102_resolution_house_of_cabi

26
http://www.thaigov.go.th ขาวที่ 01/01 วันที่ 4 มกราคม 2554 วันนี้ เมื่อเวลา 09.00 น. ณ หองประชุมชั้น 2 สํานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี นายอภิสิทธิเวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เปนประธานการ ประชุมคณะรัฐมนตรี จากนั้น รองศาสตราจารยปณิธาน วัฒนายากร รองเลขาธิการ นายกรัฐมนตรีฝายการเมือง ปฏิบัติหนาที่โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นาย ศุภชัย ใจสมุทร รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายวัชระ กรรณิการ รอง โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี และนายมารุต มัสยวาณิช รองโฆษกประจําสํานัก นายกรัฐมนตรี ไดแถลงขาวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญไดดังนีกฎหมาย 1. เรื่อง รางพระราชบัญญัติคุมครองสิทธิเสรีภาพและสงเสริมมาตรฐาน ผูประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน พ.ศ. .... 2. เรื่อง รางพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... เศรษฐกิจ 3. เรื่อง การเสนอพื้นที่กลุมปาแกงกระจาน เพื่อบรรจุไวในบัญชีรายชื่อ เบื้องตน (Tentative List) 4. เรื่อง ขออนุมัติงบประมาณรายจายประจําป งบกลาง (การจัดสรร งบประมาณสําหรับจายเปนเงิน เพิ่มการครองชีพชั่วคราวแก ครูโรงเรียนเอกชน โดยเบิกจายในงบเงินอุดหนุน ลักษณะเงิน อุดหนุนทั่วไป) 5. เรื่อง การปรับปรุงสวัสดิการเกี่ยวกับการเบิกจายคารักษาพยาบาล พนักงานสํานักงานธนานุเคราะห 6. เรื่อง ผลการประชุมคณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ครั้งที่ 4/2553 7. เรื่อง การขยายระยะเวลาการใชบังคับกฎกระทรวงกําหนดงาน และจํานวนเงินที่ลูกจางตองสงเขากอง ทุนเพื่อการสงคนตาง ดาวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑและวิธีการในการสงเงิน การออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทนหนังสือรับรองการสงเงิน พ.ศ. 2553 8. เรื่อง รายงานผลการกูเงิน Short term facility สําหรับรัฐวิสาหกิจ วงเงินไมเกิน 200,000 ลานบาท 9. เรื่อง รายงานผลการกูเงินเพื่อปรับโครงสรางหนี้พันธบัตรออมทรัพย ในปงบประมาณ พ.ศ. 2548 ครั้งที่ 2 ที่ครบกําหนดใน วันที่ 15 กันยายน 2553

Upload: kosol-r

Post on 26-Mar-2016

216 views

Category:

Documents


1 download

DESCRIPTION

http://www.foodfti.com/images/news/resolution_house_of_cabinet/2011/jan/102_resolution_house_of_cabinet_04-01-54.pdf

TRANSCRIPT

Page 1: 102_resolution_house_of_cabi

http://www.thaigov.go.th ขาวที่ 01/01 วันที่ 4 มกราคม 2554 วันน้ี เมื่อเวลา 09.00 น. ณ หองประชุมช้ัน 2 สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี นายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เปนประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี จากน้ัน รองศาสตราจารยปณิธาน วัฒนายากร รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝายการเมือง ปฏิบัติหนาที่โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายศุภชัย ใจสมุทร รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี นายวัชระ กรรณิการ รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี และนายมารุต มัสยวาณิช รองโฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ไดแถลงขาวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสําคัญไดดังน้ี กฎหมาย 1. เร่ือง รางพระราชบัญญัติคุมครองสิทธิเสรีภาพและสงเสริมมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพส่ือมวลชน พ.ศ. .... 2. เร่ือง รางพระราชกฤษฎกีาเงินสวสัดิการเกีย่วกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....

เศรษฐกิจ 3. เร่ือง การเสนอพ้ืนที่กลุมปาแกงกระจาน เพ่ือบรรจุไวในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) 4. เร่ือง ขออนุมัติงบประมาณรายจายประจําป งบกลาง (การจัดสรรงบประมาณสําหรับจายเปนเงิน เพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวแกครูโรงเรียนเอกชน โดยเบิกจายในงบเงินอุดหนุน ลกัษณะเงิน อุดหนุนทัว่ไป) 5. เร่ือง การปรับปรุงสวัสดิการเกี่ยวกับการเบิกจายคารักษาพยาบาลพนักงานสํานักงานธนานุเคราะห 6. เร่ือง ผลการประชุมคณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพ้ืนที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ครัง้ที่ 4/2553 7. เร่ือง การขยายระยะเวลาการใชบังคับกฎกระทรวงกําหนดงานและจํานวนเงินที่ลูกจางตองสงเขากอง ทุนเพ่ือการสงคนตางดาวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑและวิธีการในการสงเงิน การออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทนหนังสือรับรองการสงเงิน พ.ศ. 2553 8. เร่ือง รายงานผลการกูเงิน Short term facility สําหรบัรัฐวิสาหกิจ วงเงินไมเกิน 200,000 ลานบาท 9. เร่ือง รายงานผลการกูเงินเพ่ือปรับโครงสรางหน้ีพันธบัตรออมทรัพย ในปงบประมาณ พ.ศ. 2548 คร้ังที่ 2 ที่ครบกําหนดในวันที่ 15 กันยายน 2553

Page 2: 102_resolution_house_of_cabi

2 สังคม 10. เร่ือง โครงการปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนริภยั 100 เปอรเซ็นต 11. เร่ือง การใชเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความโปรงใสที่กาํหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูล ขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ของหนวยงานภาครัฐ 12. เร่ือง รายงานผลการดําเนินงานตามโครงการผลไมไทยคุณภาพสูการแขงขันกีฬาเอเช่ียนเกมส คร้ังที่ 16 ตางประเทศ 13. เร่ือง การดําเนินการตามขอมติคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติเกี่ยวกับการควํ่าบาตร สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก 14. เร่ือง การจัดทาํบันทกึความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการศกึษาระหวางไทยและอนิโดนีเซีย 15. เร่ือง การประชุม International Forum on Tiger Conservation

เรือ่งทีค่ณะรัฐมนตรรีบัทราบเพือ่เปนขอมลู 16. เร่ือง รายงานดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปและดัชนีราคาผูบริโภคพ้ืนฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 17. เรื่อง สรุปสถานการณภยัพิบัติดานการเกษตรป 2553 ครั้งที่ 46 18. เร่ือง รายงานสรุปสถานการณการทองเทีย่วในอทุยาน

แหงชาติชวงเทศกาลปใหม 19. เร่ือง สรุปสถานการณภยัหนาว และการใหความชวยเหลือ (ขอมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553) แตงตั้ง 20. เร่ือง แตงต้ัง 1. แตงต้ังขาราชการการเมือง

******************************** กรุณาตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีอยางเปนทางการกับสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

อีกครั้งหนึ่ง สํานักโฆษกขอเชิญติดตามการถายทอดสดการแถลงขาวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ทุกวันอังคาร หรือวันทีม่ีการประชุม ทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ทาง

F.M. 92.5 ในเขตกรุงเทพมหานคร สวนตางจังหวัด รับฟงไดทางสถานีวทิยุกระจายเสียงแหง

ประเทศไทยประจําจังหวัด และติดตามมติคณะรัฐมนตรีที่สําคัญไดทางรายการ “เจาะลึก ครม.”

ทางสถานีวิทยุโทรทัศนแหงประเทศไทย ทุกวันอังคารในเวลา 21.00-22.00 น.

Page 3: 102_resolution_house_of_cabi

3“หากทานใดประสงคจะขอรับขาวการประชุมคณะรัฐมนตรีสมัครไดทาง

www.thaigov.go.th

กฎหมาย1. เรื่อง รางพระราชบัญญัติคุมครองสิทธิเสรีภาพและสงเสริมมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพสื่อมวลชน พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการรางพระราชบัญญัติคุมครองสิทธิเสรีภาพและสงเสริมมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพ ส่ือมวลชน พ.ศ. .... ตามท่ีสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวสงใหคณะกรรมการประสานงานสภาผูแทนราษฎรพิจารณา กอนเสนอสภาผูแทนราษฎรพิจารณาตอไป 2. เรือ่ง รางพระราชกฤษฎกีาเงนิสวสัดกิารเกีย่วกบัการศกึษาของบตุร (ฉบบัที ่..) พ.ศ. .... คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการรางพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามท่ีกระทรวงการคลังเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แลวดําเนินการตอไปได ขอเท็จจริง กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอวา เน่ืองจากพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2548 มาตรา 8 ตรี ไดกําหนด

Page 4: 102_resolution_house_of_cabi

4ขอจํากัดสิทธิในกรณีผูมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรตามพระราชกฤษฎีกานี้ ผูใดมีคูสมรสที่มีสิทธิไดรับเงิน สวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรจากหนวยงานอื่นแลวผูน้ันไมมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรตามพระราชกฤษฎีกานี้ เวนแตเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรที่ไดรับจากหนวยงานอื่นน้ันตํ่ากวาเงิน สวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตรตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกานี้ ก็ใหมีสิทธิไดรับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรเฉพาะสวนที่ขาดอยู โดยที่ หนวยงานอ่ืนไดบัญญัติกฎหมายหรือกําหนดระเบียบ ขอบังคับไวเชนเดียวกับบทบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาน้ี จึงเกิดปญหาวาบุตรจะอาศัยสิทธิตามกฎหมายใด ซึ่งทําใหผูมีสิทธิและคูสมรสไมสามารถเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตรทั้งจากทางราชการและหนวยงานอื่นได สาระสําคัญของรางพระราชกฤษฎีกา กําหนดใหยกเลิกมาตรา 8 ตรี แหงพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเก่ียวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523 ซึ่งแกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2548 (รางมาตรา 3)

เศรษฐกจิ 3. เรือ่ง การเสนอพืน้ทีก่ลุมปาแกงกระจาน เพือ่บรรจไุวในบัญชรีายชือ่เบือ้งตน (Tentative List) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบในการเสนอพื้นที่กลุมปาแกงกระจาน ตอศูนยมรดกโลก กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส เพ่ือบรรจุไวในบัญชีรายชื่อเบื้องตน (Tentative List) ตอไป ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเสนอ ทั้งน้ี ในการดําเนินการเสนอพ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานเปนมรดกโลกใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมรับไปประสานงานกับกระทรวงมหาดไทย และหนวยงานอื่นที่เก่ียวของเพ่ือช้ีแจงทําความเขาใจและใหไดรับความรวมมือจากประชาชนและชุมชนในพ้ืนที่ดวย สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (ทส.) รายงานวา 1. การเสนอช่ือแหลงมรดกทางธรรมชาติพ้ืนที่กลุมปาแกงกระจาน เพ่ือบรรจุในบัญชีรายช่ือเบื้องตน (Tentative List) ของศูนยมรดกโลก กรุงปารีส สาธารณรัฐฝร่ังเศส เปนการดําเนินการตามพันธกรณีในอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก และตามแนวทางการอนุวัตตามอนุสัญญาคุมครองมรดกโลก (Operational Guidelines for the Implementation of the World Heritage Convention) ซ่ึงกอใหเกิดสิทธิและหนาที่ตามกฎหมายระหวางประเทศ 2. พ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานเปนแหลงมรดกทางธรรมชาติของไทยที่มีคุณคาความโดดเดนระดับสากลที่คณะกรรมการแหงชาติวาดวยอนุสัญญาคุมครองมรดกโลกพิจารณาแลวเห็นควรจัดทํารายละเอียดเพ่ือบรรจุไวในบัญชีรายช่ือเบื้องตน (Tentative List) ของศูนยมรดกโลก กรุงปารีส สาธารณรัฐฝร่ังเศส จึงมีมติใหกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช นําความเห็นของที่ประชุมไปพิจารณาจัดทําเอกสารการนําเสนอพ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานเปนมรดกโลก ซึ่งสาระสําคัญของการนําเสนอพ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานเปนมรดกโลก สรุปไดดังน้ี 2.1 ขอมูลทั่วไป ประกอบดวย ภาคีสมาชิกผูจัดเตรียมการเสนอช่ือ ที่อยู สถาบัน/หนวยงาน วันที่เสนอ ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โทรสาร โทรศัพท

Page 5: 102_resolution_house_of_cabi

5 2.2 ขอมูลแหลงมรดกทางธรรมชาติ ประกอบดวย ช่ือของพ้ืนที่ จังหวัด พิกัดทางภูมิศาสตร 2.3 ขอมูลคุณลักษณะ พ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานต้ังอยูทิศดานลาดฝงตะวันออกของเทือกเขาตะนาว ศรี ติดตอกับผืนปาประเทศเมียนมาร มีพ้ืนที่ทั้งหมดรวม 482,225 เฮกตาร ประกอบดวยพ้ืนที่ 5 แหง คือ (1) เขตรักษาพันธุสัตวปา แมนํ้าภาชี (2) อุทยานแหงชาติแกงกระจาน (3) อุทยานแหงชาติกุยบุรี (4) อุทยานแหงชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน (อยูระหวางการเตรียมการประกาศจัดต้ังเปนอุทยานแหงชาติ) และ (5) พ้ืนที่แนวเช่ือมตอระหวางอุทยานแหงชาติแกงกระจานและกุยบุรี ในเขตปาสงวนแหงชาติและเขตปลอดภัยทางทหาร พ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานจัดอยูในเขตนิเวศอินโดมาลายัน (Indo-Malayan Ecoregion) กลุม Tenasserim-South Thailand semi-evergreen rain forests ชนิดปาที่ปกคลุมพ้ืนที่มากที่สุดคือปาดิบแลง ปกคลุมพ้ืนที่ถึงรอยละ 59 เปนแหลงตนนํ้าของแมนํ้าสําคัญ ไดแก แมนํ้าเพชรบุรี แมนํ้าภาชี แมแมนํ้าปราณบุรี และแมนํ้ากุยบุรี 2.4 การมีคุณคาความโดดเดนเปนสากล : เปนศูนยรวมความหลากหลายทางชีวภาพที่สําคัญที่สุดแหงหน่ึงในเอเชีย โดยพบชนิดพันธุสัตวอยางนอย 720 ชนิด มีการกระจายพันธุจากถิ่นอาศัยทางใตข้ึนไปจนถึงบริเวณเหนือสุด เชน ไกฟาหนาเขียว นกบ้ังรอกปากแดง และนกปรอดสีนํ้าตาลตาแดง ปาดปาจุดขาว และคางดํา เปนตน นอกจากน้ัน ยัง เปนพ้ืนที่รอยตอระหวางเขตภูมิพฤกษ (Floristic-provinces) 4 ลักษณะเดน ไดแก (1) Indo-Burmese หรือ Himalayan (2) Indo-Malaysian (3) Annamatic และ (4) Andamanese พบการปรากฏของพืชเฉพาะถิ่น เชน จําปเพชร (Magnolia mediocris) และจําปดอย (M.gustavii) ซ่ึงราชอาณาจักรไทยพบเฉพาะในพ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานเทานั้น เปนแหลงสําคัญของสัตวปาที่ใกลสูญพันธุอยางยิ่ง (Critically Endangered) คือ จระเขนํ้าจืด และไดรับการประกาศเปนมรดกแหงอาเซียน เม่ือป พ.ศ. 2546 2.5 เกณฑที่เหมาะสม : พื้นที่กลุมปาแกงกระจานตรงกับเกณฑ ขอที่ 10 คือ “ถิ่นที่อยูอาศัยตาม ธรรมชาติที่มีความสําคัญตอการอนุรักษในถิ่นที่อยู (In-situ conservation) ของความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงถ่ินที่อยูของชนิดพันธุที่ถูกคุกคามที่มีความโดดเดนเปนสากลท้ังจากมุมมองของวิทยาศาสตรหรือการอนุรักษ” 2.6 การเปรียบเทียบกับพ้ืนที่อื่นที่มีลักษณะคลายคลึงกัน : พ้ืนที่กลุมปาแกงกระจานเปนเขตนิเวศ เดียวกันกับพ้ืนที่แหลงมรดกโลกทางธรรมชาติแหงแรกของไทย คือ เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขง แตต้ังอยูหางไปทางตอนใตของทุงใหญนเรศวร-หวยขาแขง ประมาณ 220 กิโลเมตร จึงทําใหมีความชุมช้ืนมากกวามีสัดสวนของปาดิบแลงมากกวา และมีชนิดพันธุในเขต Sundiac ที่หลากหลายกวา 4. เรื่อง ขออนุมัติงบประมาณรายจายประจําป งบกลาง (การจัดสรรงบประมาณสําหรับจายเปนเงินเพิ่มการครองชีพ ชั่วคราวแกครูโรงเรียนเอกชน โดยเบิกจายในงบเงินอุดหนุน ลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไป)

คณะรัฐมนตรีพิจารณาการจัดสรรงบประมาณสําหรับจายเปนเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวใหแกครูโรงเรียนเอกชน

โดยเบิกจายในงบเงินอุดหนุน ลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไป ดังน้ี

Page 6: 102_resolution_house_of_cabi

61.อนุมัติงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 งบกลาง

รายการเงินสํารองจายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือ จําเปน จํานวน 267,359,608 บาท สําหรับจายใหครูโรงเรียนเอกชน ต้ังแตเดือนพฤษภาคม – กันยายน 2553

2.อนุมัติในหลักการใหกระทรวงศึกษาธิการเบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2554 งบกลาง

รายการเงินสํารองจายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน ภายในวงเงิน 641,663,058 บาท โดยใหกระทรวงศึกษาธิการตรวจสอบจํานวนครูที่มีสิทธิใหถูกตองเปนปจจุบันกอนและขอรับการสนับสนุนงบประมาณ สําหรับโรงเรียนที่ไดตรวจสอบความถูกตองของบัญชี รายช่ือครูผูมีสิทธิแลว โดยใหขอตกลงในรายละเอียดกับสํานักงบประมาณเปนรายไตรมาสตอไปตามความเห็นของสํานักงบประมาณ

สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) รายงานวา 1. ศธ.ไดจัดประชุมพิจารณารายละเอียดที่เก่ียวของรวมกับผูแทนสํานัก

งบประมาณ (สงป.) และผูแทน กระทรวงการคลัง (กค.) จํานวน 3 ครั้ง ซึ่งการประชุมคร้ังที่ 3 เม่ือวันที่ 23 กันยายน 2553 ที่ประชุมมีมติเห็นชอบอัตราและหลักเกณฑการจายเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวครูโรงเรียนเอกชน โดยเห็นชอบใหรัฐจายเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวแกครูโรงเรียนเอกชนจํานวนก่ึงหนึ่งของเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวท่ีคํานวณไดจากหลักเกณฑการจายเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวของขาราชการ ซึ่งเปนไปตามความเห็นของ กค. ท่ีเสนอตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 27 เมษายน 2553 และเห็นชอบใหการจายเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวไมรวมถึงครูในโรงเรียนที่ไมรับเงินอุดหนุนรายบุคคล

2. ในการน้ี ศธ. ไดตรวจสอบและจัดทําขอมูลครูที่มีสิทธิรับเงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราวเปนรายบุคคลที่

เปนปจจุบัน (ขอมูลถึงเดือนสิงหาคม 2553) โดยหากพิจารณาตามอัตราและหลักเกณฑจะมีครูที่มีสิทธิ ณ เดือนพฤษภาคม 2553 จํานวน 74,434 คน ตองใชงบประมาณสําหรับจัดสรรใหครูเดือนละ 53,471,921.50 บาท ระยะเวลาต้ังแตเดือนพฤษภาคม – กันยายน 2553 รวม 5 เดือน เปนเงินทั้งสิ้น 267,359,608 บาท และระยะเวลาต้ังแตเดือนตุลาคม 2553 – กันยายน 2554 รวม 12 เดือน เปนเงินทั้งสิ้น 641,663,058 บาท 5. เรื่อง การปรับปรุงสวัสดิการเกี่ยวกับการเบิกจายคารักษาพยาบาลพนักงานสํานักงานธนานุเคราะห คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการปรับปรุงสวัสดิการเก่ียวกับการเบิกจายคารักษาพยาบาลพนักงานสํานักงาน ธนานุเคราะห ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยเสนอ ซึ่งคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ ในการประชุมคร้ังที่ 10/2553 เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2553 ไดมีมติเห็นชอบแลว ดังน้ี 1.ปรับปรุงคาหองและคาอาหารในการเขารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการและ สถานพยาบาลของเอกชนสําหรับพนักงาน จากเดิมเบิกได 800 บาท/วัน เปนเบิกได 1,000 บาท/วัน และบุคคลในครอบครัว จากเดิมเบิกได 600 บาท/วนั เปนเบิกได 800 บาท/วัน

Page 7: 102_resolution_house_of_cabi

7 2.ใหพนักงานมีสิทธิเบิกคารักษาพยาบาลประเภทผูปวยนอกในกรณีที่ไดรับอันตรายแกกายหรือเจ็บปวย ใหใชสถานพยาบาลเอกชนหรือคลินิกแพทย ไดคร้ังละไมเกิน 500 บาท รวมปละไมเกิน 3,600 บาท สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย (พม.) รายงานวา เน่ืองจากปจจุบันคารักษาพยาบาลโดย ทั่วไปมีราคาเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับคาครองชีพไดเพ่ิมขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจ เพื่อเปนการชวยเหลือและบรรเทาภาระคาใชจายเก่ียวกับคารักษาพยาบาล อีกทั้งเปนการเสริมสรางขวัญและกําลังใจใหแกพนักงานสํานักงานธนานุเคราะห ที่ประชุมคณะกรรมการอํานวยการสํานักงานธนานุเคราะห จึงไดมีมติใหปรับปรุงสวัสดิการเก่ียวกับการเบิกจายคารักษาพยาบาลของพนักงานสํานักงาน ธนานุเคราะหตามที่เสนอดังกลาวขางตน 6. เรือ่ง ผลการประชมุคณะกรรมการรฐัมนตรพีฒันาพืน้ทีพ่ิเศษ 5 จังหวดัชายแดนภาคใต ครัง้ที ่4/2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุมคณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพ้ืนที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต (รชต.) คร้ังที่ 4/2553 เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 ตามท่ีเลขาธิการคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการรัฐมนตรีพัฒนาพ้ืนที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต เสนอ โดยมีสาระสําคัญ ดังน้ี วันที่ 28 ธันวาคม 2553 คณะกรรมการ รชต. ไดพิจารณาผลการทบทวนโครงการภายใตแผนพัฒนาพ้ืนที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ประกอบดวย โครงการประชาสัมพันธการดําเนินงานแกไขปญหาในพ้ืนที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ของ กรมประชาสัมพันธ วงเงิน 45.00 ลานบาท และโครงการปรับปรุงหออภิบาลผูปวยหนัก โรงพยาบาลสงขลานครนิทร คณะแพทยศาสตร ของมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร วงเงิน 162.45 ลานบาท มตคิณะกรรมการ รชต. 1. อนุมัติการปรับแผนการดําเนินโครงการประชาสัมพันธการดําเนินงานแกไขปญหาในพ้ืนที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ของกรมประชาสัมพันธ เพ่ือไปฟนฟูปญหาน้าํทวมจํานวน 45.00 ลานบาท ตามทีก่รมประชาสัมพันธเสนอ 2. อนุมัติการปรับแผนการดําเนินโครงการปรบัปรุงหออภิบาลผูปวยหนัก โรงพยาบาลสงขลานครินทร คณะแพทยศาสตร ของมหาวทิยาลัยสงขลานครินทร เพ่ือไปใชในการแกไขปญหานํ้าทวมจํานวน 150.00 ลานบาท ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการเสนอ 7. เรือ่ง การขยายระยะเวลาการใชบังคับกฎกระทรวงกาํหนดงานและจาํนวนเงนิที่ลกูจางตองสงเขากองทนุเพือ่การสงคน ตางดาวกลบัออกไปนอกราชอาณาจกัร และหลกัเกณฑและวิธกีารในการสงเงิน การออกใบรบั หนงัสอืรบัรอง และใบแทนหนงัสอืรบัรองการสงเงนิ พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการรางกฎกระทรวงกําหนดงานและจํานวนเงินที่ลูกจางตองสงเขากองทุนเพ่ือการสงคนตางดาวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑและวิธีการในการสงเงิน การออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทนหนังสือ รับรองการสงเงิน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามท่ีกระทรวงแรงงานเสนอ และใหสงสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาตอไป

Page 8: 102_resolution_house_of_cabi

8 สาระสําคัญของเรื่อง การกําหนดใหหักเงินคาจางลูกจางสัญชาติพมา สัญชาติลาว และสัญชาติกัมพูชา ที่อยูระหวางการตออายุใบอนุญาตทํางาน ยอมกอใหเกิดภาระคาใชจายตอคาครองชีพของคนตางดาว เปนเหตุใหคนตางดาวเหลาน้ีไมยื่นตออายุใบอนุญาตทํางานและหลบหนีออกนอกระบบการผอนผัน นายจางขาดแคลนแรงงานและหันไปใชแรงงานตางดาวแบบผิดกฎหมายอีก ซึ่งจะทําใหภาครัฐไมมีขอมูลที่ถูกตองเก่ียวกับแรงงานตางดาวที่จะนํามาวางแผนบริหารจัดการแกไขปญหาแรงงานตางดาวได นอกจากน้ี การอยูอยางผิดกฎหมายของแรงงานตางดาวดังกลาวจะสงผลกระทบที่กอใหเกิดปญหาดานตาง ๆ เชน ปญหาดานสาธารณสุขเนื่องจากแรงงานตางดาวดังกลาวไมไดรับการตรวจสุขภาพจึงอาจกอใหเกิดโรคติดตอข้ึน ปญหาอาชญากรรมที่ไมสามารถติดตามตรวจสอบไดเมื่อมีการกระทําความผิด อีกทั้งยังสงผลกระทบตอตัวแรงงานตางดาวที่ไมไดรับสิทธิตาง ๆ ในการคุมครองดูแลตามกฎหมาย และที่สําคัญทําใหนโยบายการแกไขปญหาแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองไมเปนไปตามเปาหมายที่รัฐบาลกําหนด อันสงผลกระทบ โดยตรงตอระบบการบริหารจัดการแรงงานตางดาวที่กระทรวงแรงงานดําเนินการอยูทั้งระบบ ดังน้ัน เพ่ือใหการบริหารแรงงาน ตางดาวเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเปนการบรรเทาความเดือดรอนของคนตางดาวซึ่งเปนผูอยูใตบังคับของกระทรวงฉบับดังกลาว กระทรวงแรงงานจึงเห็นควรขยายระยะเวลาการใชบังคับกฎกระทรวงกําหนดงานและจํานวนเงินที่ลูกจางตองสงเขากองทุนเพ่ือการสงคนตางดาวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร และหลักเกณฑและวิธีการในการสงเงิน การออกใบรับ หนังสือรับรอง และใบแทนหนังสือรับรองการสงเงิน พ.ศ. 2553 ออกไปเปนวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2555 และในระหวางน้ีกระทรวงแรงงานจะเรงดําเนินการศึกษาวิจัยใหเกิดความชัดเจนเกี่ยวกับการกําหนดงาน อัตราการสงเงินเขากองทุน และสัญชาติลูกจางซึ่งไดรับใบอนุญาตตามมาตรา 9 มาตรา 11 มาตรา 13 (1) หรือ (2) และมาตรา 14 ท่ีจะตองสงเงินเขากองทุนเปนประกันคาใชจายในการสงลูกจางน้ันกลับออกไปนอกราชอาณาจักร รวมทั้งระดมความคิดเห็นจากผูอยูใตบังคับของกระทรวงและผูที่เก่ียวของในระบบการจัดเก็บเงินเขากองทุน เพ่ือใหระบบการจัดเก็บเงินคาจางของลูกจางตางดาวเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและไมเปนภาระตอลูกจางและนายจางตอไป 8. เรื่อง รายงานผลการกูเงิน Short term facility สําหรับรัฐวิสาหกิจ วงเงินไมเกิน 200,000 ลานบาท คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการกูเงิน Short term facility สําหรับรัฐวิสาหกิจ วงเงนิไมเกิน 200,000 ลานบาท ตามท่ีกระทรวงการคลังเสนอ สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงการคลัง (กค.) รายงานวา ไดดําเนินการจัดทําบันทึกขอตกลงวาดวยการจัดหา Short term facility สําหรับรัฐวิสาหกิจกับสถาบันการเงิน จํานวน 6 แหง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2552 วงเงินรวม 200,000 ลานบาท เพ่ือใหรัฐวิสาหกิจสามารถกูเงินระยะส้ันไดโดยตรงเพ่ือเปนการเพิ่มความคลองตัวในการบริหารและจัดการการกูเงินในประเทศของรัฐวิสาหกิจ โดยมีโครงสรางการดําเนินการ ตลอดจนวิธีการสอดคลองกับความตองการกูเงินของรัฐวิสาหกิจ รวมถึงสามารถใชเปนเคร่ืองมือในการ จัดสรรการกูเงินของภาครัฐไมใหเกิดภาวการณกระจุกตัวในชวงเวลาใดเวลาหน่ึงได ซึ่งที่ผานมา กค. ไดดําเนินการจัดสรรเงินกู Short term

Page 9: 102_resolution_house_of_cabi

9facility ไปแลวเปนจํานวน 1,000 ลานบาท ใหแกการรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) กค. คํ้าประกันเต็มจํานวน 9. เรื่อง รายงานผลการกู เงินเพื่อปรับโครงสรางหนี้พันธบัตรออมทรัพย ในปงบประมาณ พ.ศ. 2548 ครั้งที่ 2 ที่ครบกําหนดในวันที่ 15 กันยายน 2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการกูเงินเพ่ือปรับโครงสรางหนี้พันธบัตรออมทรัพย ในปงบประมาณ พ.ศ. 2548 ครั้งที่ 2 ที่ครบกําหนดในวันที่ 15 กันยายน 2553 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอ สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงการคลัง (กค.) รายงานวา 1. เม่ือวันที่ 15 กันยายน 2553 มีพันธบัตรออมทรัพย ในปงบประมาณ พ.ศ. 2548 คร้ังที่ 2 ครบกําหนดไถถอน จํานวน 5,000 ลานบาท ซึ่ง กค. ไดดําเนินการปรับโครงสรางหน้ี จํานวนดังกลาวทั้งจํานวน โดยกูเงินระยะยาวโดยต๋ัวสัญญาใชเงิน อายุ 6 ป จํานวน 5,000 ลานบาท จากธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) อัตราดอกเบี้ยเทากับอัตราดอกเบี้ย BIBOR ลบ Spread รอยละ 0.09 ตอป 2. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีไดดําเนินการประกาศ เร่ืองการกูเงินเพ่ือปรับโครงสรางหนี้โดยต๋ัวสัญญาใชเงิน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2553 คร้ังที่ 4 ลงวันที่ 13 กันยายน 2553 โดยไดนําลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและ งานทั่วไป เลม 127 ตอนพิเศษ 120 ง ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2553 แลว

สังคม

10. เรื่อง โครงการปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต คณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามมติที่ประชุมศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนน ครั้ งที่ 2 /2553 เ ม่ื อวั นที่ 27 ตุลา คม 2553 ตา มที่ รั ฐมนตรี ว าการกระทรวงมหาดไทย รองประธานกรรมการและรองผูอํานวยการศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนน คนที่หน่ึง ปฏิบัติหนาที่แทนประธานกรรมการและผูอํานวยการศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนน เสนอ ดังน้ี 1. ประกาศใหป 2554 เปนปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต 2. ใหหนวยงานภาคราชการ องคกรมหาชน รัฐวิสาหกิจและองคกรปกครองสวนทองถ่ินมีมาตรการเพื่อรณรงค สงเสริมการสวมหมวกนิรภัย ดังน้ี 2.1 ใหหนวยงานภาครัฐทุกแหงกําหนดใหบริเวณสถานที่ราชการเปนพ้ืนที่สวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต ในการขับข่ีรถจักรยานยนต 2.2 ใหหนวยงานภาครัฐ องคกรมหาชน รัฐวิสาหกิจ และองคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกแหง ถือปฏิบัติตามมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ 28 เมษายน 2546 ซึ่งกําหนดมาตรการปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบายความปลอดภัยทางถนนของ ขาราชการและเจาหนาที่ของรัฐไวแลว โดยใหทุกหนวยงานทั้งภาครัฐ องคกรมหาชน รัฐวิสาหกิจ และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน แจงกําชับใหขาราชการ พนักงาน เจาหนาที่ในสังกัดปฏิบัติตนเปนตัวอยางที่ดีในการปฏิบัติตามกฎหมาย นโยบายความปลอดภัยทางถนน เร่ืองการขับข่ีรถจักรยานยนตตองสวมหมวกนิรภัยทุกคร้ัง หากไมปฏิบัติตามถือวาฝาฝนกฎหมายและใหผูบังคับบัญชาพิจารณาดําเนินการลงโทษทางวินัยตอไป

Page 10: 102_resolution_house_of_cabi

10 2.3 เพ่ือเปนการลดความสูญเสียในกลุมที่มีความเส่ียงสูงตอการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากรถจักรยานยนต ไดแก กลุมเด็ก เยาวชน และกลุมผูใชแรงงาน จึงเห็นสมควรใหสวนราชการที่เกี่ยวของดําเนินการดังน้ี 2.3.1 ใหกระทรวงแรงงานขอความรวมมือจากสถานประกอบการในการสงเสริมใหพนักงานสวมหมวกนิรภัยทุกครั้งในการขับข่ีรถจักรยานยนต 2.3.2 ใหกระทรวงศึกษาธิการสงเสริมใหสถานศึกษาทั้งของภาครัฐและเอกชนจัดใหมีมาตรการในการสงเสริมการสวมหมวกนิรภัยของบุคลากรในสังกัด นักเรียน และนักศึกษา 2.3.3 ใหกระทรวงมหาดไทยแจงองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหความรวมมือในการรณรงค สงเสริมการสวมหมวกนิรภัยในสถานศึกษาในสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น 2 . 4 ใ ห ก ร ะ ท ร ว ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม โ ด ย สํ า นั ก ง า น ม า ตร ฐ า นผลิตภัณฑอุตสาหกรรมทบทวนมาตรฐานหมวกนิรภัยใหเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย 2.5 ใหกระทรวงสาธารณสุข จัดเก็บขอมูลสถิติการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนท่ีเกี่ยวของกับการ ไมสวมหมวกนิรภัย 2.6 ใหศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนนรวมกับหนวยงานทุกภาคสวนจัดใหมีกิจกรรมสนับสนุนโครงการปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต

สาระสําคัญของเรื่อง ตามที่คณะรัฐมนตรีไดมีมติ (29 มิถุนายน 2553) ศูนยอํานวยการความ

ปลอดภัยทางถนนไดจัดทําโครงการ “ปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต” เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานทศวรรษแหงความปลอดภัยทางถนนและแผนแมบทความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2552 – 2555 และเม่ือวันที่ 8 กันยายน 2553 ประธานกรรมการและผูอํานวยการศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนนไดอนุมัติโครงการปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต และแตงต้ังคณะทํางาน ตามคําส่ังศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนน ที่ 003/2553 ลงวันที่ 8 กันยายน 2553 โดยโครงการดังกลาวมี วัตถุประสงค เปาหมาย และแนวทางในการดําเนินการ ดังน้ี

1. วัตถุประสงค : 1.1 เพื่อผลักดันใหทุกภาคสวนใหความสําคัญในเรื่องการสวมหมวกนิรภัย 1.2 เพ่ือ

ขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการสงเสริมการสวมหมวกนิรภัยไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม 1.3 เพ่ือใหทุกภาคสวนมีการนําเสนอแผนงาน/โครงการสนับสนุนสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 1.4 เพ่ือกําหนดกลไกกํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานโครงการ สงเสริมการสวมหมวกนิรภัยในทุกระดับ

2. เปาหมาย ผูขับข่ีและผูโดยสารรถจักรยานยนตสวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง การดําเนินงาน ประกอบดวยกิจกรรมหลัก 5 กิจกรรม ดังน้ี กิจกรรมหลัก

ที่ 1 การผลักดันให

Page 11: 102_resolution_house_of_cabi

11รัฐบาลประกาศใหป 2554 เปนปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต กิจกรรมหลักที่ 2 การรณรงคประชาสัมพันธและการใหความรูดานการสวมหมวกนิรภัย กิจกรรมหลักที่ 3 การบังคับใชกฎหมาย กิจกรรมหลักที่ 4 การผลิตหมวกนิรภัยและการออกแบบหมวกนิรภัย กิจกรรมหลักที่ 5 การติดตามและประเมินผล

3. ศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนนในคราวประชุม ครั้งที่ 2/2553 เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2553

พิจารณาแลวเห็นวา โครงการปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต เปนโครงการที่มีความสําคัญตอการลดอัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนและเปนการสนับสนุนแนวทางการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ “ทศวรรษแหงความ ปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2554 – 2563” และเห็นชอบเปดตัวโครงการปแหงการรณรงคสงเสริมการสวมหมวกนิรภัย 100 เปอรเซ็นต ในชวงวันที่ 14 – 16 ธันวาคม 2553 ประกอบกับในป 2554 เปนปแหงการเริ่มตนทศวรรษแหงความปลอดภัยทางถนน พ.ศ. 2554 – 2563 ตามมติสมัชชาสหประชาชาติ และมติคณะรัฐมนตรี (29 มิถุนายน 2553) ศูนยอํานวยการความปลอดภัยทางถนน จึงจําเปนตองเรงกําหนดแนวทาง มาตรการในการรณรงคการสวมหมวกนิรภัยใหทุกภาคสวนที่เกี่ยวของนําไปดําเนินการใหเกิดประสิทธิผล 11. เรื่อง การใชเกณฑมาตรฐานและตัวชี้วัดความโปรงใสที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ของหนวยงานภาครัฐ คณะรัฐมนตรีรับทราบการใชเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความโปรงใสท่ีกําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูล ขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ของหนวยงานภาครัฐ ตามท่ีสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีเสนอ ดังนี้ 1. การดําเนินการตามโครงการจัดทําเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความโปรงใสที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 2. โครงการหนวยงานนํารองในการปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความโปรงใสที่กําหนดภายใต พระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 สาระสําคัญของเรื่อง สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (สปน.) รายงานวา 1. สปน. โดยสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการไดจัดทําโครงการจัดทํา เกณฑมาตรฐานและตัว ช้ีวัดความโปรงใสที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เพ่ือกําหนดมาตรฐานความโปรงใสและเกณฑช้ีวัดในการประเมินความโปรงใส และพัฒนารูปแบบและวิธีการในการประเมินผลการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ รวมถึงการสนับสนุนและผลักดันใหการปฏิบัติตามกฎหมายขอมูลขาวสารของหนวยงานภาครัฐเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ เพ่ือใหเปนไปตามมติคณะรัฐมนตรี (11 เมษายน 2549 และ 1 กรกฎาคม 2551) ที่ใหหนวยงานของรัฐถือปฏิบัติในการนําเร่ืองการจัดระบบและดําเนินการเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลขาวสารและการสนับสนุนสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนเปนหนึ่งในตัวช้ีวัด (KPI) ประสิทธิภาพของหนวยงานของรัฐทุกแหง โดยมอบหมายใหคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการและสํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการเปนองคกรหลักในการติดตามประเมินผลความโปรงใสของหนวยงานภาครัฐ ดังนั้น จึงเห็นสมควรนําเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความโปรงใสที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.

Page 12: 102_resolution_house_of_cabi

122540 ใหหนวยงานตาง ๆ นําไปทดลองปฏิบัติเพ่ือใหการบริหารจัดการขอมูลขาวสารและการเปดเผยขอมูลขาวสารเปนไปตามเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัด ดังกลาวอยางมีมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน รวมทั้งใหหนวยงานสามารถประเมินผลการดําเนินการตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดโดยอัตโนมัติของตนเองไดจากระบบประเมินผลตัวช้ีวัด (KPI Management) ที่สํานักงานคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการสรางข้ึน ซึ่งจะชวยสงเสริมใหประชาชนสามารถตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของหนวยงานภาครัฐไดอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน 2. ในป 2554 สปน. จะจัดใหมีโครงการหนวยงานนํารองในการปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความ โปรงใสที่กําหนดภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 กอน โดยจะเปดรับสมัครหนวยงานนํารอง และทํา การอบรมใหความรูอยางเขมขนเกี่ยวกับเกณฑมาตรฐานตัวช้ีวัดความโปรงใส และระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการขอมูลตามเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความโปรงใสภายใตพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ที่จัดทําข้ึน เพื่อใหหนวยงานนํารองมีความรูความเขาใจและสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง และสามารถรายงานผลการปฏิบัติตามเกณฑมาตรฐานผานระบบสารสนเทศฯ ได นอกจากน้ีระบบสารสนเทศดังกลาว จะชวยใหผูบังคับบัญชาสามารถตรวจสอบไดดวยตนเองวาหนวยงานของตนมีความพรอมในแตละดานเพียงใด รวมท้ังเปนการยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานดานการใหบริการแกประชาชนบนพ้ืนฐานของความเทาเทียมและมีมาตรฐานเปนหน่ึงเดียว อีกทั้งยังเปนการเตรียมความพรอมในการรองรับการตรวจประเมินของหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ในการตรวจประเมินตามกฎหมายอื่นดวย 3. เพ่ือกระตุนความสนใจและสรางความขวัญกําลังใจแกหนวยงานของรัฐในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 จึงไดพิจารณากําหนดใหหนวยงานที่สมัครใจเปนหนวยงานนํารองที่สามารถดําเนินการตามเกณฑมาตรฐานและตัวช้ีวัดความโปรงใสฯ ไดเกินระดับที่กําหนดในแตละเกณฑมาตรฐานครบ 1 ป เปนหนวยงานที่จะไดรับโลรางวัล โดยนายกรัฐมนตรีเปนผูมอบรางวัล 12. เรื่อง รายงานผลการดําเนินงานตามโครงการผลไมไทยคุณภาพสูการแขงขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส ครั้งที่ 16 คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการผลไมไทยคุณภาพสูการแขงขันกีฬาเอเช่ียนเกมส คร้ังที่ 16 ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) รายงานวา 1. นายกรัฐมนตรีไดเห็นชอบใหมีการนําผลไมไทยไปรวมสนับสนุนการจัดแขงขันกีฬาเอเช่ียนเกมส คร้ังที่ 16 ณ นครกวางโจว มณฑลกวางตุง สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหวางวันที่ 12 – 27 พฤศจิกายน 2553 พรอมทั้งมอบหมายให กษ. รับผิดชอบในการจัดหาผลไมคุณภาพดีไดมาตรฐานเพ่ือมอบใหสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่ง กษ.ไดมีคําส่ังที่ 175/2553 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2553 แตงต้ังคณะทํางานเตรียมการนําผลไมเขารวมในการแขงขันกีฬาเอเช่ียนเกมส คร้ังที่ 16 โดยมีนายธรรมรัต หวั่งหลี ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนประธานคณะทํางานและมีผูแทนหนวยงานที่เกี่ยวของของ กษ. กระทรวงพาณิชย

Page 13: 102_resolution_house_of_cabi

13กระทรวงการตางประเทศ กระทรวงการคลัง เขารวมพิจารณาวางแผนการดําเนินการนําผลไมไทยเขาไปเลี้ยงรับรองและมอบเปนของขวัญแกแขกบุคคลสําคัญที่เขารวมพิธีเปดการแขงขันกีฬาเอเช่ียนเกมส ทํากิจกรรมประชาสัมพันธผลไมไทยผลไม เอเช่ียนเกมส คร้ังที่ 16 รวมทั้งไดรวมกันกําหนดชนิดผลไมที่จะสงไปใชในกิจกรรมคร้ังนี้ รวม 10 ชนิด ปริมาณ 5 ตัน และสํานัก งบประมาณไดอนุมัติใหกรมสงเสริมการเกษตร กษ. เบิกจายงบประมาณรายจายประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2553 งบกลาง รายการเงินสํารองจายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจําเปน รวม 11,005,900 บาท เพ่ือเปนคาใชจายในการดําเนินงานโครงการฯ โดยความเห็นชอบของนายกรัฐมนตรี 2. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณพรอมคณะผูบริหารระดับสูงของ กษ. ไดเดินทางเยือนนครกวางโจว ระหวางวันที่ 9 – 13 พฤศจิกายน 2553 เพื่อเขารวมพิธีสงมอบผลไมและขาวหอมมะลิไทย รวมทั้งหารือความรวมมือดานการเกษตรกับนครกวางโจว เปนสักขีพยานการลงนามความรวมมือทางการคาผลไมและความรวมมือทางวิชาการดานการเกษตรระหวางจีนและไทย รวมท้ังสิ้น 8 ฉบับ ซึ่งเกี่ยวของกับ กษ.จํานวน 2 ฉบับ คือ 1) หนังสือแสดงเจตจํานงความรวมมือดานการวิจัยและฝก อบรมการเกษตรระหวางสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) กับศูนยสงเสริมเทคนิคดานการเกษตร นครกวางโจว 2) หนังสือแสดงเจตจํานงวาดวยการตลาดสําหรับผลไมไทย – นครกวางโจว ระหวางองคการตลาดเพ่ือเกษตรกร (อตก.) กับบริษัทคาสงผักและผลไมตลาดเจียงหนาน ประชาสัมพันธผลไมไทย ณ หางสรรพสินคาโลตัสซานหยวนหลี่ นครกวางโจว เยี่ยมชม หนวยงานตรวจสอบคุณภาพของการนําเขาผลไม (China Entry-Exit Inspection and Quarantine : CIQ) กวางตุง และเยี่ยม ชมตลาดเจียงหนาน ซึ่งเปนตลาดคาสงผักและผลไมที่ใหญที่สุดในภาคใตของจีน 3. กษ. เห็นวาการสงผลไมและขาวหอมมะลิไทยไปใหการรับรองบุคคลสําคัญที่เขารวมในพิธีเปดการแขงขันกีฬา เอเช่ียนเกมส ครั้งที่ 16 นี้ เปนสวนหน่ึงที่ทําใหผลไมและขาวหอมมะลิของไทยเปนที่รูจัก ยอมรับ และเกิดความตองการบริโภคมากข้ึน จึงเห็นควรให กษ. และหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินกิจกรรมสงเสริมการตลาดและการบริโภคผลไมไทยใหมากข้ึนเพ่ือใหเกิด การยอมรับทั้งดานคุณภาพมาตรฐานผลไม ประโยชนของสินคาเกษตรและอาหารไทยในโอกาสตอไป

ตางประเทศ13. เรื่อง การดําเนินการตามขอมติคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติเกี่ยวกับการคว่ําบาตร สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก คณะรัฐมนตรีเห็นชอบรับรองการดําเนินการตามขอมติคณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติ ที่ 1952 (ค.ศ. 2010) เก่ียวกับการคว่ําบาตรสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ขยายมาตรการคว่ําบาตรสาธารณรัฐประชาธิปไตย คองโก ออกไปจนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554) เพ่ือใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก กระทรวงกลาโหม กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย กระทรวงคมนาคม กระทรวงมหาดไทย สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ สํานักขาวกรองแหงชาติ สํานักงานตํารวจ แหงชาติ สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน และธนาคารแหงประเทศไทย ถือปฏิบัติตอไป โดยสอดคลองกับกฎหมายภายในของไทย รวมทั้งแจงผลการดําเนินงานในสวนที่เกี่ยวของใหกระทรวงการตางประเทศทราบเพ่ือประโยชนในการรายงานตอ สหประชาชาติตอไปดวย ตามที่กระทรวงการตางประเทศเสนอ

Page 14: 102_resolution_house_of_cabi

14 14. เรื่อง การจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการศึกษาระหวางไทยและอินโดนีเซีย คณะรัฐมนตรีเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงศึกษาธิการเสนอ ทั้ง 3 ขอ ดังน้ี 1. เห็นชอบการจัดทําบันทึกความเขาใจดานการศึกษาระหวางไทยและอินโดนีเซีย 2. อนุมัติใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการเปนผูลงนามฝายไทย 3. หากมีความจําเปนตองปรับปรุงแกไขรางบันทึกความเขาใจดังกลาวที่ไมใชสาระสําคัญหรือไมขัดตอผลประโยชนของไทย ใหกระทรวงศึกษาธิการดําเนินการได โดยไมตองนําเสนอคณะรัฐมนตรีเพ่ือพิจารณาอีก สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) รายงานวา 1. ในการประชุมคณะกรรมาธิการรวมไทย-อินโดนีเซีย คร้ังที่ 6 เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2550 ณ กรุงเทพมหานคร ที่ประชุมไดสนับสนุนใหมีการจัดทําบันทึกความเขาใจดานการศึกษา (MOU) ระหวางกัน เน่ืองจากกระทรวงศึกษาธิการไทยและกระทรวงศึกษาธิการแหงชาติอินโดนีเซียมีการดําเนินกิจกรรมความรวมมือทางดานการศึกษาระหวางกันในทุกระดับอยางตอเน่ือง 2. เม่ือป พ.ศ. 2552 สถานเอกอัครราชทูตอินโดนีเซียไดเสนอรางบันทึกความเขาใจฯ ใหกระทรวงศึกษาธิการไทยพิจารณา โดย ศธ.ไดขอความรวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของในสังกัดพิจารณาประเด็นความรวมมือดานการศึกษาระหวางประเทศไทย และอินโดนีเซีย และไดสงใหกระทรวงการตางประเทศ (กต.) พิจารณาในเดือนสิงหาคม 2552 ซึ่ง ศธ. ไดมีการปรับแกไขตาม ขอเสนอของ กต. และสงใหฝายอินโดนีเซียพิจารณาในเดือนกุมภาพันธ 2553 ท้ังน้ี ฝายอินโดนีเซียแจงใหความเห็นชอบในรางบันทึกความเขาใจฯ ในเดือนกันยายน 2553 โดยมีการปรับแกไขขอความบางสวนซึ่งไมใชสาระสําคัญ 3. ในป 2554 กระทรวงศึกษาธิการของบรูไน ดารุสซาลาม จะเปนเจาภาพจัดประชุมสภารัฐมนตรีศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต คร้ังที่ 46 ซึ่งจัดขึ้นคูขนานกับการประชุมรัฐมนตรีศึกษาของอาเซียน คร้ังที่ 6 ระหวางวันที่ 26 – 29 มกราคม 2554 ซึ่งเปนการประชุมระดับรัฐมนตรีศึกษาของกลุมประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต จํานวน 11 ประเทศ รวมท้ังรัฐมนตรีวา การกระทรวงศึกษาธิการจากประเทศอินโดนีเซียและไทยดวย จึงนับวาเปนโอกาสดีหากรัฐมนตรีจากทั้งสองประเทศจะไดมีการลงนามในบันทึกความเขาใจฯ ในชวงเวลาดังกลาว 4. รางบันทึกความเขาใจฯ มีวัตถุประสงคเพ่ือใชเปนกรอบในการดําเนินความรวมมือดานการศึกษาระหวางสองประเทศใหบังเกิดผลเปนรูปธรรมและเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาความรวมมือดานการศึกษาระหวางกัน โดยมีสาระสําคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเครือขายและการแลกเปลี่ยนระหวางผูบริหารการศึกษา เจาหนาที่ระดับสูง นักวิจัย ครู และนักเรียน รวมถึงการแลกเปลี่ยนส่ือการเรียนการสอน ส่ือส่ิงพิมพ ขอมูลขาวสาร การสอนภาษา การศึกษาดูงาน การฝกอบรม และการวิจัยในสาขาที่มีความสนใจรวมกัน 15. เรื่อง การประชุม International Forum on Tiger Conservation

Page 15: 102_resolution_house_of_cabi

15 คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการประชุม International Forum on Tiger Conservation และเห็นชอบมอบหมายใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเปนหนวยงานหลักในการดําเนินงานตามแผนฟนฟูประชากรเสือโครงของโลกและปฏิญญาเซนตปเตอรสเบิรกที่ประเทศไทยไดรวมใหการรับรองในการประชุมดังกลาว ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอมเสนอ สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (ทส.) รายงานวา 1. ตามมติคณะรัฐมนตรี (2 พฤศจิกายน 2553) นายกรัฐมนตรีไดมอบหมายใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเปนผูแทนเขารวมการประชุม International Forum on Tiger Conservation ระหวางวันที่ 21 – 24 พฤศจิกายน 2553 ณ นครเซนตป เตอรสเบิรก สหพันธรัฐรัสเซีย สรุปสาระสําคัญได ดังน้ี 1.1 รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดรับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีใหทําหนาที่หัวหนาคณะผูแทนไทยในการประชุมสุดยอดผูนําดานการอนุรักษเสือโครงในคร้ังน้ี โดยไดรับเกียรติอยางสูงจากสหพันธรัฐ รัสเซีย และธนาคารโลกใหเปนประธานกลาวนําสรุปความเปนมาและเชิญรัฐมนตรีส่ิงแวดลอมของประเทศตาง ๆ ขึ้นรายงานขอมูลของแตละประเทศ 1.2 รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไดแลกเปล่ียนประสบการณกับนายก รัฐมนตรีแหงสหพันธรัฐรัสเซีย ประเทศจีน ลาว เนปาล และบังคลาเทศ โดยเฉพาะเร่ืองแนวทางการสรางความรวมมือใหชุมชนรอบปามีสวนรวมอนุรักษเสือโครง ซึ่งนายกรัฐมนตรีแหงสหพันธรัฐรัสเซียไดเชิญชวนทุกประเทศรวมใหการรับรองปฏิญญาเซนตปเตอรสเบิรก ที่มีสาระสําคัญหลัก ดังน้ี 1.2.1 เพ่ือรวมมือกันเพ่ิมจํานวนประชากรเสือโครงในปาของประเทศที่เปนแหลงอาศัยของ เสือโครงเปนสองเทาภายในป 2565 (12 ปขางหนา) 1.2.2 เพ่ือปองกันและคุมครองพื้นที่อาศัยของเสือโครงและอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพอยางมีประสิทธิภาพ 1.2.3 เพ่ือรวมกันแกไขปญหาการลักลอบลาและคาสัตวปาที่ผิดกฎหมาย โดยสรางความเขมแข็งใหกับกฎหมายระดับชาติ ความรวมมือทวิภาคี และความรวมมือพหุภาคี เชน เครือขายการบังคับใชกฎหมายเพ่ือปองกันการลักลอบคาสัตวปาที่ผิดกฎหมายของอาเซียน (ASEAN-WEN) เครือขายการบังคับใชกฎหมายฯ ของเอเชียใต (SA-WEN) 1.2.4 การสรางความเขมแข็งในเวทีนานาชาติเกี่ยวกับความรวมมือ การประสานงานเพ่ืออนุรักษเสือโครง 1.3 สําหรับประเทศจีนที่ทุกประเทศจับตามอง เน่ืองจากเคยมีรายงานจากองคการปองกันการคาสัตวปาที่ผิดกฎหมายระหวางประเทศ หรือ TRAFFIC วาเปนแหลงคาเสือโครงที่ผิดกฎหมาย นายกรัฐมนตรีจีนไดใหคํามั่นวาจีนไดออกกฎหมายมาตั้งแตป 2536 หามใชช้ินสวนและอวัยวะจากเสือโครงโดยเด็ดขาดแลวและไดใหความสําคัญกับการปองกันการคา เสือโครงระหวางประเทศอยางจริงจังดวย 2. ประเทศไทยไดรับประโยชนจากการเขารวมประชุมครั้งน้ี ดังน้ี 2.1 ไดรับการช่ืนชมและยกยองในเวทีโลกวาเปนประเทศผูนําที่สําคัญในการอนุรักษเสือโครง

Page 16: 102_resolution_house_of_cabi

16 2.2 มีแผนการอนุรักษและฟนฟูประชากรเสือโครงที่มีมาตรฐานระดับสากลและแผนดังกลาวไดรับความเห็นชอบแลวตามมติคณะรัฐมนตรี (16 พฤศจิกายน 2553) 2.3 ไดแลกเปล่ียนและเผยแพรองคความรูดานการจัดการ การอนุรักษ และการวิจัยสัตวปาในการใช ขอมูลทางวิทยาศาสตรในการวางแผนการบริหารจัดการพ้ืนที่ปาอนุรักษและติดตามประชากรเสือโครง จนเปนที่ยอมรับในระดับสากลกับนักบริหารและนักอนุรักษระดับโลก 2.4 ได รับการสนับสนุนการดําเนินงานเพ่ืออนุ รักษและฟนฟูประชากรเสือโครง และสัตวปาที่สําคัญชนิดอื่น ๆ ตามแผนปฏิบัติการฯ ที่จัดทําไว จากธนาคารโลกและองคกรอนุรักษระดับโลก 2.5 เปนที่ต้ังของศูนยวิจัยและอนุรักษเสือโครงระดับภูมิภาคเพ่ือเปนศูนยกลางในการวิจัยฝกอบรมและเผยแพรองคความรูดานการอนุรักษและวิจัยดานเสือโครงในภูมิภาคเอเชีย 2.6 มีการหารือทวิภาคีระหวางประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบานในการสรางความรวมมือการอนุรักษ พ้ืนที่ปาระหวางประเทศตามแนวชายแดน โดยเฉพาะโครงการอนุรักษพ้ืนที่ปาบริเวณสามเหลี่ยมมรกต ชายแดนไทย ลาว และกัมพูชา ชายแดนไทย-เมียนมาร และชายแดนไทย-มาเลเซีย

เรอืงทคีณะรัฐมนตรรีบัทราบเพอืเปนขอมลู 16. เรื่อง รายงานดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปและดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 คณะรัฐมนตรีรับทราบขอมูลรายงานดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปและดัชนีราคาผูบริโภคพ้ืนฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 ของกระทรวงพาณิชย สรุปไดดังน้ี สาระสําคัญของเรื่อง กระทรวงพาณิชยรายงานดัชนีราคาผูบริโภคเดือนพฤศจิกายน2553 เทากับ 108.75 โดยเพ่ิมสูงข้ึนจากเดือน เดียวกันของปที่ผานมารอยละ 2.8 เปนการเพ่ิมข้ึนในอัตราที่เทากับเดือนตุลาคมที่ผานมา (ซึ่งสูงข้ึนรอยละ 2.8 ) ถือวาเปนการขยายตัวในระดับที่เหมาะสมกับเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของไทย โดยเฉล่ีย 11 เดือนแรกของป 2553 น้ี เพ่ิมสูงข้ึนรอยละ 3.4 ซ่ึงอยูในชวงที่กระทรวงพาณิชยคาดการณไวต้ังแตตนป (โดยคาดวาปน้ีจะเพ่ิมขึ้นระหวาง รอยละ 3.0 - 3.5 ) การฟนตัวทางเศรษฐกิจไทยจากภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าของโลกแสดงใหเห็นถึงความแข็งแกรงและโครงสรางพ้ืนฐานเศรษฐกิจที่ดีของไทย โดยอัตราการเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผูบริโภคเทียบกับเดือนเดียวกันของปที่ผานมาปรับตัวเขาสูภาวะที่มีเสถียรภาพเปนลําดับต้ังแตเดือน ต.ค. 2552 ระดับรอยละ 3.5 ในเดือนพ.ค. สําหรับเดือน มิ.ย., ก.ค., ส.ค., ก.ย.และ ต.ค. รอยละ 3.3, 3.4, 3.3, 3.0, 2.8 จนถึงเดือน พ.ย. รอยละ2.8 แสดงใหเห็นวาภาวะเศรษฐกิจของไทยเติบโตมีเสถียรภาพดีอยางตอเน่ือง แมวาชวงสัปดาหที่ 3 และ 4 ของเดือนตุลาคม เกิดอุทกภัยหลายแหงทั่วประเทศไทย แตเนื่องจากเศรษฐกิจของไทยมีเสถียรภาพดีและอยูในชวงฤดูกาลของ

Page 17: 102_resolution_house_of_cabi

17ผลผลิตสินคาการเกษตรโดยเฉพาะผักและผลไม ตลอดจนปญหาอุทกภัยเริ่มคลี่คลายลงในหลายพ้ืนที่ของประเทศ สงผลใหราคาสินคาโดยเฉพาะกลุมอาหารสดในเดือนพฤศจิกายนปรับตัวเขาสูภาวะปกติ ดัชนีราคาผูบริโภคในเดือนพฤศจิกายน 2553 เทียบกับเดือนตุลาคมที่ผานมาสูงข้ึนรอยละ 0.21 โดยมีผลกระทบมาจากขาวแปงและผลิตภัณฑจากแปง สูงข้ึน รอยละ 0.25 ผักสด ลดลงรอยละ 2.03 ผลไมสด ลดลงรอยละ 0.31 ปลาและสัตวนํ้า สูงข้ึนรอยละ 0.77 เคร่ืองประกอบอาหาร สูงข้ึนรอยละ 0.67 ขณะที่ของใชสวนบุคคล สูงข้ึนรอยละ 0.18 เนื้อสัตวตางๆ ลดลง รอยละ 0.09 ไขไก สูงข้ึนรอยละ 1.22 นอกจากน้ีราคานํ้ามันเชื้อเพลิง สูงข้ึนรอยละ 1.97 และสินคาในหมวดเคหสถาน ลดลง รอยละ 0.04 มาตรการชวยเหลือคาครองชีพของรัฐบาลไดแก คาไฟฟา รถเมลฟรี การตรึงราคาแกสหุงตม และการชวยเหลือ คาชุดนักเรียนและอุปกรณการเรียน และการดูแลราคาสินคาของกระทรวงพาณิชยอยางใกลชิด ยังคงมีสวนชวยทําใหคาครองชีพของประชาชนใหอยูในภาวะที่แสดงเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปและดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 โดยสรุปเปนดังน้ี จากการสํารวจราคาสินคาและบริการทั่วประเทศจํานวน 417 รายการครอบคลุมหมวดอาหารและเคร่ืองด่ืม เครื่องนุงหมและรองเทา เคหสถาน การตรวจรักษาและบริการสวนบุคคล พาหนะ การขนสงและการส่ือสาร การบันเทิง การอาน การศึกษาและการศาสนา ยาสูบและเครื่องด่ืม มีแอลกอฮอล เพ่ือนํามาคํานวณดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไป ไดผลดังน้ี 1. ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 ใน ป 2550 ดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศ เทากับ 100 และเดือนพฤศจิกายน 2553 เทากับ 108.75 (เดือน ตุลาคม 2553 คือ 108.52) 2. การเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผูบริโภคทั่วไปของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 เมื่อเทียบกับ 2.1 เดือนตุลาคม 2553 สูงขึ้นรอยละ 0.21 2.2 เดือนพฤศจิกายน 2552 สูงขึ้นรอยละ 2.8 2.3 เฉลี่ยชวงระยะ 11 เดือน ( มกราคม - พฤศจิกายน ) ป 2552 สูงข้ึนรอยละ 3.4 3. ดัชนีราคาผูบริโภคท่ัวไปของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 เทียบกับ เดือนตุลาคม 2553 สูงขึ้นรอยละ 0.21 (เดือนตุลาคม 2553 สูงข้ึนรอยละ 0.03 ) เปนภาวะที่ราคาสินคาและบริการปรับตัวสูงข้ึนเมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา โดยสินคาอาหารสดและสินคาอุปโภคที่ราคาปรับตัวสูงขึ้น ไดแก ขาวสารเหนียว ไข ไกสด ปลาและสัตวนํ้า เคร่ืองปรุงอาหาร เครื่องด่ืมไมมีแอลกอฮอล ผักแปรรูปอื่นๆ นํ้ามันเช้ือเพลิง วัสดุกอสราง ผาและเส้ือผา คาของใชสวนบุคคลและส่ิงที่เก่ียวกับทําความสะอาด ในขณะท่ีสินคาราคาปรับตัวลดลง ไดแก เน้ือสุกร ขาวสารเจา ผักสดและผลไมสด นมและผลิตภัณฑนม คาอุปกรณการบันเทิงและเครื่องบริภัณฑอื่น ๆ 3.1 ดัชนีหมวดอาหารและเครื่องด่ืม สูงขึ้นรอยละ 0.22 ( เดือนตุลาคม 2553 ลดลงรอยละ 0.39 ) สาเหตุสําคัญเปนผลจากราคาสินคาอาหารสดบางรายการมีระดับราคาสูงข้ึนจากเดือนกอนหนา ประกอบดวย ขาวสารเหนียว รอยละ 1.52 ไข รอยละ 1.16 ( ไขไก ไขเปด ไขเค็ม ) จากภาวะผลผลิตไขไกจากฟารมลดลงรอยละ10-20 เน่ืองจากแมไกใหไขนอยลงเปน ผลกระทบจากสภาวะอากาศที่

Page 18: 102_resolution_house_of_cabi

18เปลี่ยนแปลงฉับพลันซึ่งเกิดข้ึนในเขตภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไกสด รอยละ 0.04 ปลาและสัตวนํ้า รอยละ 0.77 ( ปลาชอน ปลาดุก ปลานิล ปลาทับทิม ) ผลกระทบตอเน่ืองจากอุทกภัยทําใหปลาและสัตวนํ้าที่จับไดลดลง เครื่องปรุงอาหาร รอยละ 1.46 ( นํ้ามันพืช มะพราวขูด น้ําปลา ซีอิ๊ว ซอสหอยนางรม ) เคร่ืองด่ืมไมมีแอลกอฮอล รอยละ 0.02 ( เคร่ืองด่ืมรสชอกโกแลต นํ้าผลไม กาแฟรอน/เย็น กาแฟและชาสําเร็จรูปพรอมด่ืม ) ผักแปรรูปอื่นๆ รอยละ 14.38 ( หัวหอมแดง กระเทียม ถั่วลิสง หนอไมตม ) สําหรับสินคาที่ราคาปรับตัวลดลง ไดแก เนื้อสุกร รอยละ 0.35 ขาวสารเจา รอยละ 0.06 เปนผลจากสตอกขาวในประเทศของรัฐบาลและพอคายังมีเหลืออยู ทําใหพอคาโรงสีชะลอราคารับซื้อ ผักสดและผลไมสด รอยละ 2.03,0.31ไดแก กะหล่ําปลี แตงกวา ผักกาดขาว ผักคะนา ผักชี มะนาว ตนหอม กลวยน้ําวา สมเขียวหวาน ฝร่ัง เปนผลจากภาวะอุทกภัยเร่ิมคลี่คลายลงในหลายพ้ืนที่ของประเทศ การขนสงผลผลิตสินคาเกษตรจากแหลงเพาะปลูกเริ่มดีข้ึนและเปนชวงฤดูกาลของผักและผลไมบางชนิด ทําใหผลผลิตเขาสูตลาดมากข้ึน นมและผลิตภัณฑนม รอยละ 0.09 ( นมเปร้ียว ครีมเทียม ) 3.2 ดัชนีหมวดอื่น ๆ ไมใชอาหารและเครื่องด่ืม สูงข้ึนรอยละ0.20 (เดือนตุลาคม 2553 สูงข้ึนรอยละ 0.28) สาเหตุสําคัญเปนผลกระทบจากราคาขายปลีกนํ้ามันเช้ือเพลิงในประเทศโดยเฉลี่ยปรับสูงข้ึนเม่ือเทียบกับเดือนกอนหนา รอยละ 1.97 วัสดุกอสราง รอยละ 0.40 ( ปูนซีเมนต อิฐ และคาแรงชางไฟฟา) จากภาวะอุทกภัยทําใหความตองการสินคาวัสดุกอสรางมีมากกวาภาวะปกติ ผาและเส้ือผา รอยละ 0.11 ( เส้ือบุรุษ เส้ือสตรี เส้ือเด็ก ) ของใชสวนบุคคลและส่ิงที่เกี่ยวกับทําความสะอาด (ยาสีฟน นํ้าหอม ผลิตภัณฑปองกันและบํารุงผิว กระดาษชําระ ผงซักฟอก นํ้ายาลางจาน น้ํายารีดผา ) สําหรับสินคาที่ราคาปรับตัวลดลง ไดแก คาอุปกรณการบันเทิง รอยละ 0.02 ( เคร่ืองรับโทรทัศน เคร่ืองเลนเทป-ดิสก เคร่ืองคอมพิวเตอร ) คาเชาบาน รอยละ 0.09 และเครื่องบริภัณฑอ่ืนๆ รอยละ 0.20 ( พัดลม เคร่ืองปรบัอากาศ เครื่องซักผา ) 4. ถาพิจารณาดัชนีเทียบกับเดือนพฤศจิกายน 2552 สูงข้ึนรอยละ 2.8 เปนการสูงขึ้นในอัตราที่สูงขึ้นตอเน่ืองเปนเดือนที่ 14 สาเหตุสําคัญมาจากการสูงข้ึนของดัชนีหมวดอาหารและเครื่องด่ืม สูงข้ึน รอยละ 5.8 ไดรับผลกระทบมาจาก ดัชนีหมวด ขาว แปงและผลิตภัณฑจากแปง รอยละ 10.9 เน้ือสัตว เปด ไก และสัตวนํ้า รอยละ 3.7 ไขและผลิตภัณฑนม รอยละ 3.4 ผักและผลไม รอยละ 24.5 เคร่ืองประกอบอาหาร รอยละ 4.0 เคร่ืองด่ืมไมมีแอลกอฮอล รอยละ 1.1 และอาหารสําเร็จรูป รอยละ 1.0 รวมทั้งผลกระทบจากดัชนีหมวดอ่ืนๆ ไมใชอาหารและเคร่ืองด่ืม ไดแก หมวดพาหนะการขนสง และการสื่อสาร รอยละ 0.9 (ยานพาหนะและนํ้ามันเช้ือเพลิง) หมวดเคหสถาน รอยละ 2.0 (คาเชาบาน คาน้ําประปา ) หมวดการตรวจรักษาและบริการ สวนบุคคล รอยละ 0.6 (คายาและเวชภัณฑ คาของใชสวนบุคคล ) หมวดการบันเทิง การอาน การศึกษาและการศาสนา รอยละ 0.5 (การบันเทิง การอานและการศึกษา)และหมวดเครื่องนุงหมและรองเทา รอยละ 0.1 ( ผาและเส้ือผา ) 5. ถาพิจารณาดัชนีเฉลี่ยเทียบกับชวงระยะ11 เดือน (มกราคม - พฤศจิกายน ) ป 2552 สูงข้ึนรอยละ 3.4 สาเหตุสําคัญมาจากการสูงข้ึนของราคานํ้ามันเช้ือเพลิง รอยละ 14.7 คาน้ําประปา รอยละ 44.8 คากระแสไฟฟา รอยละ1.2 ผลิตภัณฑยาสูบ รอยละ 7.8 เครื่องด่ืมมีแอลกอฮอล รอยละ 3.4 และคาเชาบาน รอยละ 0.3 และจากดัชนีหมวดอ่ืนๆ ไมใชอาหารและ เคร่ืองด่ืม สูงข้ึนรอยละ 2.1

Page 19: 102_resolution_house_of_cabi

19ในขณะที่ดัชนีหมวดอาหารและเครื่องด่ืม สูงข้ึนรอยละ 5.3 เปนผลจากการสูงข้ึนของ ขาว แปงและผลิตภัณฑจากแปง รอยละ 10.3 เน้ือสัตว เปดไกและสัตวนํ้า รอยละ 3.5 ไขและผลิตภัณฑนม รอยละ 3.2 ผักและผลไม รอยละ 24.4 เคร่ืองประกอบอาหาร รอยละ 2.7 เคร่ืองด่ืมไมมีแอลกอฮอล รอยละ 1.2 และอาหารสําเร็จรูป รอยละ 0.9 เปนสําคัญ 6. ดัชนีราคาผูบริโภคพ้ืนฐานของประเทศ ( คํานวณจากรายการสินคาและบริการ 300 รายการ) คือ ดัชนีราคา ผูบริโภคทั่วไปของประเทศที่หักรายการสินคากลุมอาหารสด และกลุมพลังงานจํานวน 117 รายการ คิดเปนประมาณรอยละ 24 ของสัดสวนคาใชจายทั้งหมด ดัชนีราคาผูบริโภคพ้ืนฐานของประเทศเดือนพฤศจิกายน 2553 เทากับ 103.85 เมื่อเทียบกับ 6.1 เดือนตุลาคม 2553 สูงขึ้นรอยละ 0.02 6.2 เดือนพฤศจิกายน 2552 สูงขึ้นรอยละ 1.1 6.3 เฉลี่ยชวงระยะ 11 เดือน ( มกราคม - พฤศจิกายน ) ป 2552 สูงข้ึนรอยละ 0.9 ดัชนีราคาผูบริโภคพื้นฐานของประเทศ เดือนพฤศจิกายน 2553 เมื่อเทียบกับเดือนตุลาคม 2553 สูงข้ึน รอยละ 0.02 ( เดือนตุลาคม 2553 สูงข้ึนรอยละ 0.11)โดยมีผลกระทบมาจากราคาสินคาหลายชนิดปรับตัวทั้งสูงขึ้นและลดลง สินคาที่มีราคาสูงข้ึน ไดแก วัสดุกอสราง ส่ิงที่เกี่ยวกับทําความสะอาดและคาของใชจายสวนบุคคล ขณะที่สินคาที่มีราคาลดลง ไดแก คาอุปกรณการบันเทิง คาเชาบานและเคร่ืองบริภัณฑอ่ืนๆ 17. เรื่อง สรุปสถานการณภัยพิบัติดานการเกษตรป 2553 ครั้งที่ 46 คณะรัฐมนตรีรับทราบขอมูลสรุปสถานการณภัยพิบัติดานการเกษตรป 2553 คร้ังที่ 46 ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553 ประกอบดวย สถานการณภัยพิบัติดานการเกษตร สถานการณน้ํา การชวยเหลือดานการเกษตร ความกาวหนาการชวยเหลือเกษตรกร ผูประสบอุทกภัยป 2553 กรณีพิเศษ และการชวยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ไดรับความเสียหายจากอุทกภัย วาตภัย และดินถลมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ สรุปไดดังน้ี สถานการณอุทกภัย ไมมี สถานการณน้ํา 1. สภาพน้ําในอางเก็บน้ํา สภาพนํ้าในอางเก็บนํ้าขนาดใหญและขนาดกลางท้ังประเทศ (30 ธันวาคม 2553) มีปริมาณนํ้าทั้งหมด 53,267 ลานลูกบาศกเมตร หรือคิดเปนรอยละ 72 ของความจุอางเก็บนํ้าขนาดใหญและขนาดกลางทั้งหมด (ปริมาณนํ้าใชการได 29,426 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนรอยละ 40 ของความจุอาง) นอยกวาป 2552 (55,016 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนรอยละ 75) จํานวน 1,749 ลานลูกบาศกเมตร ปริมาณนํ้าไหลลงอางฯ จํานวน 42.36 ลาน ลบ.ม. ปริมาณน้ําระบาย จํานวน 110.63 ลานลูกบาศกเมตร สภาพนํ้าในอางเก็บนํ้าขนาดใหญ (30 ธันวาคม 2553) มีปริมาณนํ้าทั้งหมด 49,932 ลานลูกบาศกเมตร หรือคิดเปนรอยละ 72 ของความจุอางเก็บนํ้าขนาดใหญทั้งหมด (ปริมาณนํ้าใชการได 26,409 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนรอยละ

Page 20: 102_resolution_house_of_cabi

2038 ของความจุอาง) นอยกวาป 2552 (52,043 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนรอยละ 75) จํานวน 2,111 ลานลูกบาศกเมตร ปริมาณน้ําไหลลงอางฯ จํานวน 41.73 ลาน ลบ.ม. ปริมาณนํ้าระบาย จํานวน 109.68 ลานลูกบาศกเมตร สภาพน้ําในอางเก็บน้ําเขื่อนภูมิพล สิริกิติ์ แควนอยฯ และปาสักชลสิทธิ์

อางเก็บน้ํา ปริมาตรน้ําในอางฯ

ปริมาตรน้ําใชการได

ปริมาณน้ําไหลลงอางฯ

ปริมาณน้ําระบาย

ปริมาตรน้ํา

% ความจุอางฯ

ปริมาตรน้ํา

% ค ว า ม จุอางฯ

วันนี้ เมื่อวาน วันนี้ เมื่อวาน

1.ภูมิพล 8,313 62 4,513 34 0.00 0.00 21.00 21.00 2.สิริกิต์ิ 7,483 79 4,633 49 7.64 5.20 29.98 29.98 ภู มิ พ ล +สิริกิติ์

15,796 70 9,146 40 7.64 5.20 50.98 50.98

3.แควนอยฯ 686 89 650 85 1.38 1.74 3.46 3.46 4 . ป า สั ก ช ลสิทธ์ิ

774 81 771 80 0.78 0.79 3.04 3.04

รวม 4 อางฯ 17,256 70 10,567 43 9.80 7.73 57.48 57.48 หนวย : ลานลูกบาศกเมตร อางเก็บน้ําที่อยูในเกณฑน้ํา นอยกวา รอยละ 30 ของความจุอางฯ จํานวน 1 อาง

หนวย : ลานลูกบาศกเมตร

อางเก็บน้ําที่อยูในเกณฑน้ํามากกวารอยละ 80 ของความจุอางฯ จํานวน 18 อาง ดังน้ี

อางเก็บน้ํา

ปริ มาตรน้ํ าในอางฯ

ปริ มาตรน้ํ า ใชการได

ปริมาณน้ํ าไหลลงอางฯ

ปริมาณน้ําระบาย

ปรมิาตรน้ํา

% ความจุอางฯ

ปรมิาตรน้ํา

% ความจุอางฯ

วันนี้ เมื่อวาน วันนี้ เมื่อวาน

1.ปราณบุรี 96 28 38 11 0.12 0.12 0.22 0.22

Page 21: 102_resolution_house_of_cabi

21 หนวย : ลานลูกบาศกเมตร 2 . สภาพน้ําทา ปริมบ า ง ร ะ กํ า จั ง ห วั ดพิ ษ ณุ โ ล ก สถานี Y.17

บานสามงาม อําเภอสามงาม จังหวัดพิจิตร แมนํ้านาน สถานี N.1 หนาสํานักงานปาไม อําเภอเมือง จังหวัดนาน แมนํ้าทาตะเภา สถานี X.158 ที่สะพานบานวังครก อําเภอทาแซะ จังหวัดชุมพร ปริมาณนํ้าอยูในเกณฑนํ้านอย ปริมาณน้ําในแมนํ้าเจาพระยาไหลผานจังหวัดนครสวรรค 389 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเม่ือวาน 24 ลบ.ม./วินาที) ปริมาณน้ําไหลผานเข่ือนเจาพระยา 53 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเม่ือวาน 8 ลบ.ม./วินาที) รับนํ้าเขาระบบสงน้ําทุงฝงตะวันออก 138 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเม่ือวาน 10 ลบ.ม./วินาที) และรับน้ําเขาระบบสงนํ้าทุงฝงตะวันตก 242 ลบ.ม./วินาที (ลดลงจากเมื่อวาน 2 ลบ.ม./วินาที) ปริมาณนํ้าไหลผานเข่ือนพระรามหก 5 ลบ.ม./วินาที (เทากับเมื่อวาน)

อางเก็บน้ํา

ปริ มาตรน้ํ าในอางฯ

ปริ มาตรน้ํ า ใชการได

ปริมาณน้ํ าไหลลงอางฯ

ปริมาณน้ําระบาย

ปรมิาตรน้ํา

% ความจุอางฯ

ปรมิาตรน้ํา

% ความจุอางฯ

วันนี้ เมื่อวาน วันนี้ เมื่อวาน

1.แมงัดฯ 269 102 247 93 0.14 0.25 0.42 0.37 2.กิ่วลม 101 90 97 87 0.63 0.62 1.60 1.60 3 . กิ่ ว ค อหมา

176 104 170 100 0.01 0.15 0.15 0.15

4.แควนอยฯ

686 89 650 85 1.38 1.74 3.46 3.46

5 . ห ว ยหลวง

109 92 104 88 0.00 0.00 0.57 0.57

6.จุฬาภรณ 151 92 107 65 0.00 0.20 0.96 0.98 7.อุบลรัตน 2,077 85 1,496 62 0.00 3.56 4.93 5.11 8.ลําปาว 1,175 82 1,090 76 2.33 0.64 4.43 4.84 9 . ลํ า ต ะคอง

337 107 310 99 0.00 0.60 0.95 0.85

10.ลําพระเพลิง

106 96 105 95 0.00 0.00 0.03 0.02

11.มูลบน 116 82 109 77 0.00 0.00 0.00 0.00 12.ลําแซะ 244 89 237 86 0.00 0.00 0.00 0.00 13.ปาสักฯ 774 81 771 80 0.78 0.79 3.04 3.04 1 4 . ก ร ะเสียว

248 103 208 87 0.24 0.24 0.06 0.06

15.ขุนดานฯ

199 89 194 87 0.06 0.07 1.20 0.92

16.คลองสียัด

355 85 325 77 0.00 0.00 1.70 1.70

1 7 . ห น อ งปลาไหล

152 93 136 84 0.00 0.01 0.39 0.36

18.ประแสร 231 93 211 85 0.01 0.01 0.13 0.13

Page 22: 102_resolution_house_of_cabi

22 การชวยเหลือดานการเกษตร การสนับสนุนเครื่องสูบน้ําเคลื่อนที่ จํานวน 221 เครื่อง ในพ้ืนที่ 19 จังหวัด ไดแก ภาคเหนือ 1 จังหวัด จํานวน 1 เคร่ือง ภาคกลาง 11 จังหวัด 101 เครื่อง ภาคใต 7 จังหวัด จํานวน 119 เคร่ือง เคร่ืองผลักดันนํ้า 5 จังหวัด จํานวน 69 เคร่ือง ความกาวหนาการชวยเหลือเกษตรกรผูประสบอุทกภัยป 2553 กรณีพิเศษ เปนเงิน ความเสียหาย ดานพืช จังหวัดประสบภัย จํานวน 74 จังหวัด พ้ืนที่ประสบภัย 11.26 ลานไร แบงเปน ขาว 8.36 ลานไร พืชไร 1.87 ลานไร พืชสวนและอื่นๆ 1.03 ลานไร สํารวจแลว พบวา เปนพ้ืนที่เสียหายสิ้นเชิง (ณ วันที่ 24 ธ.ค. 53) จํานวน 7.13 ลานไร แบงเปน ขาว 5.88 ลานไร พืชไร 0.89 ลานไร พืชสวนและอื่นๆ 0.36 ลานไร คิดเปนวงเงินชวยเหลือทั้งส้ิน 16,389.08 ลานบาท ดานประมง จังหวัดประสบภัย จํานวน 68 จังหวัด สํารวจแลว พบวาพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 179,161 ไร แบงเปน บอปลา 153,926 ไร บอกุง ปู หอย 25,235 ไร กระชัง/บอซีเมนต 466,885 ตารางเมตร เกษตรกร 124,299 ราย คิดเปนวงเงิน ชวยเหลือทั้งสิ้น 869.81 ลานบาท ดานปศุสัตว จังหวัดประสบภัย จํานวน 54 จังหวัด สํารวจแลว (ขอมูล ณ วันที่ 22 ธ.ค. 53) พบวา สัตวตายและสูญหาย จํานวน 1,911,166 ตัว แปลงหญา 9,003.25 ไร เกษตรกร 24,080 ราย คิดเปนวงเงินชวยเหลือ 111.30 ลานบาท การชวยเหลือ 1. เงินทดรองราชการแลว รวมทั้งสิ้น 192.52 ลานบาท แบงเปน 1.1 เงินองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 39.91 ลานบาท 1.2 เงินทดรองราชการในอํานาจนายอําเภอและผูวาราชการจังหวัด 119.58 ลานบาท 1.3 เงินทดรองราชการในอํานาจปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 33.03 ลานบาท 2. ขอเงินงบกลาง 2.1 กรมสงเสริมการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว สงเอกสารให ธกส. เพ่ือขออนุมัติเงินงวดแลวทั้งสิ้น 12,028.60 ลานบาท แบงเปน ดานพืช 11,807.25 ลานบาท ดานประมง 209.07 ลานบาท ดานปศุสัตว 12.28 ลานบาท 2.2 ธกส. ขออนุมัติเงินงวดจากสํานักงบประมาณ ครั้งที่ 1 จํานวน 2,500 ลานบาท 2.3 ธกส. โอนเงินให ธกส. สาขา เพื่อโอนเขาบัญชีเกษตรกร คร้ังที่ 1 จํานวน 2,088.70 ลานบาท แบงเปน ดานพืช วงเงิน 2,073.38 ลานบาท เกษตรกร 89,901 ราย ในพ้ืนที่ 20 จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงราย ลําพูน พิษณุโลก ตาก กําแพงเพชร นาน สุโขทัย เพชรบูรณ อุทัยธานี ขอนแกน มุกดาหาร นครพนม อํานาจเจริญ อุบลราชธานี อางทอง ปทุมธานี ชัยนาท ฉะชิงเทรา นครนายก จันทบุรี ดานประมง วงเงิน 15.32 ลานบาท เกษตรกร 5,824 ราย ในพ้ืนที่ 5 จังหวัด ไดแก จังหวัดมุกดาหาร หนองบัวลําภู อุดรธานี ชัยนาท ฉะเชิงเทรา

Page 23: 102_resolution_house_of_cabi

23 ความกาวหนาการชวยเหลือเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ไดรับความเสียหายจากอุทกภัย วาตภัย และดินถลม สํารวจความเสียหายแลว( ณ 30 ธ.ค.53) พบสวนยางพาราที่เสียสภาพสวนทั้งสิ้น 26,087.25 ไร เกษตรกร 10,924 ราย คิดเปนเงินชวยเหลือทั้งส้ิน จํานวน 191.38 ลานบาท แบงเปน ชวยเหลืออัตราไรละ 6,007 บาท เปนเงิน 156.71 ลานบาท และคาปลูกซอมตนยางและค้ํายันตนยาง จํานวน 134,594 ตน เปนเงิน 34.67 ลานบาท อยูระหวางสงเอกสารให ธกส. เพ่ือขออนุมัติเงินงวดจากสํานักงบประมาณตอไป 18. เรื่อง รายงานสรุปสถานการณการทองเที่ยวในอุทยานแหงชาติชวงเทศกาลปใหม คณะรัฐมนตรีรับทราบขอมูลรายงานสรุปสถานการณการทองเที่ยวใน

อุทยานแหงชาติชวงเทศกาลปใหม ของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สรุปไดดังนี้ 1. สถานการณภาพรวม อุทยานแหงชาติยอดนิยม เชน เขาใหญ ดอนอินทนนท ฯลฯ มีนักทองเที่ยว

จํานวนมาก บานพักและลานกางเต็นท หมดทุกหลัง จํานวนนักทองเท่ียวสวนใหญอยูในความสามารถของการรองรับของพ้ืนที่

เมื่อส้ินสุดเทศกาลปใหมนักทองเที่ยวทั้งหมดได เดินทางกลับภูมิลํานาอยางปลอดภัย สําหรับสถิตินักทองเที่ยว สามารถนําเสนอไดบาง

แหง ดังตอไปน้ี อุทยานแหงชาติแกงกะจาน จํานวน 7,546 คน อุทยานแหงชาติเขาใหญ จํานวน 42,066 คน อุทยานแหงชาติภู

กระดึง จํานวน 6,646 คน อุทยานแหงชาติ เอราวัณ จํานวน 6,684 คน อุทยานแหงชาติหมูเกาะสุรินทร จํานวน 442 คน

2. การรักษาความปลอดภัย มีการจัดต้ังหนวยกูภยัอทุยาน (Park Rescue) ในทกุอทุยานแหงชาติ เหตุการณ

ภาพรวมปกติ แตมีเพียง 2 อุทยานแหงชาติ ที่มีนักทองเที่ยวเสียชีวิตจากการเลนนํ้าตก จํานวน 2 ราย คือ อุทยานแหงชาตินํ้าตกเจ็ดสาวนอย จังหวัดสระบุรี จํานวน 1 ราย และอุทยานแหงชาติผาแตม จังหวัดอุบลราชธานี จํานวน 1 ราย ซ่ึงเจาหนาที่อุทยานแหงชาติไดใหการชวยเหลือนําผูบาดเจ็บสงโรงพยาบาลในพ้ืนที่ แตไมสามารถชวยเหลือชีวิตไดทัน กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดกําชับใหอุทยานแหงชาติทุกแหงมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยนักทองเที่ยวอยางเขมขนมากข้ึนแลว 3. การหามมิใหนําเขาไปหรือจําหนายเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลทุกประเภทในอุทยานแหงชาติ 3.1 สถานีโทรทัศน ชอง 3 รายการเร่ืองเลา เสาร – อาทิตย ประจําวันที่ 1 มกราคม 2554 ไดมีการสํารวจความคิดเห็นประชาชนเกี่ยวกับการหามนําเบียร – เหลา เขาอุทยานแหงชาติ พบวามีคนเห็นดวยกับการหามนําเบียร – เหลา เขาอุทยานแหงชาติ รอยละ 82.61 3.2 ทุกอุทยานแหงชาติ สามารถประชาสัมพันธและควบคุมการหามมิใหนําเขาไปหรือจําหนายเครื่องด่ืมแอลกอฮอลทุกประเภทในอุทยานแหงชาติไดดีในทุกอุทยานแหงชาติ แตมีนักทองเท่ียวบางกลุมยังไมทราบขอมูลมากอน จึงไดฝากเครื่องด่ืมแอลกอฮอลบริเวณดานตรวจ ฯ ในหลายอุทยานแหงชาติ เชน อุทยานแหงชาติเขาใหญ จํานวน 10 ราย อุทยานแหงชาติเขาแหลมหญา – หมูเกาะเสม็ด

Page 24: 102_resolution_house_of_cabi

24จํานวน 17 ราย อุทยานแหงชาติเอราวัณ จํานวน 20 ราย และอุทยานแหงชาติภูกระดึง จํานวน 12 ราย 3.3 มีเหตุการณสําคัญเก่ียวกับการด่ืมแอลกอฮอล คือ ที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ บริเวณดานตรวจ กม. 23 ถนนธนะรัชต เวลา 22.00 น. มีนักทองเที่ยวชาย จํานวน 1 ราย ที่ด่ืมสุราจากสถานที่ภายนอกเขตอุทยานแหงชาติเขาใหญ และพยายามจะขับรถตูโดยสารผานดานตรวจฯ เพ่ือที่จะเขาไปรบกวนนักทองเที่ยวในอุทยานแหงชาติเขาใหญ จึงไดควบคุมตัวผูกระทําผิดสงสถานีจํานวนหมูสี อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา ในเบ้ืองตนพนักงานสอบสวนไดต้ังขอหาเมาสุราขับรถยนต 4. การใหความรูดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 4.1 อุทยานแหงชาติทุกแหง มีเจาหนาที่ใหความรูดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะอุทยานแหงชาติยอดนิยมที่มีนักทองเที่ยวจํานวนมาก เชน อุทยานแหงชาติเขาใหญมีการบรรยายใหความรูแกนักทองเที่ยว ดวยการฉาย วิ ดีทัศน บริ เวณศูนยบริการนักทองเที่ยวเ พ่ือปลูกจิตสํานึกดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การใหความรูเหลานี้เปนบทบาทหน่ึงของอุทยานแหงชาติที่จะชวยสรางจิตสํานึกการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 4.2 โครงการอาสาสมัครอุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปาและพันธุพืชมีโครงการอาสาสมัครชวยเหลืองานอุทยานแหงชาติ โดยมีอาสาสมัครจากหลายองคกรมารวมงาน ไดแก สมาคมอุทยานแหงชาติ กลุมเยาวชนตนกลา กลุมรักษเขาใหญ กลุมใบไม ชมรมคนรักษสัตวปา กลุมเยาวชน จากจังหวัดปราจีนบุรี ฯลฯ อามาสมัครเหลาน้ีไดมาสนับสนุนและชวยเหลือการรณรงค หามมิใหนําเขาไปหรือจําหนายเครื่องด่ืมแอลกอฮอล ไมขับรถเร็ว ไมทิ้งขยะ และไมใหอาหารสัตวปา โดยเริ่มตนดําเนินการที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ และจะขยายผลไปอุทยานแหงชาติที่สําคัญในอนาคต 19. เรือ่ง สรปุสถานการณภยัหนาว และการใหความชวยเหลอื (ขอมลู ณ วนัที ่30 ธนัวาคม 2553) คณะรัฐมนตรีรับทราบขอมลูสรุปสถานการณภัยหนาว และการใหความชวยเหลือ (ขอมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2553) ของกระทรวงมหาดไทย สาระสาํคญัของเรือ่ง สรุปสถานการณภัยหนาว และการใหความชวยเหลือ (ระหวางวันที่ 1 พฤศจิกายน 2553- 3 มกราคม 2554) ดังนี้ 1. การคาดหมายลักษณะอากาศ (ระหวางวันที่ 3-9 ม.ค. 2554) 1.1 กรมอุตุนิยมวิทยา คาดหมายลักษณะอากาศวา ในวันที่ 3 มกราคม 2554 บริเวณความกดอากาศสูงปกคลุมประเทศไทยตอนบน ทําใหบริเวณดังกลาวมีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปกับมีหมอกในตอนเชา โดยมีน้ําแข็งบางพ้ืนที่บริเวณเขาสูงในภาคเหนือ สวนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมภาคใตและอาวไทยมีกําลังคอนขางแรง ทําใหภาคใตตอนลางมีฝนตกอยูในเกณฑเปนแหง ๆ ถึงกระจาย สําหรับคลื่นลมในอาวไทยตอนลางมีกําลังปานกลางในชวงวันที่ 4 – 6 มกราคม 2554 ความกดอากาศสูงน้ีออนกําลังลง แตยังคงทําใหประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นกับมีหมอกหนาในหลายพ้ืนที่ สวนภาคใตตอนลางมีฝนตกอยูในเกณฑเปนแหง ๆ และในชวงวันที่ 7- 9 มกราคม 2554 บริเวณความกดอากาศสูงกําลังแรงอีกระลอกหน่ึงจากประเทศจีนจะปกคลุมประเทศไทยตอนบนอีก ทําใหบริเวณ

Page 25: 102_resolution_house_of_cabi

25ดังกลาวมีอุณหภูมิลดลง และมีลมแรงขอใหประชาชนดูแลรักษาสุขภาพให แข็งแรง 1.2 กระทรวงมหาดไทย โดยกรมปองกันและบรรเทาสาธาร ไดจัดเจาหนาที่เฝาระวังติดตามสถานการณในพ้ืนที่อยางตอเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง รวมทั้งเตรียมเครื่องมืออุปกรณไวใหพรอม เพ่ือสามารถชวยเหลือผูประสบภัยไดทันตอ เหตุการณ 2. การเตรียมการปองกันแลแกไขปญหาภัยหนาวของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย โดยกรมปองกันและบรรเทาสาธารภัย ไดจัดต้ังศูนยอํานวยการเฉพาะกิจปองกันและแกไขปญหาภัยหนาว ป พ.ศ. 2553 –2554 ของจังหวัดข้ึน ณ สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด และจัดต้ังศูนยอํานวยการเฉพาะกิจฯ อําเภอและองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหงในเขตพ้ืนที่ พรอมทั้งแตต้ังเจาหนาที่รับผิดชอบประจําศูนย เพ่ือเปนศูนยประสานงานในการใหความชวยเหลือประชาชนที่ไดรับความเดือดรอนจากสภาวะอากาศหนาวเย็นที่เกิดขึ้น นอกจากนี้ กระทรวงมหาดไทย ได จัดต้ังศูนย รับบริจาคชวยเหลือผูประสบภัยหนาว ณ กรมปองกันและบรรเทา สาธารณภัย และที่จังหวัดทุกจังหวัดดวย 3. สถานการณภัยหนาว (ระหวางวันที่ 1 พ.ย. 2553 – 3 ม.ค. 2554 ) ในขณะน้ีไดรับรายงานจังหวัดที่ไดประกาศเปนพ้ืนที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) เน่ืองจากมีสภาพอากาศหนาว (อุณหภูมิ 8.0 – 15.9 องศาเซลเซียส) ถึงหนาวจัด (อุณหภูมิตํ่ากวา 8.0 องศาเซลเซียส) จํานวน 26 จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงใหม เชียงราย พะเยา เพชรบูรณ แพร ตาก นาน แมฮองสอน ลําปาง ลําพูน อุตรดิตถ กาฬสินธุ ขอนแกน นครพนม บุรีรัมย มุกดาหาร มหาสารคาม ยโสธร เลย ศรีสะเกษ สุรินทร สกลนคร หนองคาย อุดรธานี อุบลราชธานี และจังหวัดอํานาจเจริญ รวม 344 อําเภอ 2,668 ตําบล 33,997 หมูบาน 4. การใหความชวยเหลือของหนวยงาน 4.1 จังหวัดที่ไดประกาศเปนพ้ืนที่ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยหนาว) ทั้ง 26 จังหวัด รายงานวาไดมอบเครื่องกันหนาวใหแกประชาชนที่ขาดแคลนในพ้ืนที่ โดยไดรับการสนับสนุนผาหมกันหนาวจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) เครือเจริญโภคภัณฑ สมาคม มูลนิธิ ไปแลว รวม 360,258 ช้ิน 4.2 บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ไดใหการสนับสนุนผาหมกันหนาว จํานวน 200,000 ผืน เพ่ือแจกจายชวยเหลือผูประสบภัยหนาวในพ้ืนที่ 15 จังหวัด ไดแก จังหวัดนครพนม สกลนคร หนองคาย อุดรธานี หนองบัวลําภู ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด กาฬสินธุ นคราชสีมา เชียงราย นาน ลําปาง เชียงใหม และจังหวัดแมฮองสอน 4.3 หอการคาไทย –จีน และสมาคมแตจ๋ิวแหงประเทศไทย ไดมอบผาหมชวยเหลือภัยหนาว จํานวน 2,000 ผืน ผานรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันท่ี 15 พฤศจิกายน 2553 โดยกระทรวงมหาดไทยไดมอบหมายใหกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เปนหนวยงานกลางในการนําผาหมกันหนาวไปแจกจายแกผูประสบภัยหนาวในพ้ืนที่ตาง ๆ 4.4 บริษัท ซีพี จํากัด (มหาชน) (เครือเจริญโภคภัณฑ) ไดใหการสนับสนุนผาหมกันหนาว จํานวน 50,000 ผืน มูลคา 12.5 ลานบาท ซึ่งจัดซื้อจากกลุม

Page 26: 102_resolution_house_of_cabi

26แมบานผูผลิตผาหมนวม จังหวัดสกลนคร ตามนโยบายสงเสริมอาชีพและชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพ่ิมมากข้ึนของกระทรวงมหาดไทย และไดมอบใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย (นายชวรัตน ชาญวีรกูล) เม่ือวันที่ 2 ธันวาคม 2553 เพ่ือแจกจายชวยเหลือผูประสบภัยหนาว ในพื้นที่ 10 จังหวัด ไดแก จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ลําพูน นาน พะเยา สกลนคร นครพนม เลย อุดรธานี และจังหวัดขอนแกน 5. ส่ิงของพระราชทานชวยเหลือผูประสบภัยหนาว กองงานพระวรชายาฯ ในสมเ ด็จพระบรมโอรสา ธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงโปรดใหผูแทนพระองค เดินทางไปมอบถุงพระราชทานแกราษฎรที่ประสบภัยหนาวในพ้ืนที่จังหวัดเชียงราย เพชรบูรณ ขอนแกน สกลนคร ลําพูน เชียงใหม แมฮองสอน นาน พะเยา ตาก กาฬสินธุ เลย และจังหวัดสกลนคร รวม จํานวน 16,000 ถุง นมอัดเม็ดจิตรลดา 700 กลอง และ นมสด 700 กลอง อนึ่ง ในชวงวันที่ 28 –31 ธันวาคม 2553 ไดเกิดฝนตกหนักตอเน่ืองในจังหวัดนราธิวาส ทําใหเกิดนํ้าทวมในพ้ืนที่ 3 อําเภอ ดังน้ี 1) อําเภอสุไหงโก-ลก น้ําทวมบานเรือนราษฎรที่บริเวณชุมชนหัวสะพาน และชุมชนกอไผ อําเภอรวมกับเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก อพยพราษฎร จํานวน 33 ครัวเรือน 175 คน ไปยังโรงเรียนเทศบาล 4 โดยผูวาราชการจังหวัดนราธิวาสไดไปตรวจเยี่ยม และมอบถุงยังชีพ จํานวน 33 ชุด 2) อําเภอรือเสาะ นํ้าทวมถนนทางเขาหมูบานบาตง ตําบลบาตง รถยนตไมสามารถสัญจรไป-มาได สํานักงานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดนราธิวาส และองคการบริหารสวนตําบลบาตง จัดเรือบริการใหราษฎรเขา-ออก สูหมูบานได ผูวาราชการจังหวัดนราธิวาส มอบหมายใหรองผูวาราชการจังหวัด (นายสามารถ วราดิศัย) ไดตรวจเย่ียมและรวมประชุมกับนายอําเภอรือเสาะ นายกองคการบริหารสวนตําบลบาตง และผูที่เกี่ยวของ ติดตามสถานการณนํ้าอยางใกลชิด 3) อําเภอระแงะ นํ้าทวมถนนบริเวณบานตันหยงมัส ตําบลตันหยงมัส รถยนตและรถจักรยานต ยังสามารถสัญจนไป-มาได ผูวาราชการจังหวัดนราธิวาส มอบหมายใหรองผูวาราชการจังหวัด (นายอุทาร พิชญาภรณ) ไปตรวจเยี่ยมราษฎรผูประสบภัย

แตงตัง20. เรื่อง แตงตั้ง 1. แตงตัง้ขาราชการการเมอืง คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการแตงต้ัง นางอัญชลี เทพบุตร ใหดํารงตําแหนงขาราชการการเมือง ตําแหนงเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ตามที่สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเสนอ

**********************