปวดเม่ือยตาม

เนื้อตัว ปวดข้อ

Page 40: Adverse drug reaction 09

• ผื่นมักเกิดภายหลังรับยา 5 –

7 วัน

• มักพบผื่นที่ฝ่ามือฝ่าเท้า แขน

ขา และเยื่อบุก่อน จากนั้นจะ

ลามไปที่ล าตัว

• บริเวณเยื่อบุต่างๆจะมีอาการ

มากกว่า โดยพบมีแผลที่เยื่อบุ

ตา ช่องปากจมูก อวัยวะเพศ

Page 41: Adverse drug reaction 09

การประเมิน ADR

อย่างเป็นระบบ

Page 42: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 1 การวินิจฉัยผื่นแพ้ยา

ต้องอาศัยความร่วมมอืของแพทย์

ในการวินิจฉัยผื่นแพ้ยา ชนิดของ

ผื่นที่ถูกต้อง

ท าให้การสืบค้นข้อมูลเพื่อหายาที่

สงสัยเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น

Page 43: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 2 การหายาที่สงสัย

หาว่ายาชนิดใดบ้างที่ระยะเวลา

ที่ได้รับยาเข้ากันได้กับ onset ของ

การเกิดผื่นแพ้ยาดังกล่าว

Page 44: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 3 หาสาเหตุอื่นที่อาจเป็นไปได้

• ยาชนิดอื่นที่ผู้ป่วยได้รับร่วมด้วย

• โรคประจ าตัวที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ หรือโรคร่วม

อื่นๆ

• หรือเหตุการณ์ประจวบเหมาะอื่นๆ เช่น

การแพ้อากาศ อาหาร สารเคมีอื่นๆ

Page 45: Adverse drug reaction 09

ข้ันตอนท่ี 4

การประเมินโดยใช้ ALGORITHM

ที่นิยมใช้มี 3 algorithms คือ

o WHO’s criteria

o Naranjo’s algorithm

o Thai Algorithm

Page 46: Adverse drug reaction 09

THAI ALGORITHM

http://www.slideshare.net/elixer/thaialgorithm-slide-presentation

Page 47: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 5 การสรุปผลการประเมิน

ออกบัตรแพ้ยา

ส่งต่อข้อมูล

ให้ค าแนะน าแก่ผู้ป่วยและญาติ

Page 48: Adverse drug reaction 09

ตัวอย่างการเขียนบัตรแพย้า

Penicillin

เพนนซิิลลนิ

MP Rash

ผืน่คนัทัว่ตวั2

ภก.รชานนท์

20/3/52

Page 49: Adverse drug reaction 09

การส่งต่อข้อมูล

เรยีนแพทย์ผูเ้กีย่วขอ้ง

ผู้ป่วยแพ้ยา Penicillin มอีาการแบบ MP Rash

แนะน าให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาในกลุ่ม Penicillin ครับ

ภก. รชานนท์

20/3/52

Page 50: Adverse drug reaction 09

กรณีศึกษา

Page 51: Adverse drug reaction 09

หญิงไทยอายุ 35 ปี มาพบ

แพทย์ด้วยอาการ คันบริเวณ

เปลือกตาทั้งสองข้าง และบวม

แดง

Page 52: Adverse drug reaction 09

จากรูปเป็นความผิดปกติแบบใด ?

a) MP Rash

b) Urticaria

c) Angioedema

d) Exfoliative Rash

Page 53: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 1 การวินิจฉัยผื่นแพ้ยา

ผู้ป่วยมีอาการบวมนูนที่เปลือก

ตาทั้งสองข้าง และมีอาการคัน

ร่วม แพทย์วินิจฉัยว่าเป็น

Angioedema

Page 54: Adverse drug reaction 09

o 3 วันก่อน มีการใช้ยา Paracetamol

(500) 2 tab prn

o 2 ชม. ก่อนพึ่งกินยา Ibuprofen (400)

ไป 1 เม็ด

o ประวัติเคยทาน Paracetamol เป็น

ประจ าโดยไม่มีอาการผิดปกติ

ประวตัิการใช้ยา

Page 55: Adverse drug reaction 09

ยาชนิดใดน่าจะเป็นสาเหตุ ?

a) Paracetamol (500)

b) Ibuprofen (400)

Page 56: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 2 การหายาที่สงสัย

จากช่วงเวลา และประวัติการ

ได้รับยาของผู้ป่วย ยาที่น่าจะท า

ให้เกิด angioedema ในผู้ป่วย

รายนี้มากที่สุดคือ Ibuprofen

Page 57: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 3 หาสาเหตุอื่นที่อาจเป็นไปได้

o มียาอื่นที่ใช้ร่วมหรือไม่

o มีโรคประจ าตัวหรือไม่

o มีประวัติเคยแพ้ยา อาหาร

หรือสารเคมีหรือไม่

o ถูกทุกข้อ

Page 58: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 3 หาสาเหตุอื่นที่อาจเป็นไปได้

o ผู้ป่วยปฏิเสธโรคประจ าตัว และการใช้ยาอื่น

ร่วม

o ไม่มีประวัติแพ้ยา สารเคมี หรืออาหารใดๆ

o ช่วงนี้ไม่มีการเปลี่ยนเครื่อง ส าอางค์ สบู่

และแชมพูที่ใช้

Page 59: Adverse drug reaction 09

ข้ันตอนท่ี 4

การประเมินโดยใช้ ALGORITHM

o Thai Algorithm

o จ าไม่ได้ว่าเคยใช้ยาในกลุ่ม NSAIDs

หรือเปล่า

o ไม่เคยเกิดการแพ้แบบนี้มาก่อน

Page 60: Adverse drug reaction 09

Ibuprofen Angioedema

Page 61: Adverse drug reaction 09

Probable (นา่จะใช)่

Ibuprofen Angioedema

Page 62: Adverse drug reaction 09

ขั้นตอนที่ 5 การสรุปผลการประเมิน

ผู้ป่วยแพ้ยา Ibuprofen แบบ

Angioedema

ผู้ป่วยจ าไม่ได้ว่าเคยทานยากลุ่ม NSAIDs

หรือเปล่า จึงบอกไม่ได้ว่าจะแพ้ยาตัวอื่นใน

กลุ่มด้วยหรือไม่

แนะน าให้หลีกเลี่ยงยาในกลุ่ม NSAIDs

ทั้งหมด

Page 63: Adverse drug reaction 09

การเขียนบัตรแพ้ยา

Ibuprofen

อยับูโพรเฟน

Angioedema

เปลอืกตาบวม

ทัง้สองขา้ง มี

อาการคนัรว่ม

2 ภก.รชานนท์

12/3/52

แนะน าให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาในกลุ่ม NSAIDs เช่น

Aspirin (แอสไพริน), Diclofenac (ไดโคลฟีแนค),

Indomethacin (อินโดเมทาซิน) และ Piroxicam

(ไพรอ็กซิแคม)

Page 64: Adverse drug reaction 09

การส่งต่อข้อมูล

เรยีนแพทย์ผูเ้กีย่วขอ้ง

ผู้ป่วยแพ้ยา Ibuprofen มอีาการแบบ Angioedema

แนะน าให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาในกลุ่ม NSAIDs ครับ

ภก. รชานนท์

12/3/52

Page 65: Adverse drug reaction 09

THANK YOU

FOR ATTENTION

Page 66: Adverse drug reaction 09

ตัวอย่างค าถาม

ที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ

เคยแพ้ยาหรือไม่

ถ้าแพ้ ทราบชื่อที่แพ้หรือไม่

ชื่อยาอะไร

ทราบชื่อยาได้อย่างไร

ใครเป็นผู้บอกว่าท่านแพ้ยา

เคยได้รับบัตรแพ้ยาไหม

Page 67: Adverse drug reaction 09

ตัวอย่างค าถาม

ที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ

ยาที่แพ้มีรูปร่างอย่างไร

ใช้ยาดังกล่าวเพื่อรักษาโรคอะไร

ได้รับยามาจากที่ไหน รับประทานอย่างไร

ลักษณะอาการแพ้เป็นอย่างไร

เกิดอาการหลังจากใช้ยาไปนานเท่าใด

หรือรับประทานยาไปกี่มื้อก่อนเกิดอาการ

Page 68: Adverse drug reaction 09

ตัวอย่างค าถาม

ที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ

อาการที่เกิดนั้นคงอยู่นานแค่ไหน

ตอนน้ียังมีอาการอยู่หรือไม่

ดีขึ้น หรือ แย่ลง หรือคงที่ อย่างไร

ภายหลังเกิดอาการ หยุดยาหรือไม่

ถ้าหยุดยา หยุดยามานานเท่าไรแล้ว

หรือรับประทานยามื้อสุดท้ายเมื่อไร

Page 69: Adverse drug reaction 09

ตัวอย่างค าถาม

ที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ

หลังหยุดยาอาการเป็นอย่างไร

ดีขึ้นไหม

ลองซักถามชื่อยาในกลุ่มเดียวกันว่าผู้ป่วย

เคยรับประทานหรือไม่

ถ้าเคยมีอาการผิดปกติไหม หรือเคยแพ้

ไหม

Page 70: Adverse drug reaction 09

ตัวอย่างค าถาม

ที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ

เคยแพ้ยา อาหารหรือสารเคมีอื่นใด

หรือไม่

มีโรคประจ าตัวอะไรหรือไม่ มียาที่ใช้เป็น

ประจ าอะไรอยู่บ้าง ใช้มานานแค่ไหนแล้ว

ปกติเวลาเจ็บป่วย ซื้อยา ใช้ยาหรือไม่

รักษาที่โรงพยาบาลใด

Page 71: Adverse drug reaction 09

ตัวอย่างค าถาม

ที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ

รักษาที่โรงพยาบาลหรือคลินิกใดเป็น

ประจ า

ขอดูยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่ทั้งหมด