academic journal วารสารวิชาการมหาว ิทยาล...

422
Academic Journal เจาของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 27 ถนนอินใจมี ตําบลทาอิฐ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 53000 โทรศัพท 0 5541 6601-20 ตอ 1642 +66 5541 6601-20 กําหนดการพิมพ วารสารราย 6 เดือน (2 ฉบับ/) ฉบับที1 มกราคม-มิถุนายน ฉบับที2 กรกฎาคม-ธันวาคม วัตถุประสงค เพื่อตีพิมพผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการของนักวิชาการและบุคคลทั่วไปที่มีคุณภาพ และสามารถ นําไปใชประโยชนในกลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ที่ปรึกษา ศาสตราจารย ดร.เกษม จันทรแกว นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เรืองเดช วงศหลา อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ บรรณาธิการ ดร.ธนวัฒน จอมประเสริฐ ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ กองบรรณาธิการ 1. ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.อนุรักษ ปญญานุวัฒน มหาวิทยาลัยเชียงใหม 2. ศาสตราจารย ดร.สุเทพ สวนใต มหาวิทยาลัยเชียงใหม 3. ศาสตราจารย ดร.สมยศ พลับเที่ยง มหาวิทยาลัยนเรศวร 4. ศาสตราจารย ดร.สนม ครุฑเมือง มหาวิทยาลัยนเรศวร 5. รองศาสตราจารย ดร.เสมอ ถานอย มหาวิทยาลัยนเรศวร 6. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุรพงษ จรัสโรจนกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี 7. รองศาสตราจารย ดร.ฉัตรนภา พรหมมา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 8. รองศาสตราจารย ดร.สุภาวิณี สัตยาภรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 9. ผศ.ดร.เจษฎา มิ่งฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 10.ดร.เสถียรภัคณ มุขดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ 11. ผศ.ดร.กันต อินทุวงศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ »‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 ¡Ã¡®Ò¤Á-¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2556 ISSN : 1686 4409

Upload: others

Post on 22-Apr-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • A c a d e m i c J o u r n a l

    เจาของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ27 ถนนอินใจมี ตําบลทาอิฐ อําเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ 53000โทรศัพท 0 5541 6601-20 ตอ 1642 +66 5541 6601-20

    กําหนดการพิมพวารสารราย 6 เดือน (2 ฉบับ/ป)ฉบับท่ี 1 มกราคม-มิถุนายนฉบับท่ี 2 กรกฎาคม-ธันวาคม

    วัตถุประสงค เพื่อตีพิมพผลงานวิจัย/บทความทางวิชาการของนักวิชาการและบุคคลท่ัวไปที่มีคุณภาพ และสามารถนําไปใชประโยชนในกลุมสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

    ที่ปรึกษาศาสตราจารย ดร.เกษม จันทรแกว นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถผูชวยศาสตราจารย ดร.เรืองเดช วงศหลา อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

    บรรณาธิการดร.ธนวัฒน จอมประเสริฐ ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

    กองบรรณาธิการ1. ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.อนุรักษ ปญญานุวัฒน มหาวิทยาลัยเชียงใหม2. ศาสตราจารย ดร.สเุทพ สวนใต มหาวิทยาลัยเชียงใหม3. ศาสตราจารย ดร.สมยศ พลับเที่ยง มหาวิทยาลัยนเรศวร4. ศาสตราจารย ดร.สนม ครุฑเมือง มหาวิทยาลัยนเรศวร5. รองศาสตราจารย ดร.เสมอ ถานอย มหาวิทยาลัยนเรศวร6. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุรพงษ จรัสโรจนกุล มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี7. รองศาสตราจารย ดร.ฉัตรนภา พรหมมา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ8. รองศาสตราจารย ดร.สุภาวิณี สัตยาภรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ9. ผศ.ดร.เจษฎา มิ่งฉาย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ10.ดร.เสถียรภัคณ มุขดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ11. ผศ.ดร.กันต อินทุวงศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

    วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ»‚·Õè 8 ©ºÑº·Õè 2 ¡Ã¡®Ò¤Á-¸Ñ¹ÇÒ¤Á 2556

    ISSN : 1686 4409

  • ฝายจัดทําวารสาร1. นางพัชรินทร เอี่ยมเสือ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ2. นายวันชัย แกวนาคแนว สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ3. นางสาวจีรภา ดามัง สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ4. นางสาวนิตยา เกตุครุฑ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ5. นางสาวอมรรัตน บุญอยู สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ6. ดร.ยศภัทรชัย คณิตปญญาเจริญ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ7. ดร.สุภาพร จับจาย คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ8. ดร.กิตติ เมืองตุม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ9. ดร.ศิริกานดา แหยมคง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ10. อาจารยดวงพร บ่ีหัตถกิจกูล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ11. นายพิสุทธิ์ ศรีจันทร สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

    ผูทรงคุณวุฒิประเมินบทความ1. รองศาสตราจารย ดร.อาวรณ โอภาสพัฒนกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม2. รองศาสตราจารย ดร.ยุวดี พีรพรพิศาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม3. รองศาสตราจารย ดร.สมคิด พรมจุย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช4. รองศาสตราจารย ดร.ครรชิต ทะกลอง มหาวิทยาลัยนเรศวร5. รองศาสตราจารย นาวาโท ดร.วัฒนชัย หมั่นย่ิง มหาวิทยาลัยนเรศวร6. รองศาสตราจารย ดร.ฉัตรนภา พรหมมา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ7. รองศาสตราจารย ดร.สุภาวณี สัตยาภรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ8. รองศาสตราจารยสมพิศ สุขแสน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ9. รองศาสตราจารยพิศมัย หาญสมบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ10. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิจิตร อุดอาย มหาวิทยาลัยนเรศวร11. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรสา เตติวัฒน มหาวิทยาลัยนเรศวร12. ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัฒนา ยืนยง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย13. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อําพล นววงศเสถียร วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก14. ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประยูร วงศจันทรา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม15. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิรมล สุวรรณกาศ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ16. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิราวัฒน ชมระกา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ17. ผูชวยศาสตราจารย ดร.อิสระ อินจันทร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ18. ดร.เสถียรภัคณ มุขดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ19. ดร.สุกัญญา ทองนาค มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ20. อาจารยอิสระ ทับสีสด มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ

    หมายเหตุ : ทุกบทความที่ตีพิมพไดผานการประเมินจากผูทรงคุณวุฒิบทความละ 2 ทาน

    ออกแบบ/พิมพที่วนิดาการพิมพ 14/2 หมู 5 เทศบาลตําบลสันผีเสื้อ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300โทรศัพท/โทรสาร (053) 110503-4

  • Academic Journal Uttaradit Rajabhat University Vol. 8 No. 2 July-December 2013

    OwnerResearch and Development Institute, Uttaradit Rajabhat University27 Injaime Rd. Ta-it Subdistrict, Muang District, Uttaradit Province, 53000Telephone 0 5541 6601-20 ext. 1642 +66 5541 6601-20

    Publishing ScheduleSix monthly (2 issues/year)1st issue January-June2nd issue July-December

    ObjectivesTo publish research works/academic article of schools and general people producing quality and ap-plicable works for Science and Technology group

    AdvisorsProf. Dr.Kasem Chunkao Chairman of Uttaradit Rajabhat University CouncilAssist. Prof. Dr.Ruangdet Wongla President of Uttaradit Rajabhat University

    EditorDr.Tanawat Jomprasert Director of Research and Development Institute Uttaradit Rajabhat University

    Editorial Staff 1. Emeritus Prof. Dr.Anurak Panyanuwat Chiang Mai University2. Prof. Dr.Sutep Suantai Chiang Mai University3. Prof. Dr.Somyot Plubtieng Naresuan University4. Prof. Dr.Sanom Krutmeung Naresuan University5. Assoc. Prof. Dr.Samer Dhanoi Naresuan University6. Assist. Prof. Dr.Surapong Jaratrotjanakul Kanjanaburi Rajabhat University7. Assoc. Prof. Dr.Chatnapa Bhromma Uttaradit Rajabhat University8. Assoc. Prof. Dr.Suwavinee Sattayaporn Uttaradit Rajabhat University9. Dr.Sathianpak Mookdee Uttaradit Rajabhat University10. Assist. Prof. Dr.Kan Intuwong Uttaradit Rajabhat University11. Assist. Prof. Dr.Chedsada Mingchai Uttaradit Rajabhat University

    A c a d e m i c J o u r n a l

  • Journal Producer Staff 1. Mrs.Patcharin Iamsue Research and Development Institution2. Mr.Wanchai Kaew-nak-naew Research and Development Institution3. Miss Jerapa Damung Research and Development Institution4. Miss Nittaya Ketkrut Research and Development Institution5. Miss Amornrat Boonyoo Research and Development Institution6. Dr.Yosphatrachai Kanitpunyacharoan Faculty of Industrial Technology7. Dr.Supaporn Jabjai Faculty of Education8. Dr.Kitti Muang-toom Faculty of Science and Technology9. Dr.Sirikanda Yeamkong Faculty of Management Science10. Aj.Doungporn Behattakijkool Faculty of Humanities and Social Sciences 11. Mr.Pisut Srichan Achadimic Resourech Center and Information Technology

    Article Peer Reviewers1. Assoc. Prof. Dr.Arworn Qpatpattanakit Chiang Mai University2. Assoc. Prof. Dr.Yuwadee Peerapornpisarn Chiang Mai University3. Assoc. Prof. Dr.Somkit Promjui Sukhothai Dhammatirat University4. Assoc. Prof. Dr.Khanchit Dhakong Naresuan University5. Assoc. Prof. Secend Leuthenant Dr.Wattanachai Manying Naresuan University6. Assoc. Prof. Dr.Wattana Yuenyong Chiang Rai Rajabhat University7. Assoc. Prof. Dr.Chatnapa Bhromma Uttaradit Rajabhat University8. Assoc. Prof. Dr.Suwavinee Sattayaporn Uttaradit Rajabhat University9. Assoc. Prof. Sompit Suksaen Uttaradit Rajabhat University10. Assoc. Prof. Pitsamai Harnsombat Uttaradit Rajabhat University11. Assist. Prof. Dr.Vijit Ud-ai Naresuan University12. Assist. Prof. Dr.Orasa Tetiwat Naresuan University13. Assist. Prof. Dr.Ampol Navawongsathian Southeast Bangkok College14. Assist. Prof. Dr.Prayoon Wongchandra Mahasarakharm University15. Assist. Prof. Dr.Niramon Suwannakat Uttaradit Rajabhat University16. Assist. Prof. Dr.Irawat Chomraka Uttaradit Rajabhat University17. Assist. Prof. Dr.Issara Inchan Uttaradit Rajabhat University18. Dr.Sathianpak Mookdee Uttaradit Rajabhat University19. Dr.Sukanya Thongnak Uttaradit Rajabhat University20. Aj.Issara Tubseesode Uttaradit Rajabhat University

    N.B. Every published article was evaluated by 2 scholars

    Designer/PublisherWanida Printing 14/2 Moo 5 Sun Pi Sau, Muang, Chiang Mai 50300Telephone/Fax (053) 110503-4

  • ทานผูมเีกยีรตทิีเ่คารพทุกทานครบั วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอตุรดิตถ ปที ่8 ฉบบัที ่2 ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2556 ฉบับน้ี มีบทความงานวิจัยทั้งสิ้น 26 เรื่อง ลวนแลวแตเปนบทความทีค่วรคาแกการศึกษาเปนอยางย่ิงอีกเชนเคย เชน การพัฒนารูปแบบธุรกิจชุมชนของเกษตรกร ผูปลูกยางพาราในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดย รัชกฤช ธนกุลชูวงศ ท่ีแสดงองคความรูท่ีเก่ียวของกับยางพาราของท้ังสองประเทศไดอยางลึกซ้ึง หรือเร่ือง ความหลากหลายของแมลงและสัตวไมมีกระดูกสันหลังในดินเพ่ือเปนตัวช้ีวัดทางชีวภาพของพ้ืนที่สวนทุเรียน อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ ของ สิริวดี พรหมนอย ก็แสดงใหเห็นถึงสิ่งมีชีวิตใตดินที่เปนหวงโซของระบบนิเวศ ในสวนทุเรียนอำเภอลับแล ที่ยังไมมีผูใดรวบรวม เปนตน

    ในชวงครึง่ปหลงัของ พ.ศ.2556 นี ้มเีหตกุารณทางการเมืองทีเ่ปนปรากฏการณทางสงัคมแบบใหม การสื่อสารในระบบสังคมออนไลนไดรับการยอมรับวามีประสิทธิภาพสูงในการชุมนุมหรือจัดกิจกรรมตางๆ โดยเฉพาะทางการเมือง นักเรียน นักศึกษา มีบทบาทมากข้ึนในการแสดงออกทางการเมือง ซึ่งเปนสิ่งท่ีนาติดตามวาผลที่ตามมาจะสะทอนสิ่งใดในสังคมไดบาง และนักวิชาการจะมีแนวทาง ในการตานรับหรือจัดรูปแบบอยางไร

    พรอมกันนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ ขอถวายอภิสัมมานสักการะ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺฒโน) สมเด็จพระสังฆราชพระองคที่ 19 แหงกรุงรัตนโกสินทรดวยเศียรเกลา ที่ไดสิ้นพระชนมเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2556 ขอพระองคเสด็จ สูพระนิพพานเทอญ

    ธนวัฒน จอมประเสริฐ

    บรรณาธิการ

    º·ºÃóҸԡÒÃ

    A c a d e m i c J o u r n a l Uttaradit Rajabhat University

  • ÊÒúÑÞ

    A c a d e m i c J o u r n a l

    การพัฒนาเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก โดยใชชุดกิจกรรมการทดลองเร่ือง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ําปลีแดงธิดา จินะศรี .................................................................................................................................1

    การพัฒนารูปแบบธุรกิจชุมชนของเกษตรกรผูปลูกยางพาราในประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวรัชกฤช ธนกุลชูวงศ .................................................................................................................... 13

    กลวิธีการปฏิเสธการขอรองของนิสิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนเรศวรพนิตนันท เอี่ยมตอม ................................................................................................................. 33

    ความสวยงามวางนัยทั่วไป: การนิยามจํานวนหลายหลักที่แตละหลักเปนจํานวนเต็มอภิสิทธิ์ เมืองมา ........................................................................................................................ 47

    การพัฒนารูปแบบการฝกอบรมศิลปะเพื่อการสงเสริมสุขภาพจิต สําหรับผูตองขังในทัณฑสถาน จังหวัดพิษณุโลกพงษพิทักษ สุคํา ........................................................................................................................ 59

    แนวทางการพัฒนาการบริหารงานนิเทศภายในโรงเรียนขนาดเล็ก กลุมกรุงเทพกลาง สังกัดกรุงเทพมหานครมนัญญา โพธิมาศ ..................................................................................................................... 77

    กลไกและแนวทางการตรวจสอบทางสังคมเพื่อพัฒนาการบริหารงานองคการบริหารสวนตําบลวิสวัส เอิบสภาพ ........................................................................................................................ 91

    การบริหารจัดการแกไขปญหาน้ําทวมขององคการบริหารสวนตําบลคุยมวง อําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลกเสนห เกิดปน ..........................................................................................................................111

  • การพัฒนาหลักสูตรการฝกอบรมแบบผสมผสานในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สําหรับสอนภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานทัดเทพ วุฒิกนกกาญจน ..........................................................................................................121

    การประเมินผลชุดการเรียนรูเร่ือง “การทําเห็ดนางฟาและการแปรรูปผลิตภัณฑเห็ดนางฟา”สินีนาถ วิกรมประสิทธิ์ .............................................................................................................139

    การลดตนทุนการผลิตและการแปรรูปมะมวงหิมพานตของเกษตรกร อําเภอทาปลา จังหวัดอุตรดิตถภัทรอร ฟองสินธุ .....................................................................................................................159

    การพัฒนารูปแบบการอบรมโดยใชการจัดการความรูเพื่อสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของครูกนิษฐกานต ปนแกว ................................................................................................................171

    การประเมินคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐดวยการประยุกตใชเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ เพ่ือองคกรท่ีเปนเลิศ: กรณีศึกษา แขวงการทางเชียงรายท่ี 2สุวัฒน ใจมา ............................................................................................................................183

    การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โดยใชกิจกรรมเสริมหลักสูตรเรื่อง การเคลือบขาวขาวดวยสีธรรมชาติณรัชยา ใจหลา ........................................................................................................................219

    การแกปญหาการเขียนระดับประโยคดวยการใชกฎโครงสรางวลี สําหรับนักศึกษาช้ันปท่ี 1 หลักสูตรสาขาวิชาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถนิรมล สุวรรณกาศ ...................................................................................................................231

    สมรรถนะครูมืออาชีพ: ปฏิบัติการใหคําปรึกษาแบบมืออาชีพบุหงา วชิระศักด์ิมงคล..............................................................................................................247

    Uttaradit Rajabhat University

  • การพัฒนาแบบฝกทักษะวิชาการบัญชีเพื่อการจัดการ สําหรับนักศึกษาโปรแกรมวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถวริศรา ดวงตานอย ..................................................................................................................265

    รูปแบบการบริหารงานที่มีประสิทธิผลของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสิทธิชัย มูลเขียน ......................................................................................................................275

    การบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีขอจํากัดดานทรัพยากรทางการศึกษาในบริบทชนเผาภาคเหนือของประเทศไทยติณณภพ หลวงมณีวรรณ .........................................................................................................293

    สิ่งแวดลอมศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน: รากเหงาของการจัดการปญหาสิ่งแวดลอมอุดมศักดิ์ จักรน้ําอาง ...............................................................................................................321

    การพัฒนาชุดฝกอบรมสรางเสริมสุนทรียภาพทางสิ่งแวดลอม สําหรับนักเรียนในสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต 3ปาริชาติ เขงแกว ......................................................................................................................337

    รูปแบบการผลิตยางพาราของเกษตรกรบานเหลาใหญ อําเภอเอราวัณ จังหวัดเลย ประเทศไทย และบานหาดแดง เมืองแกนทาว แขวงไชยบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาววรรณภร ธีรานนท ...................................................................................................................349

    การพัฒนามาตรฐานการประเมินผูเรียนเสาวภา ปญจอริยะกุล .............................................................................................................359

    ขอผิดพลาดของผูเรียนในการสรางคุณานุประโยคในตําแหนงประธานและกรรมตรงในภาษาอังกฤษ: กรณีศึกษา นิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรมานะ เติมใจ ...........................................................................................................................375

    ความหลากหลายของแมลงและสัตวไมมีกระดูกสันหลังในดิน เพื่อเปนตัวชี้วัดทางชีวภาพของพ้ืนที่สวนทุเรียน อําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถสิริวดี พรหมนอย .....................................................................................................................389

    การพัฒนามาตรฐานการประเมินผูเรียนสิทธิพงศ สั่งศร ........................................................................................................................401

    สวนประกอบในบทความการวิจัย ..........................................................................................412ตัวอยางรูปแบบของบทความวิจัย ..........................................................................................413

  • Development of the Attitudes of Students Studying at Matthayomsuksa 2, Doiluang Ratchamangklaphisek School towards the Study of Science by

    Employing Scientifi c Experiment Packages on Making pH Paper from Red Cabbage

    การพัฒนาเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตร ของผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

    โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก โดยใชชุดกิจกรรมการทดลอง

    เร่ือง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง

    ธิดา จินะศรี

  • การพัฒนาเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตร ของผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก โดยใชชุดกิจกรรมการทดลอง เร่ือง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง

    Development of the Attitudes of Students Studying at Matthayomsuksa 2, Doiluang Ratchamangklaphisek School towards the Study of Science by Employing Scientific Experiment Packages on Making pH Paper from Red Cabbage

    ธิดา จินะศรี* ปยพร ศรีสม**

    บทคัดยอ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเจตคติของผูเรียนกอนและหลังการใชชุดกิจกรรม

    การทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดงของผูเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที ่2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย

    ผูวิจัยไดดำเนินการทดลองตามแผนการวิจัย Pre-Experimental Design แบบหน่ึงกลุม สอบกอนเรียนและหลังเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้คือ ผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2/1 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 จำนวน 30 คน ที่ไดมาจากการสุมแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคือ ชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเร่ือง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง และแบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร

    ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง

    มีประสิทธิภาพ (E1/E2) 80.05/83.5 2. เจตคติตอวิทยาศาสตรของผูเรียนเม่ือใชชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสราง

    กระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง หลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คำสำคัญ : ชุดกิจกรรมการทดลอง, กระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง

    * สาขาการสอนวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โทรศัพท 086-7322125 E-mail: [email protected]** ดร., อาจารยประจําคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

    2

    A c a d e m i c J o u r n a lVoVoVoVoV l..l.888 8 8 NoNoooN 222.2 JJ J Juuuly DeDeDD ececembmbbererer 2 2201010 33yVoVoVoVoVoVoVoVol..l.88888 NoNoooN .2222.2 JJJJJuluululy-y-y-y-DeDeDeDececec

  • Abstract The Purpose of this research were to examine attitudes of the students studying

    at Matthayomsuksa 2, Doiluang Ratchamangklaphisek School in Chiang Rai province towards the study of science both before and after employing a science experiment package on making pH paper from red cabbage.

    Pre-Experimental Design was applied in this study where the chosen group was tested both before and after studying. The population of the research were 30-Mathayomsulksa 2/1 students studying at Doiluang Ratchamangklaphisek School in Doiluang District, Chiang Rai province in 2nd semester of 2011 academic year. The population was chosen by purposive sampling. The instrument of the research were scientific activity packages on making pH making from red cabbage.

    The result revealed the following: 1. The scientific packages were effective (E1E2) 80.05/83.5 2. Student attitudes towards science after studying was significantly higher than before

    studying at 0.05 Keywords : Experiment Package, pH paper from red cabbage

    บทนำ

    การเรียนการสอนวิทยาศาสตรตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลาววา

    วิทยาศาสตรมีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมโลกปจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตรเกี่ยวของกับทุกคนทัง้ในชวีติประจำวนัและการงานอาชพีตางๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครือ่งมอื เครือ่งใช และผลผลติตางๆ ท่ีมนุษยไดใชเพ่ืออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหลาน้ีลวนเปนผลของความรูวิทยาศาสตร ผสมผสานกบัความคดิสรางสรรคและศาสตรอืน่ๆ วทิยาศาสตรชวยใหมนษุยไดพฒันาวธิคีดิ ทัง้ความคดิเปนเหตเุปนผล คดิสรางสรรค คดิวเิคราะห วจิารณ มทีกัษะสำคัญในการคนควาหาความรู มคีวามสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมูลท่ีหลากหลายและมีประจักษพยานที่ตรวจสอบได วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม ซ่ึงเปนสังคมแหงการเรียนรู (Knowledge-Based Society) ดังนั้นทุกคนจึงจำเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร เพื่อที่จะมีความรูความเขาใจ ในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษยสรางสรรคขึ้น สามารถนำความรูไปใชอยางมีเหตุผล สรางสรรค และมีคุณธรรม (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551, 2551: 75)

    การจัดการเรียนรูเพื่อใหสนองตอความสนใจของผูเรียน เปดโอกาสใหผูเรียนไดเลือกเรียน ในสิ่งที่ตนสนใจ มุงเนนการทำงานกลุม การสอนแบบบูรณาการโครงงาน การใชหัวเรื่องในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือมุงเนนใหผูเรียนเกิดทักษะในการคิด การคนควาแสวงหาความรู สรางความรูดวย

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    3

  • ตนเอง สามารถสรางสรรคผลงานแลวนำไปแลกเปล่ียนเรียนรูกับผูอื่น (กรมวิชาการ, 2544: 28) ตามหลกัจิตวทิยาพฒันาการของเพียเจต (Jean Piaget) กลาววา เดก็ในวยัมธัยมศกึษาจะมรีะบบการคดิอยางเปนรูปธรรม ดังนั้นการเรียนการสอนควรพัฒนาความคิดรวบยอดในตัวผูเรียนอาจกระทำดวย ตวัผูเรยีนเองได การปฏบิตักิารทดลองจะทำใหผูเรยีนเรยีนรูและสรางความคิดรวบยอดเกีย่วกบัเรือ่งนัน้ๆ ขึ้นเองได การเรียนรูของผูเรียนจะเกิดข้ึนโดยผานกระบวนการเรียนดวยการแสวงหาความรูและทดลองปฏิบัติดวยตนเอง เปนกระบวนการเรียนรูที่เกิดข้ึนควบคูกับการพัฒนาดานคุณธรรมและจริยธรรม ในตัวผูเรียน แตคุณภาพการจัดการศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของเด็กมัธยมศึกษา พบวายังอยูในเกณฑที่ตองปรับปรุง ทำใหเปนปญหาสืบเนื่องตอความรูความสามารถในวิชาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีชั้นสูงขึ้นไป เปนเพราะผูสอนมุงเนนดานเนื้อหาวิชา ซึ่งขัดกับธรรมชาติของเด็กในวัยนี้ (กรมวิชาการ, 2542: 4)

    ชุดกิจกรรมเปนการพัฒนามาจากวิธีการเรียนการสอนหลายๆ ระบบเขามาผสมผสานใหกลมกลืนกัน นับตั้งแตการเรียนรูดวยตนเอง การรวมกิจกรรมกลุม การใชสื่อในรูปแบบตางๆ การเรียนการสอนวิธีนี้เหมาะสมกับการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนสำคัญที่สุด (สุนันทา สุนทรประเสริฐ, 2543: 107) ในสวนของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร คือการประยุกตชุดการเรียนการสอนเขากับกระบวนการทางวิทยาศาสตร หรือระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตรขึ้นเพื่อใชเปนนวัตกรรมการสอนทางวิทยาศาสตรศึกษา จะทำให ผูเรียนเรียนรูหรือสรางองคความรูไดอยางมีระบบ สงผลใหเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร จติวทิยาศาสตร และสามารถพัฒนาทักษะปฏบิตัทิางวิทยาศาสตรไดมากขึน้ (ธานนิทร ปญญาวัฒนากลุ, 2546)

    เม่ือพิจารณาผลการทดสอบระดับชาติ (Ordinary National Educational Test: O-NET) ของโรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก จังหวัดเชียงราย ในปการศึกษา 2551-2553 พบวา ผูเรียน มีคะแนนเฉล่ียรอยละ 35.71 25.79 และ 29.20 ตามลำดับ (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน), 2553: 5) จัดอยูในเกณฑต่ำ ซึ่งสาเหตุสำคัญประการหน่ึงอาจเกิดจากการจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตรที่ควรมีกิจกรรมการทดลองเพื่อเปนตัวนำไปสูการเรียนรูทฤษฎีหรือหลักการนั้น ยังคงไมสามารถดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสภาพความเปนจริงของโรงเรียนท่ีไมสามารถจะจัดงบประมาณสำหรับสรางหองปฏิบัติการและจัดหาวัสดุอุปกรณการทดลองมาตรฐานไดครบตามหลักสูตรการศึกษา การสอนวิชาวิทยาศาสตรจึงเปนการจัดการเรยีนรูที่ไมสงเสริมใหเกิดการสรางองคความรูดวยตนเองเทาท่ีควรจะเปน ทำใหผูเรียนขาดเจตคติท่ีดีตอการเรียนวิทยาศาสตรและสงผลใหการเรียนรูวิทยาศาสตรของผูเรียนอยูในภาวะถดถอย ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาเปรียบเทียบคะแนนวิชาวิทยาศาสตรในการทดสอบระดับชาติของชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ทั่วประเทศที่มีแนวโนมลดต่ำลงตลอดชวงปการศึกษา 2551-2553 (สุนีย คลายนิล, 2555: 30)

    การศึกษาคร้ังน้ีผูวิจัยจึงไดออกแบบกิจกรรมเสริมหลักสูตรในรูปของกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร เรือ่ง การสรางกระดาษวดัพเีอชจากกะหลำ่ปลแีดง ซึง่เปนการประยกุตใชแนวคิดเร่ืองหองปฏิบตักิารโลก (World Laboratory) ที่มีหลักการใชกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรดวยสิ่งรอบตัวในชีวิตประจำวัน มาทดแทนวัสดุมาตรฐานในหองปฏิบัติการ โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือพัฒนาเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตรของผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    4

  • วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อศึกษาเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตรของผูเรียนกอนและหลังการใชชุดกิจกรรมการทดลอง

    วิทยาศาสตรเร่ือง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง

    ขอบเขตการวิจัย

    1. ประชากร ไดแก ผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนดอยหลวง

    รัชมังคลาภิเษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย 2. กลุมตัวอยาง ไดแก ผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2/1 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนดอยหลวง

    รัชมังคลาภิเษก จังหวัดเชียงราย จำนวน 30 คน โดยไดมาจากการสุมแบบเฉพาะเจาะจง (Specific Purpose Sampling)

    3. ดานเน้ือหา เน้ือหาที่นำมาใชในการพัฒนาชุดกิจกรรมการทดลอง สำหรับผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2

    ปการศกึษา 2554 โรงเรยีนดอยหลวง รชัมังคลาภเิษก อำเภอดอยหลวง จงัหวัดเชยีงราย คอื เรือ่งกรด-เบส 4. ตัวแปรที่ศึกษา

    4.1 ตวัแปรตน คอื ชดุกจิกรรมการทดลองเร่ือง การสรางกระดาษวัดพเีอชจากกะหล่ำปลแีดง สำหรับผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย

    4.2 ตัวแปรตาม 4.2.1 ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการทดลองเร่ือง การสรางกระดาษวัดพีเอช

    จากกะหล่ำปลีแดง สำหรับผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อำเภอ ดอยหลวง จังหวัดเชียงราย

    4.2.2 เจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตรของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียน ดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย

    5. ระยะเวลาในการศึกษา ตั้งแตเดือนตุลาคม พ.ศ.2554 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ.2555

    นิยามศัพทเฉพาะ

    ผูเรียน หมายถึง ผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อำเภอ

    ดอยหลวง จังหวัดเชียงราย ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    5

  • ชุดกิจกรรมการทดลอง หมายถึง การประยุกตชุดการเรียนเขากับการทดลองทางวิทยาศาสตร ซึ่งในการวิจัยนี้เปนการทดลองสรางกระดาษวัดพีเอชที่สกัดมาจากกะหล่ำปลีแดง

    เจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร หมายถึง ความรูสึกของบุคคลตอวิทยาศาสตร ซึ่งเปนผลจากการเรียนรูวิทยาศาสตร โดยผานกิจกรรมที่หลากหลาย ความรูสึกดังกลาว ไดแก ความพอใจ ความศรัทธาและซาบซ้ึง เห็นคุณคาและประโยชน ตระหนักในคุณและโทษ ความตั้งใจเรียน และเขารวมกิจกรรมทางวิทยาศาสตรการเลือกใชวิธีทางวิทยาศาสตรในการคิดและปฏิบัติ การใชความรูทางวิทยาศาสตรอยางมีคุณภาพโดยใครครวญ ไตรตรอง ถึงผลดีและผลเสีย

    สมมติฐานในการวิจัย

    หลังจากการใชชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดคาพีเอช

    จากกะหล่ำปลีแดง ผูเรียนจะมีเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตรที่เพิ่มขึ้น

    วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งน้ี ผูวิจัยไดดำเนินการทดลองตามแผนการวิจัย Pre-Experimental Design

    แบบหนึ่งกลุม สอบกอนเรียนและหลังเรียน กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยาง ไดแก ผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2/1 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนดอยหลวง

    รัชมังคลาภิเษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย จำนวน 30 คน โดยไดมาจากการสุมแบบ เฉพาะเจาะจง (Specific Purpose Sampling)

    เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. ชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง

    จำนวน 7 ชุด แตละชุดประกอบดวยเนื้อหา กิจกรรมการทดลอง เฉลยกิจกรรม แบบทดสอบประจำชุดกิจกรรมการทดลอง

    2. แบบวัดเจตคติตอวิทยาศาสตร เปนเครื่องมือที่สรางและพัฒนาโดยนพคุณ แดงบุญ (การศึกษาผลสมัฤทธิท์างการเรียนวทิยาศาสตรและเจตคตติอวทิยาศาสตรของผูเรยีนชัน้มธัยมศึกษาปที ่2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูดวยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร, 2552: 144-147) โดยผานการหาคุณภาพโดยหาคาความเท่ียงตรง (IOC) โดยผูเชี่ยวชาญและไดนำไปทดลองใชกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    6

  • วิธีดำเนินการเก็บรวบรวมขอมูล 1. ผูวิจัยดำเนินการใหกลุมตัวอยางประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรกอนการจัดการเรียนรู

    ดวยชุดกิจกรรมการทดลอง 2. ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร เก็บคะแนนจาก

    กิจกรรมการทดลองชุดที่ 1-7 และเมื่อดำเนินการจัดกิจกรรมครบทุกชุดกิจกรรมใหกลุมตัวอยางทำการทดสอบหลังการจัดการเรียนรูดวยชุดกิจกรรม เพื่อรวบรวมคะแนน

    3. ใหกลุมตัวอยางประเมินเจตคติตอวิทยาศาสตรหลังการจัดการเรียนรูดวยชุดกิจกรรม การทดลอง และนำขอมูลที่ไดไปวิเคราะห

    การวิเคราะหขอมูล 1. วเิคราะหหาประสิทธภิาพของชุดกจิกรรมการทดลองวิทยาศาสตร ตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 2. วิเคราะหเจตคติตอวิทยาศาสตรกอนหลังการใชชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร สถติิที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. สถิติพื้นฐาน ไดแก

    1.1 คะแนนเฉลี่ย (Mean) 1.2 คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

    2. สถิติที่ใชทดสอบสมมติฐาน ไดแก 2.1 การหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการทดลองใชสถิติคาดัชนีความสอดคลอง (Index

    of Consistency: IOC) และคาเฉลี่ย 2.2 วิเคราะหเปรียบเทียบเจตคติตอวิทยาศาสตรกอนหลังการใชชุดกิจกรรมการทดลอง

    วิทยาศาสตรใชสถิติ t-test for Dependent Sample

    ผลการวิจัย

    การวิจยัคร้ังน้ีเปนการพัฒนาชุดกจิกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรือ่ง การสรางกระดาษวัดพีเอช

    จากกะหล่ำปลแีดง สำหรบัผูเรยีนชัน้มธัยมศกึษาปที ่2 โรงเรยีนดอยหลวง รชัมงัคลาภเิษก อำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตรของผูเรียนกอนและหลังการใชชุดกิจกรรมการทดลอง ผูวิจัยไดนำเสนอผลการวิจัยเปน 2 ตอนดังนี้

    ตอนที่ 1 ผลการพัฒนาชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร ผลการพัฒนาชดุกจิกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรือ่ง การสรางกระดาษวัดพเีอชจากกะหล่ำปลแีดง

    สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยการสรางชุดกิจกรรมการทดลองจำนวน 7 ชุด คือ ชุดการทดลองที่ 1 กรด-เบส ชุดการทดลองท่ี 2 การตรวจสอบกรด-เบส ของสารละลาย ชุดการทดลองท่ี 3

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    7

  • ความหมายของสารอินดิเคเตอร ชุดการทดลองที่ 4 การเลือกอินดิเคเตอรจากธรรมชาติ ชุดการทดลองท่ี 5 วธิกีารสกดัสอีนิดเิคเตอรจากกะหล่ำปลแีดง ชดุการทดลองท่ี 6 การทดสอบกระดาษวัดพเีอช จากกะหล่ำปลีแดงกับสารละลาย pH 1-14 ชุดการทดลองที่ 7 การทดสอบกรด-เบสในชีวิตประจำวันโดยใชกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง รวมเวลาที่ใชชุดกิจกรรมทั้งสิ้น 21 ชั่วโมง ผูเชี่ยวชาญจำนวน 3 ทาน ไดตรวจสอบความถูกตองของชุดกิจกรรมการทดลอง และความเหมาะสมของผล การเรียนรู เนื้อหา กิจกรรม สื่อ การวัดผลประเมินผล แบบทดสอบ และนำไปคำนวณหาคาดัชนี ความสอดคลอง พบวา คาดัชนีความสอดคลองมีคาเทากับ 1 แสดงวาชุดกิจกรรมการทดลองมีความเหมาะสม

    ตอนที่ 2 ผลการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร ผลการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอช

    จากกะหล่ำปลีแดง สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยไดนำคะแนนมาวิเคราะหหาคุณภาพของชุดกิจกรรมการทดลองตามเกณฑที่ตั้งไวคือ E1 และ E2 เทากับ 80/80 ผลการวิเคราะหดังแสดง รายละเอียดไวในตารางที่ 1 ดังนี้

    ตารางที่ 1 แสดงรอยละของคาเฉล่ียเลขคณิตของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางเรียน (E1) ของ

    ชุดกิจกรรมการทดลอง

    ชุดกิจกรรมการทดลอง คะแนน เต็ม คะแนน เฉล่ีย

    สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E1%

    กรด-เบส 10 7.77 0.68 77.70 การตรวจสอบกรด-เบสของสารละลาย 10 8.33 0.80 83.30 ความหมายของสารอินดิเคเตอร 10 7.90 0.61 79.00 การเลือกอินดิเคเตอรจากธรรมชาติ 10 7.67 0.71 76.70 วิธีการสกัดสีอินดิเคเตอรจากกะหล่ำปลีแดง 10 7.87 0.82 78.70 การทดสอบกระดาษวัดพีเอช จากกะหล่ำปลีแดงกับสารละลาย pH 1-14

    10 8.03 0.72 80.30

    การทดสอบกรด-เบสในชีวิตประจำวัน โดยใชกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง

    10 8.47 0.57 84.70

    เฉลี่ย 10 8.00 0.70 80.06

    จากตารางที่ 1 พบวา ชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอช จากกะหล่ำปลีแดง มีคารอยละของคาเฉล่ียเลขคณิตของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหวางเรียน (E1) เทากับรอยละ 80.06

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    8

  • ตารางที่ 2 แสดงรอยละของคาเฉล่ียเลขคณิตของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน (E2) ของ ชุดกิจกรรมการทดลอง

    แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E2% วัดผลสัมฤทธิ์ 20 16.7 1.42 83.50

    จากตารางที่ 2 พบวา ชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอช จากกะหล่ำปลีแดง มีคารอยละของคาเฉลี่ยเลขคณิตของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (E2) เทากับรอยละ 83.50

    ตอนที่ 3 ผลการเปรียบเทียบเจตคติตอวิทยาศาสตรกอนและหลังการใชชุดกิจกรรมการทดลอง

    วิทยาศาสตร ผลการเปรียบเทียบเจตคติตอวิทยาศาสตรกอนและหลังการใชชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร

    เรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชสถิต ิt-test for Dependent Sample ผลการเปรียบเทียบเจตคติดังแสดงในตารางท่ี 3

    ตารางที่ 3 คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คาสถิติทดสอบที และระดับนัยสำคัญทางสถิติ

    ในการทดสอบเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของผูเรียน 2 กลุม

    N Mean S.D. ผลตางของคาเฉลี่ย t df Sig 1 tailed กอนเรียน 30 16.00 1.41

    -0.70 -1.915* 58 0.030 หลังเรียน 30 16.70 1.42

    จากตารางที่ 3 พบวา การทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยทั้งสองกลุมของผูเรียนกอนเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 16.00 คะแนน หลังเรียนมีคะแนนเทากับ 16.70 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบแลวมีความแตกตางกันเทากับ -0.70 คะแนน ดังนั้นจากการทดสอบสถิติ t พบวา คาเฉลี่ยระหวางผูเรียน หลังเรียนและกอนเรียนสูงกวาอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    9

  • อภิปรายผลการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาเปรียบเทียบเจตคติของผูเรียนกอนและหลังการใช

    ชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง ผูวิจัยสามารถอภิปรายผลดังตอไปนี้

    1. ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอช จากกะหล่ำปลีแดง สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่สรางข้ึนมีประสิทธิภาพ 80.06/83.50 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80 การท่ีชุดกิจกรรมการทดลองเปนไปตามมาตรฐาน เปนเพราะการจัดการเรียนโดยใชชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอช จากกะหล่ำปลีแดง ทำใหผูเรียนมีการเรียนเปนไปตามข้ันตอน โดยปฏิบัติตามคำแนะนำท่ีกำหนดไวเปนการเปดโอกาสใหผูเรียนไดแสวงหาความรูดวยตนเอง มีสวนรวมในการปฏิบัติการทดลองอยางแทจริง ชวยใหผูเรียนไดฝกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร คนควาความรู วิเคราะหขอมูล สามารถตัดสินใจโดยการใชขอมูลที่มีอยูอยางมีเหตุผล ชุดกิจกรรมการทดลองสอดคลองกับงานวิจัยของ อมุาพร เดชจบ (2550: 35) ทีก่ลาววา การทดลองเปนสิง่สำคญั จะเปนการเรยีนรูดวยประสบการณตรง ซึ่งเปนการเรียนท่ีดีที่สุด สวนประสิทธิภาพของผลลัพธสูงกวาเกณฑเปนเพราะชุดกิจกรรมการทดลองทำใหนักเรียนเขาใจเน้ือหามาก นักเรียนทำคะแนนจากการทดสอบหลังเรียนไดมากเปนผลใหประสิทธิภาพของผลลัพธสูงกวาเกณฑ

    2. เจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตร จากการวิจัยพบวา หลังเรียนโดยใชกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง ผูเรียนมีเจตคติตอวิทยาศาสตร หลังเรียนสูงกวากอนเรียน ซึ่งเปนไปตามสมมติฐานท่ีกำหนดไว เหตุที่เปนเชนน้ีอาจเน่ืองมาจาก ชุดกิจกรรมการวัดคาความเปนกรด-เบส โดยสารอินดิเคเตอรจากธรรมชาติ มีการจัดการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมหลากหลาย มีสื่อการเรียนการสอนท่ีเราความสนใจ มีกิจกรรมการทดลองท่ีนาสนใจเปนเร่ืองใกลตัวท่ีควรรู และสามารถนำความรูท่ีไดไปใชในชีวิตประจำวัน ทำใหผูเรียนอยากทำการทดลองตามกิจกรรมที่จัด ผูเรียนจึงมีความสนใจและกระตือรือรนในการเรียนเปนอยางดี และมีความรูสึกที่ดีตอการเรียนวิทยาศาสตร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (2546: 149) ที่วา เจตคติตอวิทยาศาสตรเปนความรูสึกของบุคคลตอวิทยาศาสตร ซึ่งเปนผลจากการเรียนรูวิทยาศาสตร โดยผานกิจกรรมท่ีหลากหลาย ความรูสึกดังกลาว ไดแก ความพอใจความศรัทธาและซาบซ้ึง เห็นคุณคาและประโยชน ตระหนักในคุณและโทษ ความต้ังใจเรียนและเขารวมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร การเลือกใชวิธีทางวิทยาศาสตรในการคิดและปฏิบัติ การใชความรูทางวิทยาศาสตรอยางมีคุณภาพ โดยใครครวญ ไตรตรองถึงผลดีและผลเสีย สงผลใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอวิทยาศาสตร สกาว แสงออน (2546: 74) ศึกษาเจตคติของผูเรียนตอชุดกิจกรรม ผลการวิจัยพบวา ผูเรียนมีเจตคติตอวิทยาศาสตรสูง พูลทรัพย โพธิสุ (2546: บทคัดยอ) ไดพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรเรื่อง พืชและสัตวในสาระท่ี 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต สำหรับผูเรียนชวงชั้นที่ 2 ผลการศึกษาปรากฏวา ผูเรียนที่เรียน โดยใชชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรเรื่อง พืชและสัตวในสาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต สำหรับผูเรียนชวงช้ันที่ 2 มีผลการเรียนรูดานความรูและเจตคติของผูเรียนตอชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรอยูใน

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    10

  • ระดับดี ผลการเรียนรูดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรหลังเรียนสูงกวากอนเรียน นอกจากน้ีการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอช จากกะหล่ำปลีแดง ยังไดเปดโอกาสใหผูเรียนไดทำกิจกรรมท้ังในและนอกหองเรียน มีการปฏิบัติกิจกรรมรวมกับเพ่ือนเปนกิจกรรมกลุมเพ่ือชวยกันหาคำตอบและแกปญหาอยางมีหลักการทางวิทยาศาสตร ผูเรียนจึงไมเกิดความเบ่ือหนาย และมีความสุขขณะเรียน ขณะเดียวกันก็เห็นประโยชนของการเรียนรูเพื่อนำไปใชปฏิบัติตนและแนะนำผูอื่นไดอีกดวย จากเหตุผลท่ีกลาวมาขางตน จึงทำใหผูเรียนท่ีเรียนดวยชุดกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตรเรื่อง การสรางกระดาษวัดพีเอชจากกะหล่ำปลีแดง มีเจตคติตอวิทยาศาสตรหลังการจัดการเรียนรูสูงกวากอนการจัดการเรียนรู

    ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใช 1. ขณะผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมผูสอนควรดูแลอยางใกลชิด และคอยแนะนำใหผูเรียนระมัดระวัง

    อันตรายในการทำกิจกรรม 2. เวลาท่ีใชในการทำกิจกรรม ผูสอนอาจยืดหยุนไดตามความเหมาะสมตามระดับความสามารถ

    ของผูเรียนและระยะเวลาของกิจกรรม แตไมควรมากเกินไปอาจจะทำใหผูเรียนเกิดความเบ่ือหนายได ขอเสนอแนะการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรศึกษาผลการเรียนรูจากการเรียนดวยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรกับตัวแปรอื่น เชน

    ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 2. ควรมีการวิจัยเพื่อพัฒนาเจตคติตอการเรียนวิทยาศาสตรของผู เรียนทุกระดับชั้น

    เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสูงข้ึน

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    11

  • เอกสารอางอิง กรมวิชาการ. (2545). เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คูมือการ

    จัดการเรียนรูกลุมสาระวิทยาศาสตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551.

    กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. ธานินทร ปญญาวัฒนากุล. (2546). แนวทางการพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรจากแหงเรียนรู

    ในโครงการสมัมนาปฏบิตักิารจดัการเรยีนการสอนวทิยาศาสตรแบบบรูณาการ. มหาวทิยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.

    นพคณุ แดงบญุ. (2552). การศกึษาผลสัมฤทธิท์างการเรียนวทิยาศาสตรและเจตคติตอวทิยาศาสตรของผูเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูดวยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร. การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

    พูลทรัพย โพธ์ิสุ. (2546). การพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรเรื่อง พืชและสัตวในสาระท่ี 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต สำหรับผูเรียนชวงชั้นที่ 2. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

    สกาว แสงออน. (2546). การพัฒนาชุดกิจกรรมเรื่อง สับปะรดทองถิ่นในจังหวัดประจวบคีรีขันธ สำหรับผูเรียนชวงชั้นที่ 3. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (วิทยาศาสตรศึกษา). มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.

    สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน). (2553). รายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานปการศึกษา 2553 ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก.

    สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติม เคมี 3. กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพราว.

    สุนีย คลายนิล. (2555). การศึกษาวิทยาศาสตรไทย: การพัฒนาและภาวะถดถอย. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร.

    สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2543). ปฏิรูปการเรียนรู ปฏิรูปการศึกษา. ชมรมพัฒนาความรู ดานระเบียบกฎหมาย.

    อุมาพร เดชจบ. (2550). ผลการใชชุดกิจกรรมการทดลองเรื่องเซลลที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกัเรยีนช้ันมธัยมศกึษาปที ่4 โรงเรยีนสระหลวงพิทยาคม จงัหวดัพจิติร. ปรญิญานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

    ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃÒªÀѯÍØμôÔμ¶ ปที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2556

    12

  • Development of a Community Business Model for Rubber Farmers in Thailand and the Lao People’s Democratic Republic

    การพัฒนารูปแบบธุรกิจชุมชนของเกษตรกร ผูปลูกยางพาราในประเทศไทย

    และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

    รัชกฤช ธนกุลชูวงศ

  • Development of a Community Business Model for Rubber Farmers in Thailand and the Lao People’s Democratic Republic

    การพัฒนารูปแบบธุรกิจชุมชนของเกษตรกร ผูปลูกยางพาราในประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

    รัชกฤช ธนกุลชูวงศ* ภัทรธิรา ผลงาม** สุวารีย ศรีปูณะ*** พิมอร สดเอี่ยม****

    บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคดังนี้คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพ ปญหา และความตองการการดำเนิน

    ธุรกิจชุมชนของเกษตรกรผูปลูกยางพาราในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2) เพื่อสรางรูปแบบธุรกิจชุมชนในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 3) เพื่อทดลองใชและประเมินผลรูปแบบธุรกิจชุมชน เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม กลุมตัวอยาง คือ กลุมเกษตรกรผูปลูกยางพารา คณะผูบริหารกองทุนสงเคราะหการทำสวนยางพารา ผูอำนวยการ กองทุนสงเคราะหการทำสวนยาง และผูนำชุมชนบานน้ำคิว

    ผลการวิจัยพบวา 1) สภาพปญหาและความตองการในการดำเนินธุรกิจชุมชนในประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในประเทศไทย พบวา เดิมการปลูกยางพาราไดรับการอุดหนุนจากหนวยงานภาครัฐเกือบทุกดาน สภาพการขายผลผลิตมีทั้งพอคามารับซื้อที่บานและเกษตรกรนำไปขายที่จุดรับซื้อในหมูบา