20151028 m&v guide for lighting applications

41
คู่มือการใช้งานการตรวจวัดและพิสูจน์ผล ประหยัดสาหรับระบบแสงสว่าง Measurement and Verification Operational Guide for Lighting Applications โครงการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในอาคารธุรกิจ (PEECB) ส่วนที2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

Upload: grichawatch-techavanich

Post on 24-Jul-2016

219 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใชง้านการตรวจวัดและพิสูจน์ผล

ประหยัดส าหรับระบบแสงสว่าง

Measurement and Verification Operational Guide for Lighting Applications

โครงการส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

ในอาคารธุรกิจ (PEECB)

ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

Page 2: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications
Page 3: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

สารบัญ 1 บทน ำ ..................................................................................................................................................... 1

2 หลักกำร International Performance Measurement and Verification Protocol (IPMVP) ......... 2

2.1 กรอบหลักกำรของ IPMVP ............................................................................................................. 2

2.1.1 กำรตรวจสอบกำรปฏิบัติกำร Operational verifications ........................................................ 2

2.1.2 กำรตรวจวิเครำะห์ผลประหยัด Savings verifications .............................................................. 2

2.2 รูปแบบกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด (IPMVP Options) ...................................................... 3

3 ข้อควรพิจำรณำเบื้องต้นในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลกำรประหยัดพลังงำนในระบบแสงสว่ำง ................ 4

3.1 มำตรกำรส ำหรับระบบแสงสว่ำง ..................................................................................................... 4

3.2 ขั้นตอนกำรจัดท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ..................................................................... 5

3.3 ประเด็นที่ควรพิจำรณำและท ำควำมเข้ำใจในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ........................... 5

4 กำรออกแบบและวำงแผนกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ................................................................ 7

4.1 กำรออกแบบกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ............................................................................ 7

4.1.1 รูปแบบส ำหรับกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ..................................................................... 7

4.1.2 ขอบเขตกำรตรวจวัด (Measurement boundary) ................................................................. 13

4.1.3 ตัวแปรหลัก .............................................................................................................................. 14

4.1.4 ผลกระทบที่เกี่ยวเนื่อง (Interactive effects) .......................................................................... 16

4.1.5 ระยะเวลำกำรในตรวจวัด ......................................................................................................... 16

4.2 เตรียมแผนกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ............................................................................. 19

5 กำรเก็บข้อมูล พัฒนำแบบจ ำลองและกำรวิเครำะห์ผล .......................................................................... 23

5.1 กำรตรวจวัดเพ่ือหำค่ำฐำนอ้ำงอิง (Baseline) ............................................................................... 23

5.1.1 พิจำรณำข้อมูลที่มีอยู่ ............................................................................................................... 23

5.1.2 แหล่งข้อมูลที่ใช้ อุปกรณ์ตรวจวัดและเทคนิคท่ีจ ำเป็น .............................................................. 23

5.1.3 กำรตรวจวัด ............................................................................................................................. 27

5.2 กำรพัฒนำแบบจ ำลองกำรใช้พลังงำน (Energy model) และควำมไม่แน่นอน (Uncertainty) .... 30

5.3 ด ำเนินมำตรกำรส ำหรับระบบแสงสว่ำง ........................................................................................ 30

Page 4: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

5.4 ตรวจวัดข้อมูลหลังกำรปรับปรุง .................................................................................................... 31

5.5 กำรวิเครำะห์ผลประหยัดและควำมไม่แน่นอน .............................................................................. 31

5.5.1 สูตรค ำนวณกำรประหยัดพลังงำน ............................................................................................ 31

5.5.2 กำรประมำณค่ำแบบขยำย (Extrapolation) ............................................................................ 32

5.5.3 ควำมไม่แน่นอน (Uncertainty) ............................................................................................... 33

6 เสร็จสิ้นกำรด ำเนินกำร ......................................................................................................................... 33

6.1 กำรน ำเสนอรำยงำน ..................................................................................................................... 33

6.2 ปิดโครงกำรพร้อมทั้งรักษำระดับกำรอนุรักษ์พลังงำน ................................................................... 33

7 บรรณำนุกรม ........................................................................................................................................ 33

Page 5: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 1

1 บทน า กำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลกำรประหยัดพลังงำน (Measurement & Verification, M&V) เป็นกระบวนกำรที่ใช้กำรตรวจวัดในกำรหำค่ำผลประหยัดพลังงำน ค่ำใช้จ่ำยที่ประหยัดได้ และปริมำณก๊ำซเรือนกระจกที่ลดลงจำกมำตรกำรอนุรักษ์พลังงำน (Energy Conservation Measure, ECM) เพ่ือพิสูจน์ควำมน่ำเชื่อถือในมำตรกำรนั้นๆ ว่ำสำมำรถเพ่ิมผลประหยัดได้จริง โดยผลประหยัดนั้น สำมำรถหำได้จำกกำรน ำค่ำประสิทธิภำพกำรท ำงำนหลังกำรปรับปรุง (Post-retrofit performance) มำเปรียบเทียบกับประสิทธิภำพกำรท ำงำนที่คำดกำรณ์ไว่ในสภำวะปกติ (Business as usual forecast)

โดยทั่วไปในกำรตรวจวัดพิสูจน์ผลนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้องจะประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจวัดและพิสูจน์ผลการประหยัดพลังงาน (M&V Practitioners) ผู้จัดการโครงการอนุรักษ์พลังงาน หน่วยงานภาครัฐ และผู้ก าหนดนโยบาย ซึ่งแต่ละบุคคลหรือหน่วยงำนนั้น อำจมีควำมเข้ำใจในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดไม่สอดคล้องกัน ซึ่งอำจท ำให้เกิดอุปสรรคในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดขึ้นได้

คู่มือกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดเล่มนี้ จึงได้ถูกจัดท ำขึ้นเพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจของผู้ประกอบการ และเป็นแนวทำงในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลกำรประหยัดพลังงำนส ำหรับบุคคลหรือหน่วยงำนทุกประเภทที่เกี่ยวข้อง ดังนั้น เนื้อหำส ำหรับคู่มือเล่มนี้จะครอบคลุมสิ่งที่จ ำเป็นในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด เพ่ือให้ผู้ประกอบกำรหรือหน่วยงำนต่ำงๆเกิดควำมเข้ำใจที่ตรงกัน และสำมำรถท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดได้ผลส ำเร็จและสมบูรณ์

คู่มือเล่มนี้อ้ำงอิงหลักกำรมำจำก International Performance Measurement and Verification Protocol (IPMVP) ส ำหรับข้อมูลเชิงเทคนิค เครื่องมือที่จ ำเป็น และกรณีศึกษำต่ำงๆ จำกทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ จะประกอบอยู่ในคู่มือเล่มนี้ เพ่ือช่วยเหลือในกำรตัดสินใจ วำงแผน ตรวจวัด วิเครำะห์ผล และรำยงำนผลต่อไป

Page 6: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 2

2 หลักการ International Performance Measurement and Verification Protocol (IPMVP)

IPMVP นี้ได้เริ่มพัฒนำจำกกระทรวงพลังงำนประเทศสหรัฐอเมริกำต่อมำหน่วยงำนอิสระได้เข้ำมำจัดท ำและบริหำรแทนหน่วยงำนของรัฐเพ่ือที่จะพัฒนำหลักกำร IPMVP มำใช้ในระดับนำนำชำติ ในปัจจุบัน IPMVP จัดท ำโดย Efficiency Valuation Organization (EVO) ซึ่งเป็นหน่วยงำนอิสระมีวัตถุประสงค์เพ่ือผลักดันหลักกำร IPMVP ให้เป็นตัวกลำงท ำควำมเข้ำใจและก ำหนดขั้นตอนในกำรท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด (M&V)

2.1 กรอบหลักการของ IPMVP

หลักกำรของ IPMVP นั้นก ำหนดกิจกรรมต่ำงๆที่จะต้องปฏิบัติเพ่ือจัดท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ซึ่งสำมำรถแบง่กิจกรรมได้เป็น กำรตรวจวิเครำะห์กำรปฏิบัติกำร (Operational verifications) และกำรตรวจวิเครำะห์ผลประหยัด (Saving verifications) ซึ่งทั้งสองกิจกรรมจะต้องมีกำรก ำหนดและรำยงำนอย่ำงชัดเจน

2.1.1 การตรวจสอบการปฏิบัติการ Operational verifications กำรตรวจวิเครำะห์กำรปฏิบัติกำรเป็นกำรวิเครำะห์ตรวจสอบเบื้องต้นเพ่ือใช้ประกอบกำรวำงแผนใน

ขั้นตอนกำรตรวจวิเครำะห์ผลประหยัด (Saving verifications) ต่อไป โดยในขั้นตอนนี้สำมำรถท ำได้โดยกำรตรวจสอบโดยสำยตำ กำรวัดตัวอย่ำงเฉพำะจุดเทียบกับข้อมูลอ้ำงอิง กำรวัดตรวจสอบประสิทธิภำพระยะสั้น และกำรดูแนวโน้มข้อมูลและตรรกะกำรท ำงำน

2.1.2 การตรวจวิเคราะห์ผลประหยัด Savings verifications กำรตรวจวิเครำะห์ผลประหยัดมีองค์ประกอบคือ ขอบเขตการตรวจวัด ช่วงเวลาการตรวจวัด

(ช่วงเวลำค่ำฐำน/ช่วงรำยงำนผลประหยัด) หลักการในการปรับค่าผลประหยัด การหาผลประหยัดโดยการปรับแก้ค่าตามช่วงการประเมินผลประหยัด (Avoided energy use) หรือการหาผลประหยัดที่สภาวะคงที่ (Normalized saving)

Page 7: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 3

2.2 รูปแบบการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด (IPMVP OPTIONS)

ทำง IPMVP ได้แบ่งรูปแบบกำรกำรตรวจวัดออกเป็น 4 รูปแบบเพ่ือเป็นมำตรฐำนใช้ส ำหรับอ้ำงอิงซ่ึงแบ่งตำมลักษณะกำรตรวจวัดดังนี้

1. รูปแบบ A การตรวจวัดเฉพาะรายมาตรการที่ปรับปรุงโดยวัดเฉพาะค่าพารามิเตอร์หลัก (Retrofit-isolation key parameter measurements) เป็นกำรวัดเฉพำะค่ำพำรำมิเตอร์หลักของมำตรกำรที่ปรับปรุงและใช้กำรประเมินในค่ำพำรำมิเตอร์อื่นๆ

2. รูปแบบ B การตรวจวัดเฉพาะรายมาตรการที่ปรับปรุงโดยวัดค่าพารามิเตอร์ทั้งหมด (Retrofit-isolation all parameter measurements) เป็นกำรวัดรวมค่ำพำรำมิเตอร์หลักของมำตรกำรที่ปรับปรุงและค่ำพำรำมิเตอร์อ่ืนๆที่จ ำเป็น

3. รูปแบบ C การพิจารณาการใช้พลังงานโดยรวมของสถานประกอบการ (Whole facility) สำมำรถใช้มิเตอร์ของกำรไฟฟ้ำและมิเตอร์แยกในระบบย่อย รูปแบบนี้เหมำะส ำหรับกำรวัดรวมมำตรกำร หรือมำตรกำรที่ส่งผลกระทบกับระบบอ่ืนและยำกท่ีจะระบุผลกระทบนั้น โดยผลประหยัดจะต้องมำกกว่ำ 10 เปอร์เซ็นต์ของพลังงำนรวม

4. รูปแบบ D การจ าลองผล (Calibrated simulation) ใช้ในกรณีท่ีไม่สำมำรถหำค่ำกำรใช้พลังงำนฐำนได้

Page 8: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 4

3 ข้อควรพิจารณาเบื้องต้นในการตรวจวัดและพสิูจนผ์ลการประหยัดพลังงานในระบบแสงสว่าง

3.1 มาตรการส าหรับระบบแสงสว่าง

มำตรกำรประหยัดพลังงำนในระบบแสงสว่ำง (Lighting Energy Conservation Measures, ECMs) มีเปำ้หมำยในกำรลดควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำสูงสุด (Electricity peak demand) และกำรใช้พลังงำนในระบบแสงสว่ำงด้วยวิธีกำรดังต่อไปนี้

1) ลดกำรใช้ก ำลังไฟฟ้ำ (Power Draw) โดย a) ท ำกำรติดตั้ง/ปรับปรุงระบบแสงสว่ำงที่มีอยู่เดิมด้วยหลอดไฟ โคมไฟ หรือบัลลำสต์ที่มีประสิทธิภำพ

สูงกว่ำ b) ท ำกำรปลดหลอดไฟหรือโคมไฟที่ไม่จ ำเป็นออก c) ลดระดับแรงดันไฟฟ้ำของแหล่งจ่ำยไฟ

2) ควบคุมหรือปรับตั้งค่ำกำรควบคุมระบบแสงสว่ำง เพ่ือจ ำกัดชั่วโมงกำรท ำงำน (Operating Hours) ของระบบแสงสว่ำง

3) ข้อ 1 และข้อ 2 ร่วมกัน

รูปที่ 1: มำตรกำรส ำหรับระบบแสงสว่ำง

มาตรการรวม

ลดชัว่โมงการท างาน

ลดก าลงัไฟฟา้

Page 9: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 5

3.2 ขั้นตอนการจัดท าการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด

ขั้นตอนกำรจัดท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดนั้นสำมำรถแบ่งเป็น 9 ขั้นตอนหลักดังนี้

รูปที่ 2: ขั้นตอนกำรจัดท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด

3.3 ประเด็นที่ควรพิจารณาและท าความเข้าใจในการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด

ปัจจัยส ำคัญที่ควรพิจำรณำประกอบกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด คือกำรท ำควำมเข้ำใจในมำตรกำรประหยัดพลังงำนทั้งในเรื่องของ วัตถุประสงค์หลัก สถำนที่ งบประมำณที่ใช้ และผลประโยชน์ที่ได้รับ เช่น ผลประหยัดพลังงำน ค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำสูงสุดที่ลดได้ ปริมำณกำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจกที่ลดได้ และค่ำใช้จ่ำยที่ประหยัดได้ เป็นต้น ซึ่งในกำรเริ่มต้น สิ่งที่จ ำเป็นต้องท ำควำมเข้ำใจและระบุในรำยงำนมีดังนี ้

รูปแบบการตรวจวัดสำมำรถใช้ได้ทุกแบบ (A B C และ D) แต่อย่ำงไรก็ตำม โดยทั่วไปกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดในระบบแสงสว่ำงจะใช้รูปแบบ A หรือ B โดยแยกระบบแสงสว่ำงออกจำกระบบอ่ืน ๆ อย่ำงชัดเจน ทัง้นี้เพ่ือป้องกันผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นจำกระบบอ่ืน ๆ

1. เลือกมาตรการ 2. พิจารณาตัวแปรหลัก3. เลือกรูปแบบ

A B C D

4. วางแผนการตรวจวดัและพิสจูน์ผลประหยดั

5. ตรวจวัดค่าพลังงานฐาน

6. วิเคราะห์ค่า พลังงานฐาน

7. ด าเนินการตามมาตรการ

8. ตรวจวัดค่าพลังงานหลังติดตั้ง

9. วิเคราะห์และรายงานผลประหยัด

Page 10: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 6

ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ที่อำจท ำให้เกิดผลกระทบขึ้นในระบบ ทั้งก่อนและหลังกำรเปรียบเทียบผลประหยัดซ่ึงจะประกอบด้วยกำรเปลี่ยนแปลงชั่วโมงกำรใช้งำน ฤดูกำลและกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (Human Behaviour) เป็นต้น

ระดับของความไม่แน่นอน (Uncertainty Level) ที่ยอมรับได ้ (ค่ำ Precision and Confidence)

ผลของการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดทีเ่ป็นที่ยอมรับ

ระยะเวลาของการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด จะขึ้นกับกำรท ำงำน (Operating Cycle) ในระบบพลังงำน รูปแบบที่ท ำกำรเลือก (Options) และระดับของควำมไม่แน่นอน (Uncertainty Level)

งบประมาณ จะเป็นปัจจัยส ำคัญในกำรก ำหนด

โดยหัวข้อที่ 3.2 จะให้ข้อมูลอย่ำงละเอียดเกี่ยวกับสิ่งที่ควรพิจำรณำในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดส ำหรับระบบแสงสว่ำง

รูปที่ 3: ประเด็นที่ควรพิจำรณำส ำหรับระบบแสงสว่ำง

ประเด็นที่ควรพิจารณาในการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด

รูปแบบการตรวจวัด (A, B, C, D)

ตัวแปรอิสระที่อาจท าให้เกิดผลกระทบต่อ M&V

ระดับของความไม่แน่นอน

ระยะเวลาของการตรวจวัดและพสิูจน์ผลประหยัด

งบประมาณ

Page 11: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 7

4 การออกแบบและวางแผนการตรวจวัดและพสิูจน์ผลประหยัด 4.1 การออกแบบการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด

IPMVP ได้ระบุถึงเนื้อหำที่จะต้องระบุไว้ในแผนกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดโดยก ำหนดหัวข้อไว้ 13 หัวข้อดังนี้

1. ผลที่คำดจะได้รับจำกมำตรกำรรวมถึงกำรตรวจสอบมำตรกำร (ECM Intent)

2. รูปแบบและขอบเขตกำรตรวจวัด (IPMVP Option and Measurement Boundary)

3. ค่ำฐำนอ้ำงอิงโดยระบุช่วงเวลำ ค่ำพลังงำน และสภำพพ้ืนฐำน (Baseline: Period, Energy and Conditions)

4. ช่วงเวลำในกำรรำยงำนผลประหยัด (Reporting Period)

5. สภำพที่จะต้องปรับค่ำต่ำง และสภำพที่จะต้องควบคุม (Basis for Adjustment)

6. วีธีกำรวิเครำะห์ค ำนวณ (Analysis Procedure)

7. ต้นทุนพลังงำนที่ใช้ (Energy Prices)

8. คุณลักษณะทำงเทคนิคของมิเตอร์ (Meter Specifications)

9. ก ำหนดผู้รับผิดชอบในกำรรำยงำนและบันทึกข้อมูล (Monitoring Responsibilities)

10. ค่ำควำมแม่นย ำที่คำดว่ำจะได้รับ (Expected Accuracy)

11. งบประมำณในกำรท ำ M&V (Budget)

12. รูปแบบรำยงำน (Report Format)

13. ประกันคุณภำพและควำมถูกต้องของรำยงำน (Quality Assurance)

4.1.1 รูปแบบส าหรับการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด แนวทำงในกำรก ำหนดรูปแบบ (Options) ในมำตรกำรของระบบแสงสว่ำงโดยรวมถึง ตัวแปรที่

จ ำเป็นต้องวัด ประมำณค่ำ หรือพิจำรณำ ประกอบกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดพลังงำนใน โดยมีรำยละเอียดดังต่อไปนี้

Page 12: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 8

มาตรการปรับปรุงค่าก าลังไฟฟ้า (Power draw) รูปแบบ A

กำรเปลี่ยนหรือปรับปรุงระบบโคมไฟ (เช่น เปลี่ยนเป็นฟลูออเรสเซนต์ T5 หรือ LED) กำรเปลี่ยนหลอดไฟ (เช่น หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์แทนที่หลอดไส้) กำรปลดหลอดไฟ/โคมไฟที่ไม่จ ำเป็นออก (Delamping) กำรลดแรงดันไฟฟ้ำ (Voltage reduction) /กำรหรี่ไฟ (Dimming) เพ่ือลดกำรใช้พลังงำนที่ไม่จ ำเป็น

ตัวแปรที่ต้องท าการวัด

• ค่าก าลังไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง มักจะใช้ค่า kW

• การตรวจวัดโดยตรงในสวิตซ์หรือวงจรเฉพาะ

• การตรวจวัดโดยตรงจากการสุ่มตัวอย่าง (Sampling) จากอุปกรณ์ที่ถูกเลือก

• ระดับความสว่าง

• ตามมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

• ไม่ต่ ากว่าระดับความสว่างเดิมโดยก าหนดจุดตรวจวัดตามภาคผนวก ก.

ตัวแปรที่ประมาณค่า

• ชั่วโมงการท างาน

• เวลาเข้า-ออก พนักงาน

• ตารางท างาน

• การจับเวลาโดยตรง

• ข้อมูลช่วงเวลาดวงอาทิตย์ขึ้น-ตก จากกรมอุตุนิยมวิทยา

• มิเตอร์/เซนเซอร์วัดระดับความสว่าง (Light level meter/sensor)

• การระดมความคิดเห็นร่วมกับพนักงานหรือผู้รับผิดชอบ

Page 13: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 9

มาตรการการปรับปรุงระบบควบคุมแสงสว่าง รูปแบบ A

การเปลี่ยนปรับปรุงระบบควบคุมแสงสว่าง

การควบคุมการเปิด-ปิดระบบแสงสว่างโดยใช้เซลล์แสงอาทิตย์ (Daylight control)

การควบคุมการเปิด-ปิดระบบแสงสว่างโดยใช้เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว (Motion sensors)

การควบคุมการเปิด-ปิดระบบแสงสว่างอ่ืนๆ

ตัวแปรที่ต้องท าการวัด

• ชั่วโมงการท างาน

• เครื่องบันทึกข้อมลูการเข้าใช้ระบบแสงสวา่ง (Occupancy and light logger)

• เครื่องบันทึกเวลาการท างานของระบบจากกระแสไฟฟ้า (Hour meter)

• เครื่องบันทึกเวลาการท างานอื่นๆ

• ระดับความสวา่ง (Lighting levels)

• ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง

ตัวแปรที่ประมาณค่า

• ค่าก าลังไฟฟ้า

• รายละเอียดอุปกรณ์จากผู้ผลิต

• ฉลากแสดงรายละเอียดที่ตัวอุปกรณ์ (Nameplate)

• ประมาณค่าจากประวตัิการตรวจวัด

Page 14: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 10

มาตรการปรับปรุงท้ังระบบควบคุมแสงสว่างและก าลังไฟฟ้า รูปแบบ B

ตัวแปรที่ต้องท าการวัด

• ชั่วโมงการท างาน (Operating hours)

• เครื่องบันทึกข้อมูลการเข้าใช้ระบบแสงสว่าง (Occupancy and light logger)

• เครื่องบันทึกเวลาการท างานของระบบจากกระแสไฟฟ้า (Hour meter)

• เครื่องบันทึกเวลาการท างานอ่ืนๆ

• ค่าก าลังไฟฟ้า (Power draw) ที่เปลี่ยนแปลง มักจะใช้ค่า kW

• การตรวจวัดโดยตรงในสวิตซ์หรือวงจรเฉพาะ

• การตรวจวัดโดยตรงจากการสุ่มตัวอย่าง (Sampling) จากอุปกรณ์ที่ถูกเลือก

ตัวแปรที่พิจารณา

• ผลกระทบที่เกี่ยวเน่ือง (Interactive effects)

• โหลดความร้อนที่ลดลงท าให้เกิดผลประหยัดในระบบปรับอากาศ (ตามข้อตกลงกรอบของการพิสูจน์ผลประหยัด

• ความต้องการแสงสว่างเปลี่ยนไปเน่ืองจากมาตรการเกี่ยวเน่ืองอื่นๆ เช่น การติดตั้งฟิล์มกรองแสง การปรับผังอาคาร

• ระดับความสว่าง (Lighting levels)

• ตามมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

• ไม่ต่ ากว่าระดับความสว่างเดิมโดยก าหนดจุดตรวจวัดตามภาคผนวก ก.

Page 15: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 11

มาตรการปรับปรุงระบบควบคุมแสงสว่างและ/หรือ ก าลังไฟฟ้า รูปแบบ C

ใช้ได้กับทุกมาตรการ

ผลประหยดัจะต้องเกิน 10% ของค่าพลังงานไฟฟ้าทั้งหมด

ตัวแปรที่ต้องท าการวัด

• พลังงานที่วัดได้จากมิเตอร์ (kWh)

• มิเตอร์ค่าไฟของการไฟฟ้า

• มิเตอร์ระบบย่อย

• ระดับความสว่าง (Lighting levels)

• ตามมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

• ไม่ต่ ากว่าระดับความสว่างเดิมโดยก าหนดจุดตรวจวัดตามภาคผนวก ก.

ตัวแปรที่พิจารณา

• ผลกระทบที่เกี่ยวเน่ือง (Interactive effects)

• โหลดความร้อนที่ลดลงท าให้เกิดผลประหยัดในระบบปรับอากาศ (ตามข้อตกลงกรอบของการพิสูจน์ผลประหยัด)

• ความต้องการแสงสว่างเปลี่ยนไปเนื่องจากมาตรการเกี่ยวเน่ืองอื่นๆ เช่น การติดตั้งฟิล์มกรองแสง การปรับผังอาคาร

Page 16: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 12

มาตรการปรับปรุงระบบควบคุมแสงสว่างและ/หรือ ก าลังไฟฟ้า รูปแบบ D

ใช้กับมาตรการที่ไม่สามารถหาค่าฐาน

ใช้ได้กับทุกมาตรการ

ผู้ประกอบการต้องมีความรู้ทางด้านเทคนิค

ตัวแปรที่ต้องท าการวัดหลังการปรับปรุง

• พลังงานท่ีวัดได้จากมิเตอร์ (kWh)

• มิเตอร์ค่าไฟของการไฟฟ้า

• มิเตอร์ระบบย่อย

• ระดับความสว่าง (Lighting levels)

• ตามมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย

• ไม่ต่ ากว่าระดับความสว่างเดิมโดยก าหนดจุดตรวจวัดตามภาคผนวก ก.

ตัวแปรที่พิจารณา

• ผลกระทบท่ีเกี่ยวเนื่อง (Interactive effects)

• โหลดความร้อนท่ีลดลงท าให้เกิดผลประหยัดในระบบปรับอากาศ (ตามข้อตกลงกรอบของการพิสูจน์ผลประหยัด)

• ความต้องการแสงสว่างเปลี่ยนไปเนื่องจากมาตรการเกี่ยวเนื่องอ่ืนๆ เช่น การติดตั้งฟิล์มกรองแสง การปรับผังอาคาร

Page 17: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 13

4.1.2 ขอบเขตการตรวจวัด (Measurement boundary)

ขอบเขตการตรวจวัด (Measurement boundary)

รูปแบบ A หรือ B

• ขอบเขตการตรวจวัดจะครอบคลุมถึงระบบแสงสว่างที่อยู่ภายใต้มาตรการที่ด าเนินการ

• ส าหรับโครงการที่มีความซับซ้อน ระบบแสงสว่างอาจแบ่งตามลักษณะการใช้งานตามพ้ืนที่ หรือ แบ่ง เป็นส่วนๆ (โครงการย่อยต่างๆ) ซึ่งค่าการเริ่มต้นหรือรูปแบบการท างานต่างๆที่มีความแตกต่างกันจะสามารถน ามาประเมินโดยแยกพิจารณาเป็นกรณีได้โดย

• แบ่งเป็นส่วนๆ (โครงการย่อยต่างๆ)

• ขยายขอบเขตเพื่อรองรับโหลดที่ไม่ใช่โหลดแสงสว่าง ในกรณีที่สามารถระบุก าลังไฟฟ้า ลักษณะพฤติกรรมการใช้งาน และตัวแปรอิสระ ได้อย่าง

รูปแบบ C

• เป็นรูปแบบส าหรับทั้งอาคาร หรือระบบใหญ่ที่ครอบคลุมมิเตอร์สาธารณูปโภค หรือมิเตอร์ย่อยต่างๆ

• การใช้รูปแบบ C อาจลดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล อย่างไรก็ตาม โดยปกติแล้วขอบเขตการวัดของมิเตอร์จะรวมถึงโหลดอื่นๆเพ่ิมเติมด้วย ซึ่งอาจท าให้การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นไปอย่างซับซ้อนและไม่มีความเหมาะสมเพียงพอ

• นอกจากนี้ ในการใช้รูปแบบ C ค่าการประหยัดพลังงานที่คาดการณ์ไว้ส าหรับระบบแสงสว่าง จะต้องมีค่าเป็น 10% ของการใช้พลังงานที่วัดได้จากมิเตอร์ไฟฟ้าหรือมากกว่าน้ัน

รูปแบบ D

• การออกแบบอาคารใหม่ - ประเมินความแตกตา่งระหว่างค่าประสิทธภิาพเฉลี่ยกับค่าประสิทธภิาพจากการออกแบบ

• มาตรการปรับปรุงในกรณีที่ไมม่ีค่า Baseline

Page 18: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 14

4.1.3 ตัวแปรหลกั ตัวแปรหลักที่ควรถูกพิจำรณำเมื่อท ำกำรออกแบบโครงกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดส ำหรับระบบแสงสว่ำงมีอยู่สองตัวแปรคือ

1. ค่ำก ำลังไฟฟ้ำ

2. ชั่วโมงกำรท ำงำน

รำยละเอียดของตัวแปรต่ำงๆสำมำรถพิจำรณำดังนี้

ค่าก าลังไฟฟ้าของอุปกรณ์ภายในขอบเขตที่ก าหนดก าลังไฟฟ้า• วัดค่าจากก าลังไฟฟ้าของอุปกรณ์ภายในขอบเขตมาตรการของระบบแสงสว่าง ซึ่งประกอบด้วยโคมไฟ หลอดไฟ บัล

ลาสต์ ตัวควบคุมแสงสว่าง และหม้อแปลง

• หลังการปรับปรุงอาจมีการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของอุปกรณ์ ดังนั้นการก าหนดขอบเขตของการวัดและจุดที่ท าการวัดจะต้องครอบคลุมถึงประเด็นเหล่านี้ด้วย

• มาตรการการปรับปรุงประสิทธิภาพในระบบแสงสว่างจะต้องวัดค่าก าลังไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงซึ่งเป็นตัวแปรหลัก

• มาตรการปรับปรุงระบบควบคุมการเปิด-ปิดในระบบแสงสว่างสามารถก าหนดให้ก าลังไฟฟ้าคงที่โดยใช้สมมุตติฐานว่าก าลังไฟฟ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงหลังปรับปรุง

• โดยทั่วไปก าลังไฟฟ้าจะใช้หน่วยวัตต์ (Watt) ส าหรับโคมไฟแต่ละดวง และใช้หน่วยกิโลวัตต์ (Kilowatt) ส าหรับทั้งวงจรหรือทั้งระบบ

Page 19: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 15

ระยะเวลาที่ระบบแสงสว่างท างาน ชั่วโมงการท างาน• จะต้องพิจารณาแยกตามพื้นที่โดยลักษณะเวลาการใช้งานในแต่ละพื้นที่

• การควบคุมชั่วโมงการท างานในระบบแสงสว่างรวมถึง การควบคุมโดยพนักงาน หรือระบบควบคุมการเปิด-ปิดอัตโนมัติที่มีการตอบสนองต่อสภาพแสงจากสภาวะแวดล้อม การเคล่ือนไหว หรือจากการตั้งเวลาเป็นต้น

• ชั่วโมงการท างานอาจถูกก าหนดโดยปัจจัยต่างๆจากการควบคุมดังต่อไปนี้

• ประเภทของแสงไฟ – ไฟส านักงานทั่วไป, ไฟฉุกเฉิน, ไฟตกแต่ง, หรือแสงสว่างเฉพาะส าหรับงานเฉพาะทาง

• ช่วงเวลาการใช้งานอาคาร - ช่วงเวลา, ตลอด 24 ชั่วโมง, เข้าใช้ตามฤดูกาล, ช่วงเทศกาลวันหยุด

• การแบ่งวงจรย่อยเป็นส่วนๆ / การติดตั้งสวิตซ์เฉพาะจุด

• ชนิด, ต าแหน่งการวาง และลักษณะการท างานงานของระบบควบคุมแสงสว่าง

• การควบคุมจากคน โดยการควบคุมด้วยมือ หรือควบคุมแบบอัตโนมัติโดยการจับการเคลื่อนไหว

• วัฒนธรรมองค์กรหรือพฤติกรรมของพนักงาน

• ในระบบควบคุมแสงสว่าง ชั่วโมงการท างานเป็นตัวแปรส าคัญที่ต้องท าการวัด ส าหรับการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการท างาน (ลดก าลังไฟฟ้า) ชั่วโมงการท างาน อาจถูกก าหนดให้มีค่าคงที่ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความไม่แน่นอนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

Page 20: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 16

4.1.4 ผลกระทบที่เกี่ยวเนื่อง (Interactive effects) ส ำหรับระบบแสงสว่ำงจะมีขอบเขตกำรวัดที่ถูกก ำหนดไว้โดยชัดเจน ซ่ึงจะมีผลกระทบที่เกี่ยวเนื่องน้อยมำก หรือไม่จ ำเป็นต้องค ำนึงถึง โดยผลกระทบที่เก่ียวเนื่องหลักๆโดยทั่วไปที่เกิดจำกระบบแสงสว่ำงคือกำรลดภำระควำมร้อนจำกกำรเปลี่ยนหลอดไฟ ซึ่งจะลดควำมต้องกำรในกำรท ำควำมเย็นหรือพูดอีกนัยหนึ่งคือกำรลดภำระกำรท ำงำนของเครื่องปรับอำกำศ

4.1.5 ระยะเวลาการในตรวจวัด ระยะเวลำที่ใช้ในกำรตรวจวัดจะถูกก ำหนดโดยวงจรกำรท ำงำนในระบบ รูปแบบที่ท ำกำรเลือก และระดับควำมแม่นย ำที่ยอมรับ (Accuracy level) โดยตำรำงที่ 1 แสดงถึงกรอบระยะเวลำที่เหมำะสมในตรวจวัดในช่วง Baseline และช่วงระยะเวลำหลังท ำกำรปรับปรุง (Post-retrofit)

ตำรำงที่ 1: กรอบระยะเวลำที่เหมำะสมในตรวจวัดในช่วง Baseline และช่วงระยะเวลำหลังท ำกำรปรับปรุง (Post-retrofit)

รูปแบบ ระยะเวลาการในตรวจวัด

ค่าก าลังไฟฟ้า พลังงานที่ถูกวัดโดยมิเตอร์ ชั่วโมงการท างาน A (ก ำลังไฟฟ้ำ เ ป็ น ตั ว แ ป รหลัก)

กำรวัดค่ำก ำลังไฟฟ้ำแบบชั่วขณะเพ่ือใช้คำดกำรณ์ในสถำนกำรณ์ที่ใกล้เคียงกัน

ไม่จ ำเป็นนอกจำกโหลดจะไม่คงตัวโดยจะใช้ระยะเวลำประมำณ 1-4 สัปดำห์

A (ชั่วโมงกำรท ำงำนเป็นตัวแปรหลัก)

โดยทั่วไปจะประมำณ 1-4 สัปดำห์ หรือในกรณีที่ฤดูกำลเป็นปัจจัยที่มีผลต่อกำรวัด (เช่น กำรเปิด-ปิดภำคเรียนของโรงเรียน) จะต้องท ำกำรวัดเป็นช่วงๆ ในทุกฤดูกำลเพื่อให้ครอบคลุมทุกกรณ ี

B กำรวัดค่ ำก ำลั ง ไฟฟ้ำ (Power draw) ใ น ช่ ว ง สั้ น ๆ เ พ่ื อ ใ ช้ ค ำ ด ก ำ ร ณ์ ใ นสถำนกำรณ์ท่ีใกล้เคียงกัน

โดยทั่วไปจะใช้ระยะเวลำประมำณ 1-4 สัปดำห์ โดยทั่วไปจะประมำณ 1-4 สัปดำห์ หรือในกรณีที่ฤดูกำลเป็นปัจจัยที่มีผลต่อกำรวัด (เช่น กำรเปิด-ปิดภำคเรียนของโรงเรียน) จะต้องท ำกำรวัดเป็นช่วงๆ ในทุกฤดูกำลเพื่อให้ครอบคลุมทุกกรณ ี

Page 21: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 17

รูปแบบ ระยะเวลาการในตรวจวัด

ค่าก าลังไฟฟ้า พลังงานที่ถูกวัดโดยมิเตอร์ ชั่วโมงการท างาน C ควรจะประกอบด้วยรอบกำรท ำงำนอย่ำงน้อย

หนึ่งรอบซึ่งรวมถึงระบบกำรใช้พลังงำนอ่ืน ๆ ด้วย เช่น ควรจะใช้ข้อมูลของค่ำ Baseline ทั้ง 12 เดือนเมื่อฤดูกำลเป็นปัจจัยที่ต้องพิจำรณำประกอบ โดยทั่วไปจะใช้ระยะเวลำอย่ำงน้อย 3 เดอืนส ำหรับข้อมูลหลังกำรปรับปรุง

ควรจะประกอบด้วยรอบกำรท ำงำนอย่ำงน้อยหนึ่งรอบซึ่งรวมถึงระบบกำรใช้พลังงำนอ่ืน ๆ ด้วย เช่น ควรจะใช้ข้อมูลของค่ำ Baseline ทั้ง 12 เดือนเมื่อฤดูกำลเป็นปัจจัยที่ต้องพิจำรณำประกอบ โดยทั่วไปจะใช้ระยะเวลำอย่ำงน้อย 3 เดือนส ำหรับข้อมูลหลังกำรปรับปรุง

D โดยทั่วไปจะใช้ระยะเวลำ 1 รอบกำรท ำงำน ส ำหรับกำรก ำหนดค่ำ Baseline ตัวแปรส ำคัญส ำหรับกรณีนี้ คือชั่วโมงกำรท ำงำน ดังนั้นกำรตรวจวัดก ำลังไฟฟ้ำในระยะสั้นๆ จึงเป็นสิ่งที่เพียงพอ

โดยทั่วไปจะใช้ระยะเวลำ 1 รอบกำรท ำงำน ส ำหรับกำรก ำหนดค่ำ Baseline ตัวแปรส ำคัญส ำหรับกรณีนี้ คือชั่วโมงกำรท ำงำน ดังนั้นกำรตรวจวัดก ำลังไฟฟ้ำในระยะสั้นๆ จึงเป็นสิ่งที่เพียงพอ

โดยทั่วไปจะใช้ระยะเวลำ 1 รอบกำรท ำงำน ส ำหรับกำรวัดค่ำ Baseline (โดยทั่วไป 1 รอบกำรท ำงำนจะมีระยะเวลำประมำณ 2 สัปดำห์หรือมำกกว่ำนั้น) ส ำหรับกำรตรวจวัดหลังกำรป รั บป รุ ง มี วั ต ถุ ป ร ะส ง ค์ เ พ่ื อ ก ำ ห น ด ค่ ำ แบบจ ำลอง Baseline ใหม่ ดังนั้นทั้งชั่วโมงกำรท ำงำน และก ำลังไฟฟ้ำ เป็นสิ่งที่ควรตรวจวัด

Page 22: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 18

ตำรำงที่ 2: ระยะเวลำกำรตรวจวัดโดยใช้รูปแบบ B ส ำหรบัอำคำรแต่ละประเภท

ประเภทอาคาร ระยะเวลาการตรวจวัด ที่อยู่อำศัย 1 สัปดำห์ ส ำนักงำน 1 สัปดำห์ โรงเรียน (ตำมภำคกำรเรียน) 2 สัปดำห์ (1 สัปดำห์ที่มีกำรเรียนกำรสอนและ 1 สัปดำห์ที่ไม่มีกำรเรียน

กำรสอน) โรงเรียน (ตลอดปี) 1 สัปดำห์ โรงพยำบำล 1 สัปดำห์ ศูนย์กำรค้ำที่มีอัตรำกำรกำรเข้ำคงที ่ 1 สัปดำห์ ศูนย์กำรค้ำที่มีอัตรำกำรกำรเข้ำเปลี่ยนแปลงตำมฤดูกำล 3 สัปดำห์ (1 สัปดำห์ ต่อ 1 ฤดูกำล)

Page 23: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 19

4.2 เตรียมแผนการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด

ขั้นตอนต่อไปเป็นกำรเตรียมแผนกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ซึ่งจะขึ้นอยู่กับกำรออกแบบกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ระยะเวลำ ทรัพยำกรและงบประมำณท่ีต้องใช้ในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด ตำรำงที่ 4 แสดงถึงปัญหำที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปในกำรท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดส ำหรับระบบแสงสว่ำง และวิธีกำรแก้ไขปัญหำเหล่ำนั้นประกอบกำรวำงแผนและด ำเนินกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด

ตำรำงที ่3: ข้อพิจำรณำ ปัญหำและวิธีกำรแก้ไขปัญหำส ำหรับระบบแสงสว่ำง

ข้อพิจารณา ปัญหาที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา กำรตรวจวัดในจุดที่มีโหลดอ่ืนๆร่วมอยู่ด้วย

จุดที่ท ำกำรตรวจวัด (วงจรย่อย แผงวงจรย่อย มิเตอร์ไฟฟ้ำ ฯลฯ) ประกอบด้วยโหลดอ่ืนๆ ที่ไม่ใช่โหลดแสงสว่ำงอยู่ด้วย โดยกรณีนี้จะเป็นอุปสรรคเบื้องต้นในกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดที่ท ำกำรเลือกจุดตรวจวัดไว้แล้ว

-พิจำรณำ ณ จุดตรวจวัดว่ำสำมำรถระบุขนำดและต ำแหน่งของโหลดเพ่ิมเติม ได้หรือไม่ โดยวิธีหนึ่งคือกำรตรวจสอบแผนผังวงจร (Circuit charts) ที่มีอยู่ ซึ่งจะอธิบำยถึงโหลดในแต่ละวงจรย่อย - ท ำกำรประเมินโหลดเพ่ิมเติมโดยพิจำรณำว่ำ เป็นโหลดที่ผันแปร (Variable) และ/หรือ สำมำรถประมำณค่ำได้หรือไม่ถ้ำเป็นโหลดที่สำมำรถประมำณค่ำได ้ผลของโหลดเหล่ำนี้สำมำรถน ำมำหักออกจำกกำรค ำนวณผลกำรประหยัดได้ - กรณีท่ีเป็นโหลดที่มีควำมผันแปร (Variable) อำจใช้ทำงเลือกดังต่อไปนี้ a. ท ำกำรตรวจวัดเฉพำะโคมไฟในจ ำนวนที่เหมำะสมและท ำกำรประมำณค่ำแบบขยำย (Extrapolation) b. ขยำยขอบเขตกำรวัดให้รวมโหลดเพ่ิมเติมจำกภำยนอกขอบเขตและยอมให้ตัวแปรอิสระที่มีผลกับค่ำกำรใช้พลังงำนในโหลดเพ่ิมเติมเข้ำมำในขอบเขตกำรตรวจวัด c. ท ำกำรตรวจวัดโหลดเพ่ิมเติม และหักค่ำที่วัดได้ออกจำกวงจรเพ่ือที่จะสำมำรถระบุค่ำโหลดภำยในขอบเขตกำรวัดที่ต้องกำรได ้

รูปแบบกำรใช้งำนหรือกำรควบคุมที่ต่ำงกัน

ภำยในขอบเขตกำรวัด อำจประกอบด้วยพ้ืนที่ใช้งำนที่มีรูปแบบกำรใช้งำนหรือกำรควบคุมที่แตกต่ำงกัน เช่น พ้ืนที่ใช้งำนใน

พ้ืนที่ในลักษณะต่ำงๆควรจะถูกระบุไว้ในแผน รวมถึงวิธีกำรจัดกำรกับควำมหลำกหลำยของรูปแบบกำรท ำงำน ซึ่งข้ึนอยู่กับรูปแบบ (Option) ที่ใช้งำน โดยประกอบด้วย

Page 24: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 20

ข้อพิจารณา ปัญหาที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา ส ำนักงำนที่ใช้ระบบแสงสว่ำงจำกวงจรเดียวกัน ประกอบด้วยพ้ืนที่ท ำงำนแบบเปิดโล่ง และพ้ืนที่ห้องประชุม ซึ่งมีรูปแบบกำรใช้งำนที่ค่อนข้ำงแตกต่ำงกัน

1. ศึกษำทบทวนแนวทำงกำรตรวจวัด เพ่ือระบุวิธีที่ใช้ในกำรค ำนวณชั่วโมงกำรท ำงำน (เช่น กำรตรวจสอบ Load profile) 2. เปลี่ยนวิธีกำรวัด ให้ชั่วโมงกำรท ำงำนเป็นค่ำตัวแปรหลัก โดยอำจเลือกใช้รูปแบบ A ที่ท ำกำรวัดค่ำชั่วโมงกำรท ำงำนเป็นตัวแปรหลัก 3. เปลี่ยนเป็นรูปแบบ B ซึ่งจะท ำกำรวัดทั้งก ำลังไฟฟ้ำ และชั่วโมงกำรท ำงำน 4. ท ำกำรตรวจวัดเพ่ิมเติมโดยค ำนึงถึงลักษณะกำรใช้งำนของพ้ืนที่ (ใช้รูปแบบ A ที่มีกำรตรวจวัดชั่วโมงกำรท ำงำนหรือรูปแบบ B) 5. ท ำกำรประมำณชั่วโมงกำรท ำงำนให้มีควำมละเอียดถูกต้องยิ่งขึ้นในแต่ละพ้ืนที่ โดยกำรอ้ำงอิงกับข้อมูลต่ำงๆที่มีอยู่ เช่น กำรตั้งค่ำอุปกรณ์ควบคุม (Equipment control settings) รูปแบบพฤติกรรมกำรใช้งำน (Behaviour patterns) และข้อมูลสภำพแวดล้อม (Contextual information) เช่น ช่วงเวลำดวงอำทิตย์ขึ้น-ตกดิน

ลักษณะกำรติ ดตั้ ง ที่แตกต่ำงกัน

เกิดกำรเปลี่ยนเปลงค่ำก ำลังไฟฟ้ำ (Power draw) อันเนื่องมำจำกลักษณะกำรติดตั้งที่แตกต่ำงกันเช่น ระยะห่ำงระหว่ำงโคมไฟแต่ละดวงก่อนและหลังกำรปรับปรุงไม่เท่ำกัน

วิธีกำรแก้ไขประกอบด้วย 2 วิธี คือ 1. ใช้รูปแบบกำรวิเครำะห์แบบ “black box” และท ำกำรตรวจวัดภำยในขอบเขต 2. ท ำกำรแบ่งประเภทของลักษณะกำรติดตั้ง และท ำกำรวัดแบบสุ่ม (Sampling) ในแต่ละประเภทนั้นๆ และท ำกำรประมำณค่ำแบบขยำย (Extrapolation) ให้ครอบคลุมโคมไฟทั้งหมดในโครงกำร

กำร เดินสำยไฟ ใหม่ (Rewiring)

กำรด ำเนินมำตรกำรปรับปรุงระบบแสงสว่ำง อำจส่งผลให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงในวงจรไฟฟ้ำ (Circuits) และกำรเดินสำยไฟ ( Wiring) ย ก ตั ว อ ย่ ำ ง เ ช่ น ก ำ ร เ พ่ิ มประสิทธิภำพระบบแสงสว่ำง ส่งผลให้จ ำนวนของวงจรไฟฟ้ำภำยในขอบเขตกำรวัดลดลงจำก 10 เหลือ 8 วงจร โดย 2

วงจรต่ำงๆ เป็นตัวบ่งชี้ถึงพ้ืนที่ที่ใช้งำน (Functional spaces) และกำรเปลี่ยนแปลงกำรเดินสำยไฟ (Rewiring) ท ำให้ไม่สำมำรถใช้กำรเปรียบเทียบแบบเทียบเท่ำ (like-for-like) ในกำรเปรียบเทียบผลประหยัดทั้งก่อนและหลังกำรปรับปรุงเพ่ือหำค่ำผลประหยัดของโครงกำรได้โดยตรง สิ่งที่ส ำคัญคือต้องสำมำรถระบุโคมไฟที่ติดตั้งในแต่ละวงจร (Circuit) ทั้งก่อนและหลังกำรปรับปรุงได้ จำกนั้นจึงท ำกำร

Page 25: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 21

ข้อพิจารณา ปัญหาที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา วงจร ที่เหลือจะใช้ติดตั้งระบบแสงสว่ำงระบบใหม่ในพื้นทีอ่ื่นๆ

1. ก ำหนดจุดตรวจวัดให้สำมำรถลดผลกระทบจำกกำรเปลี่ยนกำรเดินสำยไฟ (Rewiring) ได้ (เช่น ตรวจวัดเป็นห้อง หรือตรวจวัดตำมโคมไฟที่ก ำหนด แทนกำรตรวจวัดจำกวงจรไฟฟ้ำ) 2. น ำข้อมูลที่วัดได้หลังกำรปรับปรุง (Post-measurement data) มำใช้ในกำรวิเครำะห์เพ่ือปรับค่ำให้ทั้งก่อนและหลังกำรปรับปรุง ให้สำมำรถเปรียบเทียบกันได้ โดยทั่วไปจะท ำกำรปรับพ้ืนที่ที่ท ำกำรวัด (Measured areas) ให้สำมำรถท ำกำรเปรียบเทียบแบบเทียบเท่ำ (like-for-like) ได้ โดยสำมำรถท ำได้เฉพำะภำยในกรอบของโครงกำรเท่ำนั้น

ตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำ (Power Factor)

กำรเปลี่ยนแปลงตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำอำจส่งผลต่อควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำ (Demand) หรือค่ำใช้จ่ำยที่ประหยัดได้ (Cost savings) ยกตัวอย่ำงเช่น หลอดไส้ (Incandescent) มีตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำเ ท่ ำ กั บ 1 ห ล อ ด ฟ ลู อ อ เ ร ส เ ซ น ต์ (Fluorescent) มีตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำประมำณ 0.95 ในขณะที่หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์ (Compact fluorescent) อำจมีค่ำตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำเพียงแค่ 0.5 เป็นต้น

กำรปรับปรุงเทคโนโลยี (Technology retrofits) อำจส่งผลต่อตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำภำยในขอบเขต M&V ซึ่งอำจกระทบต่อค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำ (Demand) โดยวิธีกำรแก้ไขปัญหำคือ 1. ท ำกำรประมำณค่ำตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำก่อนและหลังกำรปรับปรุงโดยกำรตรวจวัดหรือตรวจสอบรำยละเอียดอุปกรณ์ (Equipment specifications) ในกรณีที่ค่ำกำรเปลี่ยนแปลงไม่มำกนัก สำมำรถละเลยกำรเปลี่ยนแปลงได้ แต่ในกรณีที่กำรเปลี่ยนแปลงมีน้ ำหนักเพียงพอไม่สำมำรถละเลยได ้ให้ท ำกำรในข้อที ่2 ต่อไป 2. พิจำรณำว่ำค่ำตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำจะส่งผลกระทบต่อค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำสูงสุด (Peak demand) ของอำคำรหรือสถำนที่นั้นหรือไม่ - ระบบแสงสว่ำงมีกำรท ำงำนในช่วงเวลำที่มีควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำสูงสุด (Peak demand times) หรือไม ่- ตัวปรับปรุงค่ำตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำ (Power factor correction unit) ที่มีอยู่สำมำรถแก้ไขปัญหำนี้ได้หรือไม ่3. ถ้ำค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำสูงสุด (Peak demand) ได้รับผลกระทบ ให้ใช้อัตรำค่ำควำมต้องกำร (Demand cost) ที่เหมำะสมในกำรค ำนวณผลกระทบทำงด้ำนกำรเงิน (Financial impact) ที่เกิดขึ้นต่อไป

Page 26: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 22

ข้อพิจารณา ปัญหาที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหา ระดับควำมส่องสว่ำง มำตรกำรปรับปรุงระบบแสงสว่ำงมีผลให้

เกิดกำรเปลี่ยนแปลงระดับควำมส่องสว่ำง ได้ เ ช่ น กำรติ ดตั้ งหลั ง คำ โปร่ ง แส ง (Skylights) กำรถอดหลอดไฟออก กำรเปลี่ยนโคมไฟ และกำรหรี่ไฟ เป็นต้น

ระดับควำมสว่ำงที่ได้หลังจำกกำรปรับปรุงจะต้องเพียงพอต่อควำมต้องกำรของลูกค้ำและได้ตำมมำตรฐำนที่ก ำหนดไว้ ในกรณีที่ระดับควำมสว่ำงได้รับผลกระทบจำกมำตรกำรประหยัดพลังงำน (ECMs) มีควำมจ ำเป็นที่จะต้องจัดสรรงบประมำณเพ่ือท ำกำรตรวจวัดและค ำนวณระดับควำมสว่ำงระดับหลังกำรปรับปรุงเพื่อน ำมำเทียบเคียงกับมำตรฐำนดังกล่ำว เมื่อเป็นไปตำมเง่ือนไขดังกล่ำว กำรเปลี่ยนแปลงปลีกย่อยอ่ืนๆในระบบสำมำรถละเลยได ้

กำรประมำณค่ำแบบขยำย (Extrapolation)

ค่ำผลประหยัดที่ค ำนวณจำกกำรตรวจวัดในช่วงระยะเวลำสั้นๆ มักจะถูกท ำกำรประมำณค่ำแบบขยำย (Extrapolation) เพ่ือหำค่ำผลประหยัดของทั้งโครงกำร (Annual project savings) ดังนี้น เป็นสิ่งส ำ คั ญ ที่ ค ว ร จ ะ เ พ่ิ ม ตั ว แ ป ร เ ห ล่ ำ นี้ประกอบกำรพิจำรณำ: - ผลของช่วงฤดูกำล เช่น สภำพอำกำศ, วันหยุดนักขัตฤกษ์ - ควำมเป็นไปได้ในกำรเปลี่ยนแปลงค่ำต่ ำงๆ ในอนำคตภำยในขอบเขตกำรตรวจวัด - พฤติกรรมของคน

เมื่อท ำกำรประมำณค่ำแบบขยำยระหว่ำงช่วงเวลำหลังกำรปรับปรุงเพ่ือหำค่ำผลประหยัดรำยปี กำรประเมินตัวแปรต่ำงๆที่ส่งผลกระทบเป็นสิ่งที่ส ำคัญ ถ้ำตัวแปรเหล่ำนั้นไม่ส่งผลกระทบมำกนัก สำมำรถละเลยได้ แต่ถ้ำตัวแปรมีควำมส ำคัญ ควรมีกำรระบุวิธีกำรพิจำรณำตัวแปรเหล่ำนี้ประกอบแผนกำรท ำ M&V ด้วย ยกตัวอย่ำงเช่น

ก. ท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดซ้ ำหลำยๆรอบ ในรอบปี ข. จัดเก็บข้อมูลที่จ ำเป็น (เช่น วันปิดท ำกำร/วันหยุดสุดสัปดำห์ของอำคำร เป็นต้น) ค. ใช้ข้อมูลโหลดที่วัดได้ ในช่วงระยะเวลำสั้นๆ (Short-term measurement of load)

ร่วมกับระบบควบคุมที่วัดในระยะเวลำที่ครอบคลุมวงจรกำรท ำงำนในระบบมำกกว่ำ (More periodic measurement of control)

ง. ท ำกำรตรวจวัดเป็นครั้งครำว เพ่ือพิสูจน์สมมุติฐำนที่ได้

Page 27: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 23

5 การเก็บข้อมูล พัฒนาแบบจ าลองและการวิเคราะห์ผล 5.1 การตรวจวัดเพื่อหาค่าฐานอ้างอิง (BASELINE)

5.1.1 พิจารณาข้อมูลที่มีอยู่ ถ้ำยังไม่มีข้อมูล ให้จัดท ำรำยชื่ออุปกรณ์ในระบบส ำหรับกำรท ำ Baseline โดยรำยละเอียดประกอบด้วย

1) จ ำนวนโคมไฟและหลอดไฟ 2) ชนิดของบัลลำสต์ในหลอดฟลูออเรสเซนต์ 3) ช่วงเวลำท ำงำนของระบบ 4) ระบบควบคุม เช่น เซ็นเซอร์ หรือสวิตซ์จับเวลำ 5) พ้ืนทีท่ี่ใช้วงจรร่วมกัน 6) จ ำนวนหลอดไฟที่ช ำรุดหรือถอดออก

5.1.2 แหล่งข้อมูลที่ใช้ อุปกรณ์ตรวจวัดและเทคนิคที่จ าเป็น แนวทำงกำรวัดและเก็บข้อมูลแสดงดังต่อไปนี้

1) ท ำกำรตรวจวัดฐำนอ้ำงอิง (Baseline) โดยอ้ำงอิงตำมแผน M&V ที่วำงไว้ 2) ตรวจสอบให้แน่ใจว่ำมีกำรเก็บข้อมูลที่จ ำเป็นในกำรใช้งำนไว้ ประกอบด้วย ต ำแหน่งที่ท ำกำรตรวจวัด

อุปกรณ์ (Placement of measuring equipment) และควรถ่ำยรูปประกอบให้มำกเพียงพอต่อกำรใช้งำน

3) ท ำกำรจัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่ใช้ในกำรค ำนวณ Baseline หรือใช้ในกำรปรับตั้ง ค่ำตัวแปรอิสระที่เกี่ยวข้อง (Independent variables)

4) ควรจะพิจำรณำระยะเวลำที่จ ำเป็นในกำรตรวจวัด (Measuring period demand) โดยควรจะมีกำรตรวจวัดให้ครอบคลุมช่วงเวลำที่จ ำเป็นหรือมีควำมส ำคัญทั้งหมด

5) ควรวัดเฉพำะโหลดแสงสว่ำง ส ำหรับวงจรที่มีโหลดอ่ืนๆ (Non-lighting loads) ควรหลีกเลี่ยง หรือควรมีกำรระบุให้เห็นชัดเจนในกำรวัด

Page 28: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คูม่ือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 24

โดยแหล่งข้อมูลดังต่อไปนี้ ใช้เพ่ือหำตัวแปรที่จ ำเป็นในกำรท ำ M&V

ตำรำงที่ 4: แหล่งข้อมูลในกำรท ำ M&V

ชนิดข้อมูล แหล่งข้อมูล ข้อเสนอแนะ ค่ำก ำลังไฟฟ้ำ

กำรตรวจวัดในช่วงระยะเวลำสั้นๆ โดยใช้มิ เตอร์ก ำลังไฟฟ้ำ หรือตรวจวัดแยกแต่ละองค์ประกอบไฟฟ้ำ (กระแสไฟฟ้ำ แรงดันไฟฟ้ำ และตัวประกอบก ำลังไฟฟ้ำ)

เหมำะส ำหรับรูปแบบ A ที่ค่ำก ำลังไฟฟ้ำเป็นตัวแปรหลัก ซ่ึงชั่วโมงกำรท ำงำนใช้กำรประมำณค่ำ โดยใช้อุปกรณ์ตรวจวัด (ที่ได้รับตรวจสอบกำรปรับตั้งค่ำแล้ว) วัดค่ำก ำลังไฟฟ้ำที่ใช้งำนจริงชั่วขณะ เพ่ือใช้ในกำรประเมินผลประหยัดที่ได้

รำยละเอียดอุปกรณ์จำกผู้ผลิต สำมำรถใช้ประมำณค่ำก ำลังไฟฟ้ำที่วัดได้ (ในกรณีที่ค่ำก ำลังไฟฟ้ำไม่ได้เป็นตัวแปรหลักไม่จ ำเป็นต้องท ำกำรวัด)

ค่ำกำรใช้พลังงำน (Energy usage)

บิลค่ำไฟฟ้ำ (Utility bills) โดยปกติใช้ข้อมูลประมำณ 1 - 3 เดือน สำมำรถใช้ส ำหรับรูปแบบ C และมีค่ำควำมถูกต้อง 100%

มิเตอร์ของหน่วยงำนด้ำนไฟฟ้ำ (Revenue meter) โดยปกติจะมีช่วงกำรเก็บข้อมูลทุกๆ 30 นำที ซึ่งสำมำรถน ำมำค ำนวณค่ำประหยัดพลังงำนส ำหรับ 1 วันหรือ 1 เดือน หรือมำกกว่ำนั้นได้อย่ำงแม่นย ำ

มิเตอร์ย่อยติดถำวร มีลักษณะคล้ำยกับ Revenue meter ข้อมูลจะมีคุณภำพสูง แต่จะไม่ใช่คุณภำพเดียวกับของหน่วยงำนที่จัดเก็บค่ำไฟ ควรค ำนึงถึงควำมผิดพลำดที่เกิดขึ้นจำกมิเตอร์ หรือจำกกำรจัดเก็บข้อมูลประกอบกำรใช้งำน

เครื่ องวัดและบันทึกข้อมูลชั่ วครำว (Temporary energy logger)

เครื่องวัดและบันทึกข้อมูลจะเชื่อมต่อกับวงจรไฟฟ้ำและมีคุณสมบัติคล้ำยกับมิเตอร์ชั่วครำว โดยคุณภำพของข้อมูลที่ได้ ขึ้นอยู่กับประสิทธิภำพ ขอบเขตกำรวัด และควำมแม่นย ำ ทั้ งของเครื่องวัดและหม้อแปลงกระแส (Current Transformer) ที่เกี่ยวข้อง โดยควรระวังในเรื่องของควำมแม่นย ำในกำรวัดและกำรก ำหนดขนำดของหม้อแปลงให้สำมำรถวัดโหลดได้

กำรอ่ำนมิเตอร์ด้วยตนเอง ควรระมัดระวังในเรื่องของวิธีกำรอ่ำนมิเตอร์อย่ำงถูกต้อง และใช้ตัวคูณ k-factor กับค่ำที่วัดได้ ในกรณีที่มีกำรก ำหนดไว้ที่เครื่องวัด ท ำกำรติดต่อผู้ให้บริกำรทำงด้ำนไฟฟ้ำเมือ่ไม่แน่ใจในวิธีกำรอ่ำนค่ำมิเตอร์

Page 29: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คูม่ือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 25

ชนิดข้อมูล แหล่งข้อมูล ข้อเสนอแนะ

ชั่วโมงกำรท ำงำน

กำรบันทึกข้อมูลในระบบควำมปลอดภัย กำรบันทึกช่วงเวลำต่ำงๆ อำจได้มำจำกข้อมูลระบบควำมปลอดภัย เช่น บันทึกเวลำกำรเข้ำ-ออกอำคำร (Timed-stamped records) ซึ่งอำจช่วยเหลือในด้ำนของข้อมูลกำรเข้ำใช้ระบบแสงสว่ำง (Occupancy) หรือรูปแบบกำรท ำงำนในระบบ (Operating patterns)

เครื่องบันทึกข้อมูลกำรเข้ำใช้ระบบแสงสว่ำงและข้อมูลของแสง

ตัวอุปกรณ์ควบคุมด้วยแบตเตอรี่ ใช้ในกำรจับเวลำที่ผู้ใช้อยู่ในพื้นที่ตรวจวัดและเวลำที่ใช้งำนระบบแสงสว่ำง โดยควรปรับควำมไวในกำรตรวจจับแสงให้เหมำะสม เพ่ือป้องกันข้อผิดพลำดที่อำจเกิดข้ึน

ตำรำงท ำงำนและกำรตั้งค่ำ ในระบบควบคุมแสงสว่ำง (เช่น ระบบกำรจัดกำรในอำคำร กำรตั้งค่ำเวลำกำรเข้ำ-ออกอำคำร)

ระบบควบคุมกำรท ำงำนในระบบแสงสว่ำงที่มีกำรท ำงำนตำมตำรำงเวลำหรือเป็นไปตำมตรรกะที่ก ำหนดไว้ ซ่ึงรวมถึงกำรแปลควำมหมำยในค ำสั่งของอุปกรณ์ควบคุม เพ่ือดึงข้อมูลกำรท ำงำนระบบแสงสว่ำงมำใช้งำน

กำรจับเวลำ ท ำกำรจับเวลำเป็นระยะๆ เพ่ือประมำณกำรใช้งำนระบบแสงสว่ำง หรือรูปแบบกำรควบคุมระบบแสงสว่ำง (Control patterns) วิธีนี้อำจเป็นกำรสิ้นเปลืองเวลำ แต่อำจใช้วิธีกำรจดบันทึกข้อมูลจำกพนักงำนที่เข้ำและออกเวร

ข้อมูลช่วงเวลำดวงอำทิตย์ขึ้น-ตก จำกกรมอุตุนิยมวิทยำ ข้อมูลช่วงเวลำดวงอำทิตย์ขึ้น-ตก จำกกรมอุตุนิยมวิทยำในอดีตที่ผ่ำนมำ สำมำรถน ำมำประมำณชั่วโมงกำรท ำงำน (Operating hours) ส ำหรับกำรควบคุมแสงสว่ำงโดยใช้โฟโต้อิเล็กทริกเซนเซอร์ (Photoelectric sensors)

มิเตอร์/เซนเซอร์วัดระดับควำมสว่ำง เซนเซอร์วัดระดับควำมสว่ำงอำจจะใช้ในกำรบันทึกระดับแสงสว่ำงจำกสภำพแวดล้อม (Ambient light levels) โดยใช้โฟโต้ อิเล็กทริกเซนเซอร์ (Photoelectric sensors) ประกอบกำรวัด

ตำรำงแสดงช่วงเวลำกำรท ำงำนในอำคำร ตำรำงแสดงช่วงเวลำกำรท ำงำนที่น ำมำเผยแพร่ เช่น ระยะเวลำกำรท ำงำนที่ถูกก ำหนด รวมถึงช่วงเวลำวันหยุดสุดสัปดำห์หรือช่วงเวลำหยุดงำน เป็นต้น

Page 30: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คูม่ือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 26

ชนิดข้อมูล แหล่งข้อมูล ข้อเสนอแนะ กำรระดมควำมคิดเห็นร่วมกับพนักงำนหรือผู้รับผิดชอบ พนักงำนหรือผู้รับผิดชอบอำจให้ข้อมูลชั่วโมงกำรท ำงำนที่มีควำมแม่นย ำมำกกว่ำ

ซ่ึงจะรวมถึงกำรเข้ำใช้ระบบแสงสว่ำงหลังชั่วโมงท ำงำนปกติ หรือตำรำงเวลำกำรท ำควำมสะอำดอำคำร

Page 31: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คูม่ือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 27

5.1.3 การตรวจวัด กำรตรวจวัดกำรใช้พลังงำนสำมำรถท ำได้หลำยรูปแบบ ดังแสดงในตำรำงต่อไปนี้

ตำรำงที่ 5: วิธีกำรตรวจวัดทำงไฟฟ้ำ

เทคนิค จุดตรวจวัด ค าแนะน า กำรตรวจวัดโดยตรงทั้งขอบเขตกำรตรวจวัด

มิเตอร์วัดค่ำพลังงำน หรือเครื่องวัดและเก็บข้อมูล (Data logger) ที่ครอบคลุมกำรใช้พลังงำนทั้งหมดภำยในขอบเขตกำรตรวจวัด

เป็นกำรตรวจวัดที่แสดงผลได้อย่ำงแม่นย ำ

กำรตรวจวัดโดยตรงในสวิตซ์หรือวงจรที่ชี้เฉพำะโดยใช้กำรวัดที่แตกต่ำงกันหลำกหลำย

มิเตอร์วัดค่ำพลังงำน หรือเครื่องวัดและเก็บข้อมูล (Data logger) ที่เชื่อมต่อเฉพำะกับวงจรหรือสวิตซ์ที่จ ำเป็น

วิธีกำรนี้อำจจ ำเป็นส ำหรับระบบใหญ่ หรือซับซ้อน โดยที่กำรเก็บข้อมูลของสวิตซ์/วงจรที่ถูกเลือกนั้น สำมำรถแยกพ้ืนที่กำรท ำงำนที่มีลักษณะแตกต่ำงกันออกจำกกัน และหำค่ำกำรประหยัดพลังงำนสำมำรถน ำมำค ำนวณทั้งแบบแยกกันหรือรวมกันในแต่ละพ้ืนที่ได้ โดยผลกำรประหยัดที่ มี ค ว ำ ม ส อด ค ล้ อ ง กั น อ ำ จ ใ ช้ ก ำ ร ป ร ะ ม ำ ณ ค่ ำ แ บ บ ข ย ำ ย (Extrapolation)

กำรตรวจวัด โดยตรงจำกกำร สุ่ มตัวอย่ำง (Sampling) จำกอุปกรณ์ที่ถูกเลือก

เครื่องวัดและเก็บข้อมูลชั่วครำว (ส ำหรับกำรใช้พลังงำน) หรือมิเตอร์วัดค่ำก ำลังไฟฟ้ำชั่วขณะ ส ำหรับอุปกรณ์ที่ถูกเลือก

กำรวัดค่ำกำรใช้ก ำลังไฟฟ้ำชั่วขณะของระบบรวมทั้งก่อนและหลังกำรปรับปรุงสำมำรถช่วยประหยัดค่ำใช้จ่ำยได้มำก ทั้งนี้ตัวอย่ำงที่เลือกจะต้องครอบคลุมทุกกรณีเพ่ือลดควำมไม่แน่นอนที่อำจเกิดขึ้น ซึ่งจ ำนวนของอุปกรณ์ทั้งก่อนและหลังกำรปรับปรุงเป็นสิ่งที่จ ำเป็นต้องรู้ เพ่ือให้กำรค ำนวณผลประหยัดเป็นไปได้อย่ำงถูกต้อง ข้อมูลดังกล่ำวอำจถูกน ำไปผนวกไว้กับกำรตรวจวัดอ่ืนๆ ภำยในขอบเขตโครงกำร เพ่ือให้แน่ใจว่ำไม่มีข้อมูลตกหล่นในระบบ

Page 32: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คูม่ือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 28

เทคนิค จุดตรวจวัด ค าแนะน า ในมำตรกำรเปลี่ยนหลอดไฟฟ้ำแสงสว่ำงให้วัดค่ำก ำลังไฟฟ้ำขั้นต่ ำที่ 11ชุด แยกตำมชนิดและกำรใช้งำน (ใช้แผนกำรสุ่มตำมแบบ IPMVP ที่ 80/20 ค่ำควำมเชื่อม่ัน/ค่ำควำมแม่นย ำ โดยให้ค่ำ cv เบื้องต้นที่ 0.5)

𝑛0 =𝑧2 × 𝑐𝑣2

𝑒2=

1.282 × 0.52

0.22= 10.24 = 11

โดย n0 คือ จ ำนวนที่สุ่มเบื้องต้น z คือ standard normal distribution value, 1.28 for 80% cv คือ coefficient of varience e คือ ระดับค่ำควำมแม่นย ำที่ต้องกำร หมำนเหตุ: โดยทั่วไปกำรวัดหลอดไฟฟ้ำแสงสว่ำงที่11ชุดจะสำมำรถให้ค่ำควำมเชื่อมั่น/ค่ำควำมแม่นย ำที่ 95/5 เนื่องจำกโดยส่วนใหญ่ค่ำก ำลังไฟฟ้ำที่สุ่มตรวจวัดได้จะมีค่ำ cv, coefficient of varience ที่ต่ ำกว่ำ 0.05

Page 33: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คูม่ือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 29

ส ำหรับระบบกำรท ำงำนท่ีมีรูปแบบกำรท ำงำนแตกต่ำงกัน กำรตรวจวัดก ำลังไฟฟ้ำในระยะเวลำสั้นๆ (Instantaneous load test) ควรจะเกิดข้ึน ณ ช่วงเวลำที่แต่ละระบบท ำงำนโดยแยกต่ำงหำกกันอย่ำงชัดเจน โดยสำมำรถน ำค่ำชั่วโมงกำรท ำงำน (Operating hours) ที่เหมำะสมมำประยุกต์ใช้ได้ โดยวิธีกำรวัดชั่วโมงกำรท ำงำนแสดงดังตำรำงต่อไปนี้

ตำรำงที่ 6: วิธีกำรตรวจวัดชั่วโมงกำรท ำงำน

เทคนิค จุดตรวจวัด ค าแนะน า กำรตรวจวัดโดยตรงโดยใช้มิเตอร์วัดกำรใช้งำน (Occupancy meter)

จุดตรวจวัดจะขึ้นอยู่กับ พ้ืนที่ ที่ ใช้ ในกำรตรวจวัดและฟังก์ชันกำรท ำงำนของมิเตอร์

สิ่งที่ส ำคัญ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่ำมิเตอร์มีกำรเก็บข้อมูลได้อย่ำงถูกต้องที่สุด โดยที่ต ำแหน่งและกำรตั้งค่ำของมิเตอร์ควรจะถูกพิจำรณำเพ่ือหลีกเลี่ยงควำมผิดพลำดในกำรอ่ำนค่ำที่อำจเกิดขึ้น

กำรตรวจวัดทำงอ้อมโดยใช้กำรวัดกำรใช้พลังงำนของโหลด (Indirect measurement using energy load profile data)

ข้อมูลได้รับมำจำกข้อมูลกำรตรวจวัดทำงไฟฟ้ำที่ผ่ำนมำ

กำรสังเกตกำรณ์กำรเปิด-ปิดไฟสำมำรถน ำมำสร้ำงตำรำงกำรท ำงำนเพ่ือหำค่ำชั่วโมงกำรท ำงำนได้

Page 34: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 30

5.2 การพัฒนาแบบจ าลองการใช้พลังงานและความไม่แน่นอน

โดยทั่วไปส ำหรับระบบแสงสว่ำง กำรใช้พลังงำน (Energy consumption, kWh) จะใช้สูตรในกำรค ำนวณดังต่อไปนี้

ค่ำกำรใช้พลังงำน (kWh) = จ ำนวนโคมไฟ x (ค่ำก ำลังไฟฟ้ำที่ใช้ (Watt) / โคม) x ชั่วโมงกำรท ำงำน

1000

ค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำสูงสุด (Electrical peak demand, kW)ในระบบแสงสว่ำงจะมีสูตรค ำนวณดังนี้

ควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำ (kW) = จ ำนวนโคมไฟ x (ค่ำก ำลังไฟฟ้ำที่ใช้ (Watt) / โคม)

1000

โดยที่ค่ำ "ก ำลังไฟฟ้ำที่ใช้/โคม" เป็นค่ำที่แสดงถึงโหลดรวมทั้งหมดที่ต่ออยู่ (Total connected load) ซึ่งประกอบด้วยหลอดไฟ บัลลำสต์ หม้อแปลง และส่วนประกอบอื่นๆ

แบบจ ำลองที่มีควำมซับซ้อนมำกขึ้น อำจถูกน ำมำพัฒนำโดยใช้กำรวิเครำะห์ กำรถดถอย (Regression analysis) ส ำหรับระบบแสงสว่ำง โดยทั่วไปแบบจ ำลองอำจเกิดข้ึนในกรณีดังต่อไปนี้

ชั่วโมงการท างานมีการผันแปรสูงและสำมำรถระบุตัวแปรอิสระต่ำงๆที่จ ำเป็นได้ เช่น สมุดบันทึกกำรใช้ห้องประชุม หรือข้อมูลบันทึกกำรเข้ำงำน เป็นต้น

ระดับความสว่างสามารถปรับได้โดยใช้ตัวหรี่ไฟ (Dimmer) ซึ่งสำมำรถควบคุมได้ทั้งระบบ Manual และระบบ Automated โดยในกรณีนี้ กำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดอำจจ ำเป็นต้องรวบรวมข้อมูลก ำลังไฟฟ้ำ (Power draw) ส ำหรับแต่ละระดับควำมสว่ำงหรือส ำหรับกำรตั้งค่ำกำรควบคุมแสงสว่ำงแต่ละรูปแบบ หลังจำกนั้นชั่วโมงกำรท ำงำนจะถูกก ำหนดส ำหรับแต่ละโหมดกำรท ำงำน

อำจมีกำรค ำนวณเรื่องของควำมไม่แน่นอน (Uncertainty) เพ่ิมเติมลงในแบบจ ำลองกำรใช้พลังงำนเนื่องจำกข้อจ ำกัดในควำมแม่นย ำของเครื่องตรวจวัด ควำมผิดพลำดในกำรสุ่มตัวอย่ำง (Sampling errors) และควำมผิดพลำดในแบบจ ำลองกำรถดถอย (Regression Analysis) โดยข้อผิดพลำดเหล่ำนี้จะบอกถึงปริมำณควำมไม่แน่นอนโดยรวมซึ่งรวมถึงระดับควำมแม่นย ำ (Precision) และควำมเชื่อมั่น (Confidence) ที่เกิดขึ้นด้วย

5.3 ด าเนินมาตรการส าหรับระบบแสงสว่าง

ระหว่ำงกำรด ำเนินมำตรกำรส ำหรับระบบแสงสว่ำงจะไม่สำมำรถเก็บข้อมูลที่ใช้ส ำหรับอ้ำงอิง (Baseline) หรือข้อมูลหลังกำรปรับปรุง (Retrofit data) ได้ โดยข้อมูลเหล่ำนั้นสำมำรถเริ่มต้นจัดเก็บได้เมื่อมีกำรด ำเนินมำตรกำรเรียบร้อยแล้ว เพ่ือเผื่อเวลำให้กับมำตรกำรต่ำงๆ ในกำรผนวกรวมเข้ำกับระบบกำรท ำงำนปกติได้

Page 35: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 31

5.4 ตรวจวัดข้อมูลหลังการปรับปรุง

ท ำกำรตรวจวัดหลังกำรปรับปรุงตำมที่ได้วำงแผนไว้โดยใช้เทคนิคตำมหัวข้อที่ 4.1 โดยพยำยำมท ำกำรตรวจวัดให้อยู่ในต ำแหน่งเดิมให้มำกท่ีสุด และให้แน่ใจว่ำข้อมูลที่เหมำะสมได้ถูกจัดเก็บไว้แล้ว

ท ำกำรเก็บรวบรวมข้อมูลที่จ ำเป็นในกำรค ำนวณกำรใช้พลังงำนหลังกำรปรับปรุงหรือกำรปรับเปลี่ยนค่ำที่ขึ้นกับตัวแปรอิสระ (Independent variables) โดยท ำกำรยืนยันควำมถูกต้องสมบูรณ์ของข้อมูลดังกล่ำว

ไม่ควรวัดผลกำรท ำงำนทันทีหลังกำรปรับปรุง แต่ควรจะเผื่อระยะเวลำในกำรผนวกรวมมำตรกำรเข้ำกับระบบ

5.5 การวิเคราะห์ผลประหยัดและความไม่แน่นอน

วิเครำะห์ข้อมูลและค ำนวณค่ำกำรประหยัดตำมแผนกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดที่ได้วำงไว้ โดยคิดผลกำรวัดหลังกำรปรับปรุง (Post retrofit) เปรียบเทียบค่ำฐำนอ้ำงอิง (Baseline) เพ่ือ

(1) ค ำนวณค่ำกำรประหยัดพลังงำน และปรับค่ำตัวแปรอิสระต่ำงๆ (2) ค ำนวณค่ำกำรประหยัดพลังงำนจำกผลกระทบที่เกี่ยวเนื่อง (ถ้ำรวมในขอบเขตกำรตรวจวัด) เช่น

ผลกระทบที่เกิดขึ้นจำกระบบปรับอำกำศ (3) ประมำณค่ำควำมไม่แน่นอนในกำรประหยัดพลังงำน

5.5.1 สูตรค านวณการประหยัดพลังงาน สูตรค ำนวณทั่วไปส ำหรับค่ำกำรประหยัดพลังงำนแสดงดังนี้

Energy savings = (Baseline Energy - Post retrofit energy) ± Adjustments

ในกรณีของระบบแสงสว่ำง ค่ำกำรประหยัดพลังงำนอำจค ำนวณได้ดังนี้

kWh savings = (kW base x OH base) - (kW post x OH post) ± Adjustments

โดยที่

kWh savings = ค่ำกำรประหยัดพลังงำนทั้งหมด (kWh)

kW base = ค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำ (kW) ของโคมไฟที่มีอยู่เดิม

kW post = ค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำ (kW) ของโคมไฟหลังกำรปรับปรุง

OH base = ชั่วโมงกำรท ำงำนในระยะเวลำที่ใช้อ้ำงอิง

OH post = ชั่วโมงกำรท ำงำนในระยะเวลำหลังกำรปรับปรุง

ที่มำ: San Diego Gas and Electric

Page 36: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 32

ส ำหรับระบบแสงสว่ำงที่มีกำรปรับค่ำเพียงเล็กน้อยและชั่วโมงกำรท ำงำนที่ค่อนข้ำงคงที่ สูตรค ำนวณอำจประยุกต์ให้ใช้ง่ำยขึ้นดังนี้

kWh savings = (kW base - kW post) x OH

ในขณะที่ระบบแสงสว่ำงที่มีกำรปรับค่ำเพียงเล็กน้อยและก ำลังไฟฟ้ำที่ใช้ที่ค่อนข้ำงคงที่ สูตรค ำนวณอำจเป็นดังนี้

kWh savings = (OH base - OH post) x kW

โดยทั่วไป ผลของมำตรกำรเหล่ำนี้จะลดควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำลง โดยวิธีกำรค ำนวณค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำ (Peak demand) ทีล่ดได้ แสดงดังนี้

kW savings = (Baseline peak demand - Post retrofit peak demand) ± Adjustments

ในกรณีของระบบแสงสว่ำง ค่ำควำมต้องกำรก ำลังไฟฟ้ำที่ประหยัดได้อำจค ำนวณได้ดังนี้

kW savings = kW base - kW post

ค่ำใช้จ่ำยที่ประหยัดได้ (Cost savings) สำมำรถค ำนวณได้โดยกำรคูณค่ำพลังงำนที่ประหยัดได้ (Energy savings) และควำมต้องกำรใช้พลังงำนที่ประหยัดได้ (Peak demand savings) ด้วยอัตรำค่ำใช้จ่ำย (Cost rates) ที่เหมำะสม แสดงดังนี้

Annual cost savings = Peak demand saving + Energy saving = ([kW savings] x [monthly demand cost rate] x 12 + ([kWh savings] x [energy cost rate])

5.5.2 การประมาณค่าแบบขยาย (Extrapolation) ในกรณีที่ ใช้วิธี กำรเก็บข้อมูลจำกตัวอย่ำง อุปกรณ์ (Sampling) ให้ท ำกำรประมำณค่ำแบบขยำย (Extrapolation) ให้ครอบคลุมขอบเขตกำรวัดทั้งหมด

ท ำกำรประมำณค่ำกำรประหยัดพลังงำนที่ค ำนวณได้ส ำหรับช่วงเวลำกำรวัด (Measurement period) ที่ต้องกำร

Page 37: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 33

5.5.3 ความไม่แน่นอน (Uncertainty) ท ำกำรประมำณค่ำควำมไม่แน่นอนของกำรประหยัด โดยใช้วิธีกำรตรวจวัด ต ำแหน่งที่ตรวจวัด (Plecement) ผลกระทบของตัวแปรต่ำงๆ (Impact of variables) ระยะในกำรตรวจวัด (Length of measurement) และอุปกรณ์ท่ีใช้งำน เป็นเกณฑ์ในกำรพิจำรณำ

6 เสร็จสิ้นการด าเนนิการ 6.1 การน าเสนอรายงาน

เตรียมกำรน ำเสนอผลลัพธ์ที่ได้ โดยตรวจสอบให้แน่ใจว่ำผลประหยัดที่มำจำกกำรประมำณค่ำแบบขยำย (Extraploation) ได้ถูกอ้ำงอิงว่ำมำจำกกำรประเมิน (Estimation) ที่คิดเป็นค่ำผลประหยัดที่เกิดขึ้นในช่วงที่ท ำกำรตรวจวัดเท่ำนั้น

6.2 ปิดโครงการพร้อมทั้งรักษาระดับการอนุรักษ์พลังงาน

อำจมีกำรทบทวนผลกำรด ำเนินงำนเป็นช่วงๆ หลังกำรปรับปรุง เพ่ือยืนยันว่ำผลประหยัดพลังงำนเป็นไปอย่ำงต่อเนื่อง โดยไม่จ ำเป็นต้องมีกำรตรวจวัดกำรใช้พลังงำน แต่อำจใช้วิธีกำรต่อไปนี้

กำรตรวจสอบพ้ืนที่ เพ่ือยืนยันว่ำข้อก ำหนดของอุปกรณ์ ยังคงเป็นไปตำมที่ก ำหนดไว้เมื่อตอนติดต้ัง

กำรทบทวนระดับควำมสว่ำงให้เป็นไปตำมเดิม

7 บรรณานุกรม Measurement and Verification Operational Guide: Lighting Applications, Office of Environment & Heritage, NSW Government

International Performance Measurement and Verification Protocol (IPMVP), Efficiency Valuation Organization (EVO)

San Diego Gas and Electric - Measurement and Verification

Standard Measurement and Verification Plan for Lighting Retrofit Projects for Buildings and Building Sites, U.S. Department of Energy

http://thaiesco.org, ESCO Information Center สถำบันพลังงำนเพ่ืออุตสำหกรรม สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย

Page 38: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 34

www.energymanagementworld.org

Page 39: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 35

ภาคผนวก ก

ตัวอย่างการวางต าแหน่งการตรวจวัด

Page 40: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 36

ตัวอย่างการวางต าแหน่งการตรวจวัด1

ในกำรท ำกำรตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัดให้ได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและแม่นย ำ จ ำเป็นต้องมีกำรก ำหนดต ำแหน่งในกำรตรวจวัดให้ชัดเจน เพ่ือให้สำมำรถพิจำรณำลักษณะกำรส่องสว่ำงได้อย่ำงครอบคลุมและสำมำรถเปรียบเทียบลักษณะกำรส่องสว่ำงทั้งก่อนและหลังกำรปรับปรุงได้อย่ำงถูกต้อง เช่น ในกกำรตรวจวัด นอกจำกกำรพิจำรณำควำมสว่ำง ณ จุดตรวจวัด ควรจะพิจำรณำควำมสว่ำงในพ้ืนที่โดยรอบด้วย

รูปที่ ค.1 แสดงตัวอย่ำงกำรวำงต ำแหน่งจุดตรวจวัดในระบบแสงสว่ำงในแนวระดับส ำหรับแต่ละพ้ืนที่ โดยที่จุดตรวจวัดต่ำงๆ มีควำมหมำยดังนี้

จุด A คือ จุดกึ่งกลำงใต้โคมไฟโดยตรง จุด B คือ จุดกึ่งกลำงระหว่ำงโคมในแนวนอน จุด C คือ จุดกึ่งกลำงระหว่ำงโคมในแนวตั้ง จุด D คือ จุดกึ่งกลำงระหว่ำงโคมไฟ 4 ดวง จุด E คือ จุดที่แสดงถึงต ำแหน่งพื้นท่ีใช้สอย (task location)

รปูที่ ค.1 กำรวำงต ำแหน่งกำรตรวจวัดระบบแสงสว่ำงภำยในอำคำร

1 Standard Measurement and Verification Plan for Lighting Retrofit Projects for Buildings and Building Sites, U.S. Department of Energy

Page 41: 20151028 M&V Guide for Lighting Applications

คู่มือการใช้งานการตรวจวดัและพิสูจนผ์ลประหยัดส าหรบัระบบแสงสว่าง โครงการส่งเสรมิการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารธรุกิจ ส่วนที่ 2 (ภารกิจที่ 2 และ 3)

บริษัท เอ็นจิเนียริ่ง โซลลูชั่น โพรวายเดอร์ จ ากัด หน้า 37

รูปที่ ค.2 แสดงตัวอย่ำงต ำแหน่งจุดตรวจวัดในแนวตั้ง โดยจะท ำกำรวำงเครื่องตรวจวัด ณ จุดที่ก ำหนดไว้ในแนวระดับดังที่ได้ระบุไว้ และจุดตรวจวัดในแนวตั้งจะระบุค่ำไว้ที่ 5 ฟุต หรือ 1.524 เมตร จำกพ้ืนห้อง

รูปที่ ค.2 ตัวอย่ำงต ำแหน่งจุดตรวจวัดแสดงในแนวตั้ง